SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 15
Descargar para leer sin conexión
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสือการศึกษา
                                                   ดร.อิศรา ก้ านจักร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น

                                         บทที 6
                  เทคโนโลยีสารสนเทศเพื อการเรียนรู ้

โครงร่ างเนื อหาของบท                                                  คําสําคัญและ
   1. ความรู ้ เบื องต้ นเกียวกับเทคโนโลยี
                                        สารสนเทศ                       ความคิดรวบยอด
    2. ความหมายและความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ                        สารสนเทศ
    3. การสือสารด้ วยเทคโนโลยีสารสนเทศ                                  เทคโนโลยีสารสนเทศ
    4. การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู ้                 สิงแวดล้ อมทางการ
วัตถุประสงค์การเรียนรู ้                                                 เรียนรู ้
    1. ออกแบบและสร้ างเทคโนโลยีสารสนเทศเพือส่งเสริมการ                  การเรี ยนบนเครือข่าย
       เรียนรูได้
              ้                                                         หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
    2. วิเคราะห์บทบาทและความสําคัญของเทคโนโลยี                          โทรทัศน์ทางไกล
       สารสนเทศในการจัดการเรียนรู ้ ทีเน้ นผู ้ เรี ยนเป็ นสําคัญได้    E-learning
    3. เลือกใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศให้ เหมาะสมกับสภาพ                     Social media
       บริบทการจัดการเรียนรู ้ ได้
กิจกรรมการเรียนรู ้
    1. ให้ มโนทัศน์เชิงทฤษฎี หลั กการ เรือง เทคโนโลยี
       สารสนเทศเพือการศึกษา
    2. นักศึกษาแบ่งเป็ นกลุ่มย่อย กลุ่มละ 3 คน ศึกษาจาก
       สิงแวดล้ อมทางการเรี ยนรู ้ บนเครือข่าย
       http://ednet.kku.ac.th/~sumcha/web-230301/ โดย
       นักศึกษาศึกษาสถานการณ์ปัญหาบทที 6 วิเคราะห์ทํา
       ความเข้ าใจค้ นหาคําตอบจากเอกสารประกอบการสอน
       และแหล่งเรียนรู ้ บนเครือข่ายและร่วมกันสรุปคําตอบ และ
       นําเสนอในรูปแบบ Power point
    3. ร่วมกันสรุปองค์ ความรู ้ และแลกเปลียนความคิดเห็น โดย
       ผู ้ สอนตั งประเด็น และอธิบายเพิมเติม
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสือการศึกษา
                                                         ดร.อิศรา ก้ านจักร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น
สถานการณ์ ปัญหา(Problem-based learning)
          ภายหลังที รั ฐบาลได้ จัด การปฏิ รูป การศึกษา ซึงมีหัว ใจสําคัญอยู่ ที "การยกระดับ
คุณภาพประชากรของประเทศให้ สูง ขึ น คือ ผู ้ เ รี ย นทุก คนมี ค วา สามารถเรี ย นรู ้ และพัฒ นา
                                                                            ม
ตนเองได้ และถือว่าผู ้ เรียนมีความสําคัญทีสุ ด ทีต้ องส่งเสริ มและพัฒนาให้ เต็มตามศักยภาพ ฝึ ก
ทักษะ กระบวนการคิด การประยุกต์ ความรู ้ และการแสวงหาความรู ้ ด้วยตนเอง สามารถในการ
คิดวิเคราะห์ และริเริมสร้ างสรรค์ มีความสามารถในการแก้ ปัญหา ตลอดจนรู จักการทํางานเป็ น้
หมู่คณะ" มีก ารนํา เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ ามาใช้ เพื อเพิ มประสิท ธิ ภาพการเรี ย นรู ้ ทีผู ้ เรี ย น
สามารถเข้ า ถึง ได้ อย่ างหลากหลาย สามารถเรี ย นได้ ทุก ทีทุกเวลา เพือทีจะทํ าให้ ผู ้ เ รี ย นเกิ ด
ความรู ้ ความเข้ าใจ และเหมาะสมกับยุคแห่งข้ อมูลสารสนเทศทีมีอยู่อย่างมากมาย รวมไปถึง
การทํ าให้ ก ารเรี ยนรู ้ นั นเกิ ด ประสิท ธิ ภ าพสูง สุด ทั งยัง เพื อเป็ นการเตรี ย มพัฒ นาผู ้ เ รี ยน ให้ มี
คุณลั กษณะทีเหมาะสมกับสั งคมยุคโลกาภิวัตน์
          ในฐานะทีท่านจะเป็ นครูพันธ์ ใหม่ ท่านจะต้ องปฏิบัติภารกิจต่อไปนี
ภารกิจ
              1. วิ เ คราะห์ บ ทบาทและความสํ า คั ญ ของเทคโนโลยี ส ารสนเทศกั บ การพัฒ นา
การศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา
              2. วิเคราะห์ หาวิธีการทีจะประยุกต์ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ ในการจัดการเรี ยนรู ้ ที
เน้ นผู ้ เรียนเป็ นสําคัญ
              3. ให้ ท่า นพิจ ารณาเลือ กใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเพือเพิ มประสิทธิ ภ าพการจัด การ
เรียนรู ้ ตามบริบทของโรงเรียนทีกําหนดให้ ต่อไปนี พร้ อมทั งให้ เหตุผลประกอบการอธิบาย
              โรงเรี ย นบ้ านหนองงูเห่ า เป็ นโรงเรี ย นทีอยู่ ห่ า งไกลในถิ นธุ ระกัน ดาล โรงเรี ย นมี
คอมพิวเตอร์ สามเครือง มีโทรทัศน์ ไม่มีสั ญญาณโทรศัพท์
              โรงเรี ยนมัธ ยมไฮโซเบตง เป็ นโรงเรี ย นทีตั งอยู่ใ นเมือ ง มีค วามพร้ อ มทางด้ า นสือ
เทคโนโลยี มีห้องคอมพิวเตอร์ มีระบบอินเตอร์ เน็ตความเร็ วสูง แต่ครู มีไม่เพียงพอเนืองจากย้ าย
หนีเหตุการณ์ความไม่สงบ
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสือการศึกษา
                                              ดร.อิศรา ก้ านจักร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น

     ความรูพื นฐานเกี ยวกั บ
           ้                                                     ความหมายและความสําคั ญ
     เทคโนโลยี สารสนเทศ                                           ของเทคโนโลยี สารสนเทศ




                                        สาระสําคัญ
                                         ในบทที 7



  การบูรณาการเทคโนโลยี
สารสนเทศในการจั ดการเรี ยนรู ้

-การเรียนบนเครื อข่ าย
-หนังสื ออิเล็ กทรอนิ กส์
-วีดิท ั ศน์ตามอั ธยาศั ย
-ห้ องสมุ ดอิเล็ กทรอนิ กส์
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสือการศึกษา
                                                      ดร.อิศรา ก้ านจักร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น
ความรู ้ พื นฐานเกี ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ

            ปั จจุบันสั งคมของมนุษย์มีการเปลียนแปลงความเป็ นอยู่ างรวดเร็ ว กล่าวกันว่าได้
                                                                   ไปอย่
เกิ ด การเปลียนแปลงในลัก ษณะที เรี ยกว่ า การปฏิ วัติ ม าแล้ ว สองครั ง ครั งแรกเกิ ด จากการที
มนุษย์รู้ จักใช้ ระบบชลประทานเพือการเพาะปลูก สังคมความเป็ นอยู่ของมนุษย์ จึงเปลียนจาก
การเร่ร่อนมาเป็ นการตั งหลั กแหล่งเพือทําการเกษตร ต่อมาเมือประมาณร้ อยกว่าปี ทีแล้ ว ก่อน
สงครามโลกครั งที1 หลังจากทีเจมส์วัตต์ ประดิษฐ์ เครื องจักรไอนํ า มนุษย์ รู้ จักนําเอาเครื องจักร
มาช่วยในอุตสาหกรรมการผลิต และช่วยในการสร้ างยานพาหนะเพืองานคมนาคมขนส่ง ผลที
ตามมาทําให้ เกิดการปฏิวัติทางอุตสาหกรรม สังคมความเป็ นอยู่ของมนุษย์ จึงเปลียนจากสังคม
เกษตรมาเป็ นสังคมเมือง และเกิดรวมกันเป็ นเมืองอุตสาหกรรมต่างๆ กิจวัตรในชีวิตประจําวัน
ของมนุษย์เกียวข้ องกับเทคโนโลยีมากขึ น จนดูเหมือนว่าเทคโนโลยีเป็ นปั จจัยทีสําคัญอย่างหนึง
ของมนุษ ย์ ซึงทํ าให้ มนุษย์ ได้ รับ ความสะดวกสบายและประสบความสําเร็ จ ในงานด้ า นต่าง ๆ
เช่น เทคโนโลยีทางด้ านอวกาศ ทางด้ านการผลิต ทางด้ า นอุต สาหกรรม และทางด้ านพาณิ ช
กรรม
            ความก้ าวหน้ าทางด้ านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ทําให้ มีการพัฒนาคิดค้ นสิงอํานวย
ความสะดวกสบายต่ อ การดํ า ชี วิ ต เป็ นอัน มาก เทคโนโลยี ไ ด้ เข้ า มาเสริ ม ปั จจัย พื นฐานการ
ดํารงชีวิตได้ เป็ นอย่างดี เทคโนโลยีทําให้ การสร้ างทีพักอาศัยมีคุณภาพมาตรฐาน สามารถผลิต
สิน ค้ า และให้ บริ การต่ า ง ๆ เพื อตอบสนองความต้ อ งการของมนุษย์ ม ากขึ น เทคโนโลยี ทํา ให้
ระบบการผลิตสามารถผลิตสินค้ าได้ เป็ นจํานวนมากมีราคาถูกลง สินค้ าได้ คุณภาพ เทคโนโลยี
ทําให้ มีการติดต่อสือสารกันได้ สะดวก การเดินทางเชือมโยงถึงกันทําให้ ประชากรในโลกติดต่อรับ
ฟั งข่าวสารกันได้ ตลอดเวลา
            สําหรับการสร้ างเทคโนโลยีสารสนเทศเพือการจัดการในปั จจุบันนี ส่วนใหญ่ มักจะสร้ าง
โดยใช้ ระบบคอมพิวเตอร์ เป็ นหลักเนืองจากคอมพิวเตอร์ มีความสามารถและมีประสิทธิ ภาพใน
การจัดการเก็บข้ อมูลมากกว่าอุปกรณ์ อย่างอืน รวมทั งยังสามารถคํานวณประมวลผลข้ อมูลได้
อย่างรวดเร็วถูกต้ องแม่นยําแต่ทีจริงแล้ วการสร้ างระบบสารสนเทศนั นไม่จําเป็ นต้ องสร้ างมาจาก
ระบบคอมพิวเตอร์ เพียงอย่างเดียวเราสามารถใช้ อุปกรณ์ ชนิดอืนสร้ างระบบสารสนเทศได้ แต่
เนื องจากคอมพิ ว เตอร์ ส ามารถทํ า งานและจัด การข้ อ มูลได้ ดี ก ว่ า อุป กรณ์ ช นิ ด อื น จึ ง ทํ า ให้
คอมพิวเตอร์ กลายเป็ นอุปกรณ์สําคัญในการสร้ างระบบสารสนเทศ
            เทคโนโลยีสารสนเทศมีประโยชน์ ต่ อการพัฒนาประเทศให้ เจริ ญก้ าวหน้ าเทคโนโลยี
สารสนเทศ เป็ นเรื องที เกี ยวข้ องกับ วิ ถี ค วามเป็ นอยู่ข องสัง คมสมัย ใหม่อ ยู่ ม าก เทคโนโลยี
สารสนเทศก่อให้ เกิดการเปลียนแปลงกับโลกครั งใหญ่ ทั งในอดีตปั จจุบันและอนาคต หรื อ กล่าว
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสือการศึกษา
                                                      ดร.อิศรา ก้ านจักร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น
ได้ ว่าเทคโนโลยีสารสนเทศมีผลกระทบต่อทุกสิงทุกอย่างทั งทางการดําเนินชีวิต เศรษฐกิจ สังคม
การเมือง การศึกษาและอืน ๆเทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นการประยุกต์ ใช้ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
และเทคโนโลยีสือสารในรู ป แบบต่ าง ๆเพื อให้ บ รรลุวัตถุประสงค์ ลักษณะ เด่ นที สํา คัญของ
เทคโนโลยี สารสนเทศคื อ ช่ ว ยเพิ มผลผลิต ลดต้ น ทุน และเพิ มประสิท ธิ ภ าพการทํ า งานการ
ประกอบการทางด้ า นเศรษฐกิ จ การค้ า และการอุต สาหกรรม จํ า เป็ นต้ อ งหาวิ ธี ใ นการเพิ ม
ผลผลิตลดต้ นทุนและเพิมประสิทธิ ภาพในการทํางาน คอมพิวเตอร์ และระบบสือสารช่วยทําให้
เกิดระบบอัตโนมัติ เราสามารถฝากถอนเงินสดผ่านเครืองเอทีเอ็มได้ ตลอดเวลา ธนาคารสามารถ
ให้ บริ ก ารได้ ดี ขึ น ทํ าให้ การบริ ก ารโดยผู ้ บริ ห ารทีมีป ระสบการณ์ นั นให้ เหลือเพี ยงมัธยมศึกษา
ตอนปลาย

ความหมายและความสําคัญเทคโนโลยีสารสนเทศ

ความหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
          เทคโนโลยี ระบบสารสนเทศ เป็ นหนึงในเครื องมื อ หลาย ๆ ตัว ทีผู ้ บ ริ ห ารใช้ สํา หรั บ
จัดการกับการเปลียนแปลง โดยเฉพาะอย่างยิงในปั จจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศเปรี ยบเสมือน
การทีเชือมส่ว นต่า ง ๆ ขององค์ กร และ องค์ ก รต่า ง ๆ เข้ า ด้ วยกัน ระบบสารสนเทศอิง การใช้
คอมพิวเตอร์ จึงเป็ นการใช้ เทคโนโลยีฮาร์ ดแวร์ เทคโนโลยีซอฟต์ แวร์ เทคโนโลยีการเก็บ และ
เทคโนโลยีสือสารทางไกล
          สารสนเทศ หมายถึง ข้ อมูลข่าวสาร ความรู ้ ต่าง ๆ ทีได้ รับการสรุ ป คํานวณ จัดเรี ยง
หรื อ ประมวลแล้ ว จากข้ อ มูลต่ า ง ๆ ที เกี ยวข้ อ งอย่ า งเป็ นระบบตามหลัก วิ ช าการ จนได้ เ ป็ น
ข้ อความรู ้ เพือนํามาเผยแพร่และใช้ ประโยชน์ในงานด้ านต่าง ๆ
          เทคโนโลยี หมายถึ ง การประยุก ต์ เ อาความรู ้ ทางด้า นวิ ท ยาศาสตร์ ม าใช้ ใ ห้ เ กิ ด
ประโยชน์ การศึกษาพัฒนาองค์ ความรู ้ ต่าง ๆ ก็เพือให้ เข้ าใจธรรมชาติ กฎเกณฑ์ ของสิงต่าง ๆ
และหาทางนํามาประยุกต์ให้ เกิดประโยชน์ เทคโนโลยีจึงเป็ นค้ าทีมีความหมายกว้ างไกล เป็ นคํา
ทีเราได้ พบเห็นและได้ ยินอยู่ตลอดมา
          เมื อรวมคํ า ว่ า เทคโนโลยี กับ สารสนเทศเข้ า ด้ ว ยกัน เมื อรวมคํ า ว่ า เทคโนโลยี กับ
สารสนเทศเข้ าด้ วยกัน จึงหมายถึงเทคโนโลยีทีใช้ จัดการสารสนเทศ เป็ นเทคโนโลยีทีเกียวข้ อง
ตั งแต่ การรวบรวมการจัดเก็บ ข้ อ มูล การประมวลผล การพิ มพ์ การสร้ างรายงาน การสือสาร
ข้ อมูล ฯลฯ เทคโนโลยีสารสนเทศจะรวมไปถึงเทคโนโลยีททําให้ เกิดระบบการให้ บริ การ การใช้
                                                                ี
และการดูแลข้ อมูล
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสือการศึกษา
                                                  ดร.อิศรา ก้ านจักร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น
ความสําคัญของสารสนเทศ
          สารสนเทศแท้ จริงแล้ วย่อมมีความสําคัญต่อทุกสิงทีเกียวข้ อง เช่น ด้ านการเมือง การ
ปกครอง ด้ านการศึกษา ด้ าน เศรษฐกิจ ด้ านสั งคม ฯลฯ ในลั กษณะดังต่อไปนี
          1. ทํ า ให้ ผู ้ บริ โ ภคสารสนเทศเกิ ด ความรู ้ (Knowledge) และความเข้ าใจ
(Understanding) ในเรืองดังกล่าว ข้ างต้ น
          2. เมือเรารู ้ และเข้ าใจในเรืองทีเกียวข้ องแล้ ว สารสนเทศจะช่วยให้ เราสามารถตัดสินใจ
(Decision Making) ใน เรืองต่างๆ ได้ อย่างเหมาะสม
          3. นอกจากนั นสารสนเทศ ยัง สามารถทํ า ให้ เ ราสามารถแก้ ไ ขปัญ หา (Solving
Problem) ทีเกิดขึ นได้ อย่าง ถูกต้ อง แม่นยํา และรวดเร็ว ทันเวลากับสถานการณ์ต่าง ๆ ทีเกิดขึ น
           ความสํ าคัญของเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื อสาร มี 6 ประการ (Souter
1999: 409) ได้ แก่
          ประการแรก การสือสารถือเป็ นสิงจําเป็ นในการดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ สิง
สําคัญทีมีส่วนในการพัฒนากิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ ประกอบด้ วย Communications media,
การสือสารโทรคมนาคม (Telecoms), และเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT)
          ประการทีสอง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารประกอบด้ วยผลิตภัณฑ์ หลักทีมาก
ไปกว่าโทรศัพท์ และคอมพิวเตอร์ เช่น แฟกซ์, อินเทอร์ เน็ต, อีเมล์ ทําให้ สารสนเทศเผยแพร่ หรื อ
กระจายออกไปในทีต่าง ๆ ได้ สะดวก
          ประการทีสาม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารมีผลให้ งานด้ านต่าง ๆ มีราคาถูก
ลง
          ประการที สี เครื อ ข่ า ยสือสาร (Communication networks) ได้ รั บ ประโยชน์ จ าก
เครือข่ายภายนอก เนืองจากจํานวนการใช้ เครือข่าย จํานวนผู ้ เชือมต่อ และจํานวนผู ้ ทีมีศักยภาพ
ในการเข้ าเชือมต่อกับเครือข่ายนับวันจะเพิมสู งขึ น
          ประการทีห้ า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารทําให้ ฮาร์ ดแวร์ คอมพิวเตอร์ และ
ต้ นทุนการใช้ ICT มีราคาถูกลงมาก
          ประการทีหก เทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้ เกิดการวางแผนการดําเนินการระยะยาวขึ น
อีกทั งยังทําให้ วิถีการตัดสินใจ หรือเลือกทางเลือกได้ ละเอียดขึ น
          จะเห็ น ได้ ว่ า เทคโนโลยี ส ารสนเทศมี บ ทบาทที สํ า คั ญ ในทุ ก วงการ มี ผ ลต่ อ การ
เปลี ยนแปลงโลกด้ า นความเป็ นอยู่ สัง คม เศรษฐกิ จ การศึ ก ษา การแพทย์ เกษตรกรรม
อุตสาหกรรม การเมือง ตลอดจนการวิจัยและการพัฒนาต่าง ๆ
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสือการศึกษา
                                                    ดร.อิศรา ก้ านจักร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น
การสื อสารด้ วยเทคโนโลยีสารสนเทศ

           เทคโนโลยี ก ารสื อสาร (Communication Technology) มี ก ารพัฒ นารู ป แบบให้
สามารถติดต่อสือสาร ถึงกันได้ ง่าย และอุปกรณ์ทีใช้ ในการติดต่อสือสารมีหลายรู ปแบบให้ เลือก
ได้ ตามความเหมาะสมกับการใช้ งานระบบคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ต่างๆ ได้ เพิมคุณสมบัติให้
สามารถเชื อมโยงถึ ง กั น ได้ การเพิ มคุ ณ ค่ า ของระบบคอมพิ ว เตอร์ มี ม ากขึ นเมื อมี ก ารนํ า
เทคโนโลยีการสือสารมาประยุกต์เข้ าด้ วยระบบกันทีเรียกว่า “เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ”
           อินเตอร์ เน็ต (Internet) คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ขนาดยักษ์ ทีเชือมต่อกันทัวโลก โดยมี
มาตรฐานการรับส่ง ข้ อมูลระหว่างกันเป็ นหนึงเดียว ซึงคอมพิวเตอร์ แต่ละเครื องสามารถรับส่ง
ข้ อ มูล ในรู ป แบบต่ าง ๆ ได้ ห ลายรู ป แบบ เช่ น ตัวอัก ษร, ภาพกราฟิ ก และ เสีย งได้ รวมทั ง
สามารถค้ นหาข้ อมูลจากทีต่าง ๆ ได้ อย่างรวดเร็ว
           ในยุคสั งคมข่าวสาร ข้ อมูลดังทุกวันนี การสือสารรู ปแบบต่าง ๆ ถูกพัฒนาขึ นให้ คนเรา
สือสารถึง กัน ง่ า ยที สุด และสะดวกที สุด การสือสารถึง กัน ด้ ว ยคํ า พูด ผ่า นทางโทรศัพ ท์ ย่ อ มไม่
เพี ย งพออี ก ต่ อ ไปเราต้ อ งการมากกว่ า นั นเช่ น ภาพ เสี ย ง และ ข้ อความ ตั ว อั ก ษรรวมทั ง
ข้ อมูลคอมพิวเตอร์ ฯลฯ ซึงอินเตอร์ เน็ตสามารถเข้ ามาตอบสนองได้ ในจุดนี
           เมื อเราเชื อมต่ อ เครื อ ข่ า ยของ
อินเตอร์ เน็ต เราสามารถติดต่อกับเพือน
ของเราในสหรัฐเมริ กาผ่านอิเล็กทรอนิกส์
เมล์, ข้ ามไปค้ นหา ข้ อมูลทียุโรปแล้ วกอป
ปี ไฟล์ ไ ปที ออสเตรเลี ย ได้ จากเครื อง
คอมพิว เตอร์ ทีบ้ านทีมหาวิ ทยาลัยหรื อ ที
ทํางานของเราโดยใช้ เวลาทั งหมดภายใน
ไม่กีนาทีทําให้ การติดต่อสือสารนั นเป็ นไป
อย่ า งรวดเร็ ว และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ
นอกจากนี ค่าใช้ จ่ายก็ยังถูกกว่าวิธีอืนเมือเทียบกับการติดต่อทางโทรศัพท์, การส่งโทรสารและ
การส่งข้ อมูลผ่านโมเด็มโดยตรงกับปลายทางแล้ วการใช้ งานผ่านอินเตอร์ เน็ตมีค่าใช้ จ่ายถูกกว่า
หลายเท่า นีเป็ นเหตุผลหลั กทีว่าทําไมเราต้ องใช้ อินเตอร์ เน็ตซึงนับเป็ นการปฏิ วัติ สังคมข่าวสาร
ครั ง ใหญ่ทีสุ ดในยุคของเรา
           ประโยชน์ของอินเตอร์ เน็ต มีดังนี
           ในด้ านการศึกษาเราสามารถต่อเข้ ากับอินเตอร์ เน็ตเพือค้ นคว้ าหาข้ อมูลได้ ไม่ว่าจะเป็ น
ข้ อมูลทางวิชาการจากทีต่าง ๆ ซึงในกรณีนี อินเตอร์ เน็ตจะทําหน้ าทีเหมือนห้ องสมุดขนาดยักษ์
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสือการศึกษา
                                                          ดร.อิศรา ก้ านจักร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น
ส่ง ข้ อมูลทีเราต้ อการมาให้ ถึงบนจอคอมพิวเตอร์ ของเราในเวลาไม่กีวินาทีจากแหล่งข้ อมูลทัว
โลกไม่ว่าจะเป็ นข้ อมูลด้ านวิทยาศาสตร์, วิศวกรรม, ศิลปกรรม, สังคมศาสตร์, กฎหมายและอืน
ๆ นักศึกษา มหาวิทยาลั ยสามารถติดต่อกับมหาวิทยาลั ย อืน ๆเพือค้ นหาข้ อมูลทีกําลังศึกษาอยู่
ได้ ทั งข้ อมูลทีเป็ นตัวอักษร ภาพและเสียงหรือแม้ แต่มัลติมเี ดียต่าง ๆ
                                     ,
                 ในด้ า นการรั บ ส่ง ข่ า วสาร ผู ้ ใช้ ที ต่ อ เข้ าอิ น เตอร์ เ น็ ต สามารถรั บ ส่ง ข้ อ มู ลจดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) กับผู ้ ใช้ คนอืน ๆ ทัว โลกในเวลาอันรวดเร็วได้ โดยมีค่าใช้ จ่ายตํามากเมือ
เที ย บกับการส่ง จดหมายหรื อ ส่ง ข้ อ มูลวิ ธี อืน ๆ นอกจากนั นยัง อาจส่ง ข้ อ มูลคอมพิ วเตอร์ ใ น
รูปแบบ ต่าง ๆ เช่น แฟม ข้ อมูล รูปภาพ จนไปถึงข้ อมูลทีเป็ นภาพและเสียงได้ อีกด้ วย
                               ้
                 ในด้ า นธุรกิ จและการค้ า อิน เตอร์ เ น็ ตมี บ ริ ก าร ในรู ป แบบของการซื อขายสิน ค้ าผ่ า น
คอมพิวเตอร์ เราสามารถเลือกดูสินค้าพร้ อมทั งคุณสมบัติต่าง ๆ ผ่านจอคอมพิวเตอร์ ของเราแล้ ว
สั งซื อและจ่ายเงินด้ วยบัตรเครดิตได้ ทันทีซึงนับว่าสะดวกและรวดเร็ วมากนอกจากนี ผู ้ ทีใช้ ทีเป็ น
บริษัทหรือองค์ กรต่าง ๆก็สามารถเปิ ดให้ บริ การและสนับสนุนลูกค้ าของคนผ่านอินเตอร์ เน็ตได้
เช่น การตอบ คําถาม, ให้ คําแนะนํารวมถึงการให้ ข่าวสาร ใหม่ ๆ แก่ลู กค้ าได้
                 ในด้ านการบันเทิงเราสามารถเข้ าไปเลือกอ่านหนังสือวารสารต่าง ๆ ผ่านอินเตอร์ เนต
ได้ ค้ นหาข้ อมูลเกียวกับ ภาพยนตร์ ดนตรี และอืน ๆ อีกมากมาย ซึงปั จ จุบันเราสามารถทําเป็ น
ภาพ เคลือนไหวและมีเสียงประกอบได้ อีกด้ วย(อ้ างอิง http://www.np.co.th/intro/intro_1.htm)
                 เราสามารถสรุปได้ ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร เป็ นเทคโนโลยีทุกรู ปแบบที
นํามาประยุกต์ในการประมวลผล การจัดเก็บ การสือสาร และการส่งผ่านสารสนเทศด้ วยระบบ
อิเล็กทรอนิกส์ โดยทีระบบทางกายภาพประกอบด้ วยคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ ติดต่อสือสาร และ
ระบบเครื อ ข่า ย ขณะที ระบบนามธรรมเกียวข้ อ งกับการจัด รู ป แบบของการมี ปฏิ สัม พัน ธ์ ด้ า น
สารสนเทศทั งภายในและภายนอกระบบให้ สามารถดําเนินการร่วมกันได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
ความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสารกับการเรี ยนรู ้
                 จากความเปลียนแปลงนิยามของการเรี ยนรู ้ ทีหมายถึงการทีบุคคลมีความเข้ าใจ รับรู ้
ปั ญหาหรือเรืองราวทีได้ ประสบมา ทีมีความเกียวข้ องกับการการเพิมพูนทักษะ ความรู ้ ความ
เข้ า ใจ และพัฒ นาบุค คลนั น ๆ เช่น การเรี ย นรู ้
ด้ วยตนเอง การเรี ย นรู ้ จากประสบการณ์ ก าร
ทํางาน การเรียนรู ้ ยุคใหม่ต้องมีประสิทธิภาพและมี
ความเหมาะสมกั บ สภาพสัง คม ในปั จ จุ บัน การ
เรี ย นรู ้ มุ่ งหวัง ที จะให้ เ กิ ด องค์ ค วามรู ้ แก่ตัว ผู ้ เ รี ย น
โดยมุ่ ง จัด การเรี ย นรู ้ ให้ ผู ้ เ รี ย นเป็ นศูน ย์ ก ลางการ
เรียนรู ้ ไม่ใช่แค่การตีกรอบให้ ผู ้ เรี ยนอยู่เฉพาะแต่ใน
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสือการศึกษา
                                                       ดร.อิศรา ก้ านจักร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น
ส่วนทีเป็ นความต้ องการของครูผู ้ สอนเพียงอย่างเดียว แต่ต้องให้ ผู ้ เรี ยนมีส่วนร่ วมในการเรี ยนรู ้
มากขึ นด้ วย
                เปาหมายทางการศึกษาของประเทศทีพัฒนาแล้ วอยู่ทีการให้ การศึกษาแก่ประชาชน
                  ้
เข้ าสู่โลกแห่งเทคโนโลยี โดยเน้ นปั จจัยสําคัญอยู่ทีความรอบรู ้ ขอคนในชาติ การเรี ยนรู ้ ของคน
ในชาติกับการสร้ างสังคมเป็ นสิงทีต้ องให้ เกิดขึ นกับคนในชาติ การเรี ยนรู ้ ต้องรวดเร็ ว ใช้ เวลา
น้ อ ย ต้ น ทุนตํ า และทีสํา คัญ ความรู ้ จะมี บ ทบาทที สํา คัญมากขึ นเรื อย ๆ ควบคู่ กับการใช้
เทคโนโลยีเพือการเรียนรู ้
                การปฏิ รูปการศึก ษา มุ่ งเน้ นให้ ผู ้ เรี ยนเป็ นศูนย์ กลางการเรี ยน แทนทีครู จะเป็ นผู ้ มี
บทบาทสํา คัญเพี ยงอย่ างเดี ยว ส่วนหนึงของการปฏิ รูป การศึก ษา คื อการสร้ างโอกาสให้ แ ก่
ผู ้ เรียนเข้ าถึงแหล่งข้ อมูล แหล่งความรู ้ ได้ มากและสะดวกขึ น ดังนั นการปฏิ รูปการศึกษาจึงต้ อง
ใช้ ระบบเครือข่ายอินเทอร์ เน็ตเข้ ามามีบทบาทในการจัดการเรียนรู ้
                การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศทําให้ เกิดระบบการเรี ยนการสอนทางไกล ซึงผู ้ เรี ยนและ
ผู ้ สอนสามารถตอบโต้ กันได้ แม้ ว่าจะอยู่ห่างกัน ผู ้ เรียนสามารถส่งการบ้ านทางอินเทอร์ เน็ตได้ ครู
สามารถตรวจงานให้ คะแนนได้ แม้ กระทังการชี แนะด้วยไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) หรื อ
ใช้ ระบบกระดานข่าว (Bulletin Board System)
                เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเครือข่ายมีบทบาทสําคัญยิงในการเรียนรู ้ มหาวิทยาลัยชั น
นําของต่างประเทศ เช่น ญีปุ ่ น ฮ่องกง สิงค์ โปร์ ให้ ความสําคัญอย่างยิงกับการใช้ เทคโนโลยี
ทางการศึกษา การนําเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารสามารถใช้ ในด้ านการศึกษา จะช่วย
พัฒนาการเรียนรู ้ และอํานวยความสะดวกในด้ านการสอนและแหล่งการเรี ยนรู ้ ได้ ตลอดเวลา ไม่
มี ข้ อ จํ า กั ด ในด้ า นสถานที การสอนโดยใช้ ร ะบบสารสนเทศจะจัด การเรี ย นรู ้ ได้ ต ามความ
แตกต่างของผู ้ เรียน ระบบการเรียนรู ้ ทีใช้ ในด้ านการศึกษามีหลายระบบ เช่น E-learning, e –
Book, e – Library และ e – Classroom
                การจัดการเรี ย นรู ้ โ ดยใช้ เ ทคโนโลยี และสารสนเทศในการเรี ย นรู ้ เป็ นการเปิ ดโอกาส
ทางการศึกษาทีทําให้ คุณเรี ยนรู ้ โดยไม่มีข้อจํากัดในประเด็นต่าง ๆ เพียงแต่ผู ้ เรี ยนรู ้ ต้องศึ   กษา
วิธีการเพือเข้ าสู่ระบบทีต้ องการให้ ถูกต้ อง

การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรี ยนรู ้

         ในโลกปั จ จุบันพบว่ าความต้ อ งการเกี ยวกับตัวผู ้ เรี ยนเพิ มมากขึ น เพราะว่ าทีผ่านมา
อาจจะมี การตอบสนองต่ อ การเรี ย นแบบท่ อ งจํา มามากแล้ ว แต่ใ นปั จ จุบัน ในสภาพชี วิต จริ ง
ต้ องการบุคคลในสังคมทีมี ความสามารถในการใช้ ทักษะการให้ เหตุผลในระดับทีสูงขึ นในการ
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสือการศึกษา
                                                           ดร.อิศรา ก้ านจักร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น
แก้ ปัญหาทีซับซ้ อน ซึงพบว่าความสามารถในทักษะดังกล่า วทีจะนํา มาใช้ ใ นการแก้ ปัญหาไม่
ค่อยปรากฏให้ เห็น หรื อมี อยู่น้ อยมาก ในปั จ จุบันจะพบว่า ทุก ๆ คนไม่ว่ าจะเป็ นผู ้ ทีทํา งานใน
โรงงานประกอบเครืองจักรตามสายพานหรือทํางานทีต้ องร่วมกันคิดเป็ นทีม ต่างล้ วนจําเป็ นต้ อง
มี ทั ก ษะการแก้ ปั ญ หาด้ วยกัน ทั งหมด ซึ งนันหมายความว่ า แนวความคิ ด เกี ยวกั บ การจั ด
การศึก ษาต้ อ งเปลียนไป ดังที Driscoll (1994) กล่าวว่า อาจจะต้องเปลี ยนจากแนวคิ ดที ว่ า
ผู้เรี ยนเป็ นภาชนะที ว่างเปล่าที รอรับการเติ มให้เต็ม มาคิ ดว่า ผู้เรี ยนเป็ นสิ งมี ชีวิตที มี ความตื นตัว
กระฉับกระเฉงและค้นหาความหมายของสิ งต่างๆ ซึ งขณะนี ผู้เรี ยนจะถู กมองว่าเป็ นผู้ทีมี ส่ว น
ร่ วมอย่างตื นตั วในการเรี ยนรู้ คิ ดค้นหาวิ ธีที จะวิ เคราะห์ ตั งคําถาม อธิ บายและทํ าความเข้าใจต่อ
สิ งแวดล้อมที เปลี ยนแปลงตลอดเวลา
                ดัง นั น ในการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื อการเรี ยนการสอน ผู ้ สอนควรจะ
ศึกษาเทคนิค วิธีการ เทคโนโลยีต่างๆ ทีจะนํามาใช้ เพือช่วยให้ ผู ้ เรี ยนได้ รับความรู ้ ใหม่ ซึงแต่เดิม
มักเป็ นการสอนให้ ผู ้ เรียนเรียนโดยเน้ นการท่องจํา และปรับเปลียนมาสู่การใช้ เทคนิควิธีการทีจะ
ช่ ว ยผู ้ เ รี ย นได้ รั บ ข้ อ เท็ จ จริ ง ได้ อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ได้ แก่ การใช้ เทคนิ ค ช่ ว ยการจํ า เช่ น
Mnemonics เป็ นต้ น รวมทั งการจัดการสอนทีเน้ นครูเป็ นศูนย์ กลางอาจนําไปใช้ ให้ เกิดประโยชน์
ได้ เช่นกัน อย่างไรก็ตามสิงทีสําคัญและเป็ นความต้ องการของการศึกษาในขณะนี คือ การสอนที
ผู ้ เรี ยนควรได้ รับคือ ทัก ษะการคิดในระดับ สูง (Higher-order thinking skills) ได้ แก่ การคิ ด
วิเคราะห์ สั งเคราะห์ ตลอดจนการแก้ ปัญหา และการถ่ายโอน (Transfer) โดยเน้ นการใช้ วิธีการ
ต่าง ๆ อาทิ สถานการณ์ จํ าลอง การค้ น พบ การแก้ ปัญหา และการเรี ยนแบบร่ วมมือ สํา หรั บ
ผู ้ เรียนจะได้ รับประสบการณ์การแก้ ปัญหาทีสอดคล้ องกับสภาพชีวิตจริง
                สําหรับการนํ าเทคโนโลยี สารสนเทศมาบูรณาการในการจัด การเรี ย นรู ้ ผู ้ เขี ยนจะขอ
นําเสนอใน รูปแบบต่างๆ ดังต่อไปนี คือ
                1. สิ งแวดล้ อมทางการเรี ยนรู ้ เป็ นการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการ
เรียนรู ้ ทีนําทฤษฎีการเรียนรู ้ มาเป็ นพื นฐานการออกแบบร่ วมกับสือหรื อเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึง
หลอมรวมทั งสองสิ งเข้ าไว้ ด้ วยกั น ที
ประกอบด้ วยสถานการณ์ ปัญหาทีกระตุ ้ น
ให้ ผู ้ เรียนเรียนรู ้ แหล่งการเรี ยนรู ้ ชนิดต่างๆ
ที จั ด เตรี ย มไว้ สํ า หรั บ ให้ ผู ้ เรี ย นค้ นหา
คํ า ต อบ มี ฐ า นกา รช่ ว ยเห ลื อ ไ ว้ คอ ย
สนั บ สนุ น ผู ้ เรี ย นในกรณี ที ไม่ ส ามารถ
แก้ ปั ญหาได้ ตลอดจนการเรี ย นรู ้ แบบ
ร่ ว มมื อกันแก้ ปั ญหาที สนับสนุน ให้ ผู ้ เ รี ย น
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสือการศึกษา
                                                       ดร.อิศรา ก้ านจักร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น
ขยายมุมมองแนวคิดต่างๆ สิงแวดล้ อมทางการเรี ยนรู ้ ในปั จจุบันสามารถแยกตามคุณลักษณะ
ของสือได้ 3 รูปแบบ คือ (1) สิงแวดล้ อมทางการเรียนรู ้ บนเครื อข่าย (2) มัลติมีเดียทีพัฒนาตาม
แนวคอนสตรัคติวิสต์ (3) ชุดการสร้ างความรู ้ ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
            2. การเรี ยนรู ้ แบบออนไลน์ (E-learning)
            การเรียนรู ้ แบบออนไลน์ หรือ E-learning การเรียนรู ้ แบบออนไลน์เป็ นการศึกษา เรี ยนรู ้
ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเทอร์ เน็ต (Internet) หรืออินทราเน็ต (Intranet) เป็ นการเรี ยนรู ้ ด้วย
ตัวเอง ผู ้ เรี ยนจะได้ เรี ยนตามความสามารถและความสนใจของตน โดยเนื อหาของบทเรี ยนซึง
ประกอบด้ วย ข้ อความ รู ป ภาพ เสีย ง วิ ดีโอและมัลติ มีเดี ยอืนๆ จะถูกส่งไปยังผู ้ เรี ย นผ่า นเว็ บ
เบราว์ เซอร์ ( Web Browser) โดยผู ้ เ รี ยน ผู ้ สอน และเพือนร่ ว มชั นเรี ย นทุก คน สามารถติดต่ อ
ปรึกษา แลกเปลียนความคิดเห็นระหว่างกันได้ เช่นเดียวกับการเรี ยนในชั นเรี ยนปกติ โดยอาศัย
เครื องมือการติดต่อสือสารทีทันสมัย สําหรับทุกคนทีสามารถเรี ยนรู ้ ได้ ทุกเวลา และทุกสถานที
(Learn for all : anyone, anywhere and anytime) ซึงการให้ บริ การการเรี ยนแบบออนไลน์ มี
องค์ ประกอบทีสําคัญ 4 ส่วน โดยแต่ละส่วนจะต้ องได้ รับการออกแบบเป็ นอย่า งดี เพราะเมื อ
นํามาประกอบเข้ าด้ วยกันแล้ วระบบทั งหมดจะต้ องทํางานประสานกันได้ อย่างลงตัวดังนี
            1) เนื อหาของบทเรียน
            2) ระบบบริหารการเรียน ทําหน้ าทีเป็ นศูนย์กลาง กําหนดลําดับของเนื อหาในบทเรี ยน
เราเรี ยกระบบนี ว่าระบบบริ หารการเรี ยน (E-Learning Management System: LMS) ดังนั น
ระบบบริ ห ารการเรี ย นจึงเป็ นส่ว นที เอื ออํ านวยให้ ผู ้ เ รี ยนได้ ศึก ษาเรี ย นรู ้ ได้ ด้ ว ยตนเองจนจบ
หลั กสู ตร
            3) การติดต่อ สือสาร การเรี ยนแบบ E-learning นํารู ปแบบการติด ต่อสือสารแบบ 2
ทาง มาใช้ ประกอบในการเรียน โดยเครืองมือทีใช้ ในการติดต่อสือสารอาจแบ่งได้ เป็ น 2 ประเภท
คือ ประเภทReal-time ได้ แก่ Chat (message, voice), White board/Text slide, Real-time
Annotations, Interactive poll, Conferencing และอืนๆ ส่วนอีกแบบคือ ประเภท Non real-
time ได้ แก่ Web-board, E-mail
            3. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-books)
            เป็ นคําที ใช้ ในการอธิ บายตัวอักษรทีมีลักษณะคล้ ายคลึงกับหนังสือ อยู่ในรู ปแบบดิ
จิตัล โดยแสดงให้ เห็นบนจอคอมพิวเตอร์ เป็ นหนังสือถูกนํ ามาจัดพิ มพ์ ในรู ปแบบดิจิ ตอล ไม่
บังคับการพิมพ์ และการเข้ าเล่ม แผ่นซีดีรอมสามารถจัดเก็บข้ อมูลได้ จํานวนมากในรู ปแบบของ
ตัวอักษร ทั งลั กษณะภาพดิจิตอล ภาพอนิเมชัน วิดีโอ ภาพเลือนไหวต่อเนือง คําพูด เสียงดนตรี
และเสียงอืนๆ ทีประกอบตัว อัก ษรเหล่านั น มูลค่า ของการจํา ลองลงบนแผ่นจานข้ อมูลเสีย ง
(Optical disc) เพียงแค่เป็ นเศษส่วน ของการจัดพิมพ์และการห่อหนังสือในขณะทีมีความจําเป็ น
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสือการศึกษา
                                                        ดร.อิศรา ก้ านจักร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น
ทีจะต้ องมีฮาร์ ดแวร์ ในการอ่านหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ และขณะนี มีราคาหลายระดับ ลักษณะ
ของซอฟต์ แ วร์ ที เพิ มเป็ นแบบไฮเปอร์ มี เดี ย (Hypermedia) สามารถแสดงผลของการค้ น หา
ตัวอักษรได้ เชือมต่อกับไฮเปอร์ เท็กซ์ มีคําแนะนําที สามารถอธิบายศัพท์เป็ นระบบออนไลน์ และ
อาจมีหมายเหตุตรงขอบ เป็ นต้ น
              4. ห้ องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E-library)
              มาจากคําว่า Electronic Library หรือห้ องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง แหล่งความรู ้ ที
บันทึกข้ อมูลไว้ ในเครืองคอมพิวเตอร์ แม่ข่ายและให้ บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์หรื อผ่าน
เครื อ ข่ายอิ นเทอร์ เน็ ต ในลักษณะผสมผสานการทํางานของระบบห้ องสมุดอัตโนมัติห้อ งสมุด
ดิจิตอลและห้ อง (นํ าทิพย์วิภาวิน, 2545)
              ในปั จจุบันสัง คมไทยเราอยู่ในยุคข่าวสาร ทําให้ มีการกระจายข้ อมูลข่าวสารได้ อย่า ง
ดังนั นห้ องสมุดจึงต้ องเปลียนแปลงระบบการทํางานด้ านต่างๆ โดยเฉพาะงานด้ านบริ การจะมี
บทบาทที เด่ น ชัด ความต้ อ งการของผู ้ ใ ช้ บ ริ ก ารจึง เป็ นแรงผลัก ดัน ให้ ห้ อ งสมุ ด เปลี ยนการ
ให้ บริ การงานห้ องสมุดมาเป็ นระบบอัตโนมัติ เทคโนโลยีของห้ องห้ องสมุดอิเล็กทรอนิ กส์ มี
ดังนี (วาสนา อภิญญาวงศ์ 2538)
              1. การจั ด การเอกสารอิ เ ล็ก ทรอนิ ก ส์ เพื อประโยชน์ ใ นการรวบรวมและจั ด เก็ บ
สารสนเทศ และสะดวกในการบริ การส่งสารสนเทศแก่ผู ้ ใช้ ทรัยพากรสารสนเทศของห้ องสมุด
เสมื อ นจํ า เป็ นต้ อ งอยู่ ใ นรู ป ของอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เ พื อสะดวกในการจัด เก็ บ และสื บ ค้ น ข้ อ มู ล
ตลอดจนการส่ ง ข้ อ มู ลระยะไกล เป็ นการเปลี ยนรู ป แบบสิงพิ ม พ์ แ บบเดิ ม ให้ อ ยู่ ใ นรู ป ของ
อิเ ล็ก ทรอนิ กส์ ทีเครื องคอมพิว เตอร์ สามารถอ่ านได้ ทํ า ได้ โ ดยการจัด เก็บ ในรู ปดิ จิ ตัล ได้ แ ก่
ซีดีรอม หรือจัดเก็บในฮาร์ ดดิสต์
              2. ระบบเครือข่าย เพือเชือมโยงเครือข่ายของห้ องสมุดกับผู ้ ใช้ และแหล่งสารสนเทศอืน
ๆ ทําให้ ผู ้ ใช้ สามารถติดต่อกับห้ องสมุดและแหล่งสารสนเทศ อืน ๆได้ ทัวโลก
              3. การส่งเอกสารสารสนเทศแก่ผู ้ ใช้ เพือให้ ผู ้ ใช้ ได้ รับสารสนเทศทีต้ องการโดยไม่ต้อง
มายังห้ องสมุด มี 4 วิธีการคือ ทางไปรษณีย์, จดหมายอิเล็กทรอนิกส์, โทรสาร และทางอินเตอร์
              5. แผนการจัดการเรี ยนรู ้ เป็ นการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในขั นตอนต่างๆ
ของแผนการจัดการเรียนรู ้ ทียึดหลั กการบูรณาการทีเน้ นผู ้ เป็ นสําคัญโดยใช้ เทคโนโลยีเข้ ามาสาง
เสริม สนับสนุนและพัฒนาศักยภาพการเรียนรู ้ ของผู ้ เรี ยน ซึงมีกรอบแ วคิดในการจัดการเรี ยนรู ้
                                                                             น
ดังนี
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสือการศึกษา
                                                       ดร.อิศรา ก้ านจักร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น
                          กรอบแนวคิดในการจัดกระบวนการเรี ยนรู ้

          เชือมโยงความรู้เดิ มกั บความรู้
                                                                ตั งประเด็ นคําถาม
                                                                สํารวจ ค้ นหา เสาะแสวงหาความรู้
            มอบหมายภารกิ จการเรียนรู้                          ทดลอง

   เปิ ดโอกาสให้ผ ู้เรียนสืบค้นสารสนเทศจากแหล่งเรียนรู้

            เปิ ดโอกาสให้ผ ู ้เรียนแลกเปลียนความรู้ระหว่างกั น


            นําความรู้ทีได้ร ั บมาสร้างเป็ นผลงาน


           ผู ้เรียนนําเสนอผลงานหรือความรู้ทีได้


                      ร่วมกั นสรุปบทเรียน

กรอบแนวคิดในการจัดกระบวนการเรียนรู ้ ทีบูรณาการICT (สุ มาลี ชัยเจริญ, 2548)

             จากกรอบแนวคิดในการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรี ยนรู ้ แสดงให้
เห็นถึง ความสัมพันธ์ ระหว่ างวิธี การจัด การเรี ยนรู ้ (Method) ร่ วมกับ สือ(Media) ซึงในทีนี ก็คื อ
เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น คอมพิวเตอร์ อินเทอร์ เน็ต วีดิทัศน์ ฯลฯ การการเลือกวิธีการจะต้ อง
อยู่ บ นพื นฐานของการเรี ย นรู ้ ที เน้ น ผู ้ เรี ย นเป็ นสํา คัญและเลือ กใช้ สือให้ สนองต่อ การั บรู ้ ของ
                                                                                               ร
ผู ้ เรียน ดังกรอบแนวคิดข้ างต้ น ในขั นแรกทีเป็ นการเชือมโยงความรู ้ เดิมกับความรู ้ ใหม่ผู ้ สอนอาจ
กระตุ ้ นให้ ผู ้ เรี ยนใส่ใจหรื อกระตุ ้ น ประสบการณ์ เดิม โดยใช้ สือพวกวีดิ ทัศน์ และตั งคําถามทีให้
ผู ้ เรี ย นสามารถเรี ย กกลั บ ประสบการณ์ เ ดิ ม เหล่ า นั นมาใช้ ในการเรี ย นรู ้ สิ     งใหม่ ขั นจั ด
ประสบการณ์ เรี ยนรู ้ ตั งแต่ขั นที เทคโนโลยีสารสนเทศทีสามารถสนับสนุนการแสวงหาและ
                                     2-5
ค้ นพบความรู ้ เช่น อินเทอร์ เน็ต เป็ นต้ น ในการสร้ างและนําเสนอผลงานผู ้ สอนอาจให้ ผู ้ เรี ยนใช้
โปรแกรมประยุก ต์ คอมพิว เตอร์ เช่น MSWord MSPower point เป็ นต้ น และอาจใช้ Social
media ในการแลกเปลียนแนวคิด ติดต่อสือสารระหว่างผู ้ เรียนอืนๆได้ อีกด้ วย
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสือการศึกษา
                                                   ดร.อิศรา ก้ านจักร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น
แหล่ งเรี ยนรู ้ อ่านเพิ มเติม

ครรชิด มาลัยวงค์. (2538). ก้ าวไกลไปกับคอมพิวเตอร์ : สาระของคอมพิวเตอร์ ที
       ข้ าราชการต้ องรู .้ กรุงเทพฯ: ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ.
ทักษิ ณา สวนานนท์. (2543). พจนานุกรมศัพท์ คอมพิวเตอร์ ใน Thai Software Dictionary
       version 3.1. กรุงเทพฯ : ไทยซอร์ ฟแวร์ เอ็นเตอร์ ไพรส.
ทักษิ ณา สวนานนท์ และฐานิศรา เกียรติบารมี. (2546). พจนานกรมศัพท์ คอมพิวเตอร์
       และอินเตอร์ เน็ต. (พิมพ์ครั งที10). กรุงเทพฯ: วี.ทีซ.ี คอมมิวนิเคชัน.
Jimba,S.W. (1999). Information technology and underdevelopment the Third World.
       Library Review.

คําถามสะท้ อนความคิด

      ท่านคิดว่าเทคโนโลยีสารสนเทศทีสอดคล้ องกับสาระการเรี ยนรู ้
       วิชาเอกของท่านคือนวัตกรรมใด เพราะอะไร
      ท่านคิด ว่าเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถลดข้ อ จํากัดด้ านการ
       เรียนการสอนของครูและนักเรียนอย่างไร
      ท่า นคิด ว่ าเทคโนโลยี สารสนเทศลักษณะใดที มีค วามเหมาะสมกับ การเรี ย นรู ้ ใ นยุค
       ปั จจุบัน เพราะอะไร

กิจกรรมแนะนํา

ให้ ท่ านลองเสนอแผนการจัด การเรี ยนรู ้ หรื อออกแบบสือการเรี ยนรู ้ ทีใช้
เทคโนโลยี สารสนเทศไปเป็ นพื นฐานเพื อใช้ ในการเรี ยนรู ้ ในสาระวิ ชาที
ท่านรับผิดชอบ โดยนวัตกรรมทีสร้ า งนั นจะต้ องส่งเสริ มกระบวนการคิ ด
การแสวงหาความรู ้ และสนับสนุนเปาหมายรายวิชาตามหลั กสู ตร
                                ้

บรรณานุกรม

นํ าทิพย์วิภาวิน. (2545). e-library. กรุงเทพฯ : เอส อาร์ พริ นติ ง
                                                                 แมสโปรดักส์.
วาสนา อภิ ญญาวงศ์ .(2538). “Virtual Library” ข่าวสารห้ องสมุดในจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย
       11, 3-4 (พฤษภาคม – สิงหาคม): 26-29.
เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสือการศึกษา
                                                ดร.อิศรา ก้ านจักร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น
สมเด็จพระเทพกับงานไอทีเฉลิมพระเกียรติ. (2538). เทคโนโลยีสารสนเทศก้ าวไกล
       เศรษฐกิจไทยมั นคง. กรุงเทพฯ
สุมาลี ชัยเจริ ญ. (2548). เอกสารประกอบการอบรมการบูรณาการ ICT ในการจัดการเรี ยนรู ้.
       คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลั ยขอนแก่น เอกสารอัดสําเนา
Souter, D. (1999). The role information and communication technologies democratic
       development. The Journal of Policy, Regulation and Strategy for
       Telecommunications Information and Media, 1,5, 405-417.
Driscoll, M. P. (1994). Psychology of learning for instruction. Boston: Allyn and Bacon.

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษามโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษาVitamilk
 
Journal 2
Journal 2 Journal 2
Journal 2 Ornrutai
 
ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2Warakon Phommanee
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
การจัดการความรู้การวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
การจัดการความรู้การวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศการจัดการความรู้การวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
การจัดการความรู้การวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศPrachyanun Nilsook
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานAriyaporn Suaekong
 
เทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอนเทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอนChanathip Tangz
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยKobwit Piriyawat
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารAomJi Math-ed
 
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสารเทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสารsinarack
 
หลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพหลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพdechathon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศชีวิประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศชีวิประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศชีวิประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศชีวิประจำวันSa'Laoy Krissada
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศdevilp Nnop
 
รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาก...
รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาก...รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาก...
รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาก...Prachyanun Nilsook
 

La actualidad más candente (18)

มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษามโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
 
Journal 2
Journal 2 Journal 2
Journal 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6
 
การจัดการความรู้การวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
การจัดการความรู้การวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศการจัดการความรู้การวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
การจัดการความรู้การวิจัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
 
เทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอนเทคโนโลยี และสื่อการสอน
เทคโนโลยี และสื่อการสอน
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
 
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสารเทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
 
หลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพหลักสูตรสาระการงานอาชีพ
หลักสูตรสาระการงานอาชีพ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศชีวิประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศชีวิประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศชีวิประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศชีวิประจำวัน
 
Utq 001
Utq 001Utq 001
Utq 001
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาก...
รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาก...รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาก...
รูปแบบการเรียนรู้จินตวิศวกรรมทางวิทยาศาสตร์ด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริงเพื่อพัฒนาก...
 
Mycomputer1
Mycomputer1Mycomputer1
Mycomputer1
 

Destacado

Innovative learning environment
Innovative learning environmentInnovative learning environment
Innovative learning environmentTar Bt
 
Issara trf-present-2012
Issara trf-present-2012Issara trf-present-2012
Issara trf-present-2012Tar Bt
 
Innovative teacher
Innovative teacherInnovative teacher
Innovative teacherTar Bt
 
Epistemology
EpistemologyEpistemology
EpistemologyTar Bt
 
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาแบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาTar Bt
 
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Tar Bt
 
Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environmentTar Bt
 
ร่างงานเลี้ยงรุ่น
ร่างงานเลี้ยงรุ่นร่างงานเลี้ยงรุ่น
ร่างงานเลี้ยงรุ่นTar Bt
 
Education 4.0 transforming educatio
Education 4.0  transforming educatioEducation 4.0  transforming educatio
Education 4.0 transforming educatioTar Bt
 
Online active learning
Online active learningOnline active learning
Online active learningTar Bt
 
Multimedia learning environment
Multimedia learning environmentMultimedia learning environment
Multimedia learning environmentTar Bt
 
ภาวินี โยวะศรี Mindmap
ภาวินี โยวะศรี Mindmapภาวินี โยวะศรี Mindmap
ภาวินี โยวะศรี MindmapAnn Pawinee
 
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูkruthai40
 
การประเมินแฟ้ม
การประเมินแฟ้มการประเมินแฟ้ม
การประเมินแฟ้มTupPee Zhouyongfang
 
Online learning environment
Online learning environmentOnline learning environment
Online learning environmentTar Bt
 

Destacado (15)

Innovative learning environment
Innovative learning environmentInnovative learning environment
Innovative learning environment
 
Issara trf-present-2012
Issara trf-present-2012Issara trf-present-2012
Issara trf-present-2012
 
Innovative teacher
Innovative teacherInnovative teacher
Innovative teacher
 
Epistemology
EpistemologyEpistemology
Epistemology
 
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาแบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
แบบฝึกวิเคราะห์การออกแบบงานวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษา
 
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
 
Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environment
 
ร่างงานเลี้ยงรุ่น
ร่างงานเลี้ยงรุ่นร่างงานเลี้ยงรุ่น
ร่างงานเลี้ยงรุ่น
 
Education 4.0 transforming educatio
Education 4.0  transforming educatioEducation 4.0  transforming educatio
Education 4.0 transforming educatio
 
Online active learning
Online active learningOnline active learning
Online active learning
 
Multimedia learning environment
Multimedia learning environmentMultimedia learning environment
Multimedia learning environment
 
ภาวินี โยวะศรี Mindmap
ภาวินี โยวะศรี Mindmapภาวินี โยวะศรี Mindmap
ภาวินี โยวะศรี Mindmap
 
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
 
การประเมินแฟ้ม
การประเมินแฟ้มการประเมินแฟ้ม
การประเมินแฟ้ม
 
Online learning environment
Online learning environmentOnline learning environment
Online learning environment
 

Similar a บทที่ 6

รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทJiraporn Chaimongkol
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...Kobwit Piriyawat
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ Panita Wannapiroon Kmutnb
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1lalidawan
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ท พวรรณ
ท พวรรณท พวรรณ
ท พวรรณSchool
 
หลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยี
หลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยีหลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยี
หลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยีcomed
 
ทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าว
ทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าวทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าว
ทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าวSamorn Tara
 
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...khon Kaen University
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑suwanna champasak
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11kanwan0429
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11kanwan0429
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลธนเดช วิไลรัตนากูล
 

Similar a บทที่ 6 (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
 
Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012
 
asean-library-ict
asean-library-ictasean-library-ict
asean-library-ict
 
ท พวรรณ
ท พวรรณท พวรรณ
ท พวรรณ
 
หลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยี
หลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยีหลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยี
หลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยี
 
ทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าว
ทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าวทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าว
ทดสอบชื่อไฟล์เป็นภาษาต่างด้าว
 
test
testtest
test
 
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
 
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
เปรียบเทียบหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
 

Más de Tar Bt

Reviwe of current trends in educational technologies
Reviwe of current trends in educational technologiesReviwe of current trends in educational technologies
Reviwe of current trends in educational technologiesTar Bt
 
Online learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & PracticeOnline learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & PracticeTar Bt
 
Show case global smart learning environment
Show case global smart learning environmentShow case global smart learning environment
Show case global smart learning environmentTar Bt
 
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนTar Bt
 
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Tar Bt
 
A look forward etc research_new
A look forward etc research_newA look forward etc research_new
A look forward etc research_newTar Bt
 
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2Tar Bt
 
A Look Forward: Educational Technology Research
A Look Forward: Educational Technology ResearchA Look Forward: Educational Technology Research
A Look Forward: Educational Technology ResearchTar Bt
 
Scopus_07
Scopus_07Scopus_07
Scopus_07Tar Bt
 
Scopus_06
Scopus_06Scopus_06
Scopus_06Tar Bt
 
Scopus_05
Scopus_05Scopus_05
Scopus_05Tar Bt
 
Scopus_04
Scopus_04Scopus_04
Scopus_04Tar Bt
 
Scopus_03
Scopus_03Scopus_03
Scopus_03Tar Bt
 
Scopus_02
Scopus_02Scopus_02
Scopus_02Tar Bt
 
Scopus_01
Scopus_01Scopus_01
Scopus_01Tar Bt
 
Scaffolding
ScaffoldingScaffolding
ScaffoldingTar Bt
 
คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์Tar Bt
 

Más de Tar Bt (19)

Reviwe of current trends in educational technologies
Reviwe of current trends in educational technologiesReviwe of current trends in educational technologies
Reviwe of current trends in educational technologies
 
Online learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & PracticeOnline learning environment: Theory, Research & Practice
Online learning environment: Theory, Research & Practice
 
Show case global smart learning environment
Show case global smart learning environmentShow case global smart learning environment
Show case global smart learning environment
 
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
 
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
 
A look forward etc research_new
A look forward etc research_newA look forward etc research_new
A look forward etc research_new
 
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
การเขียนบทความเพื่อการตีพิมพ์ 2
 
A Look Forward: Educational Technology Research
A Look Forward: Educational Technology ResearchA Look Forward: Educational Technology Research
A Look Forward: Educational Technology Research
 
Scopus_07
Scopus_07Scopus_07
Scopus_07
 
Scopus_06
Scopus_06Scopus_06
Scopus_06
 
Scopus_05
Scopus_05Scopus_05
Scopus_05
 
Scopus_04
Scopus_04Scopus_04
Scopus_04
 
Scopus_03
Scopus_03Scopus_03
Scopus_03
 
Scopus_02
Scopus_02Scopus_02
Scopus_02
 
Scopus_01
Scopus_01Scopus_01
Scopus_01
 
Scaffolding
ScaffoldingScaffolding
Scaffolding
 
Sc
ScSc
Sc
 
Pb
PbPb
Pb
 
คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
คุณลักษณะของการเรียนและการสอนตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 

บทที่ 6

  • 1. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสือการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจักร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น บทที 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื อการเรียนรู ้ โครงร่ างเนื อหาของบท คําสําคัญและ 1. ความรู ้ เบื องต้ นเกียวกับเทคโนโลยี สารสนเทศ ความคิดรวบยอด 2. ความหมายและความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ  สารสนเทศ 3. การสือสารด้ วยเทคโนโลยีสารสนเทศ  เทคโนโลยีสารสนเทศ 4. การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรียนรู ้  สิงแวดล้ อมทางการ วัตถุประสงค์การเรียนรู ้ เรียนรู ้ 1. ออกแบบและสร้ างเทคโนโลยีสารสนเทศเพือส่งเสริมการ  การเรี ยนบนเครือข่าย เรียนรูได้ ้  หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 2. วิเคราะห์บทบาทและความสําคัญของเทคโนโลยี  โทรทัศน์ทางไกล สารสนเทศในการจัดการเรียนรู ้ ทีเน้ นผู ้ เรี ยนเป็ นสําคัญได้  E-learning 3. เลือกใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศให้ เหมาะสมกับสภาพ  Social media บริบทการจัดการเรียนรู ้ ได้ กิจกรรมการเรียนรู ้ 1. ให้ มโนทัศน์เชิงทฤษฎี หลั กการ เรือง เทคโนโลยี สารสนเทศเพือการศึกษา 2. นักศึกษาแบ่งเป็ นกลุ่มย่อย กลุ่มละ 3 คน ศึกษาจาก สิงแวดล้ อมทางการเรี ยนรู ้ บนเครือข่าย http://ednet.kku.ac.th/~sumcha/web-230301/ โดย นักศึกษาศึกษาสถานการณ์ปัญหาบทที 6 วิเคราะห์ทํา ความเข้ าใจค้ นหาคําตอบจากเอกสารประกอบการสอน และแหล่งเรียนรู ้ บนเครือข่ายและร่วมกันสรุปคําตอบ และ นําเสนอในรูปแบบ Power point 3. ร่วมกันสรุปองค์ ความรู ้ และแลกเปลียนความคิดเห็น โดย ผู ้ สอนตั งประเด็น และอธิบายเพิมเติม
  • 2. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสือการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจักร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น สถานการณ์ ปัญหา(Problem-based learning) ภายหลังที รั ฐบาลได้ จัด การปฏิ รูป การศึกษา ซึงมีหัว ใจสําคัญอยู่ ที "การยกระดับ คุณภาพประชากรของประเทศให้ สูง ขึ น คือ ผู ้ เ รี ย นทุก คนมี ค วา สามารถเรี ย นรู ้ และพัฒ นา ม ตนเองได้ และถือว่าผู ้ เรียนมีความสําคัญทีสุ ด ทีต้ องส่งเสริ มและพัฒนาให้ เต็มตามศักยภาพ ฝึ ก ทักษะ กระบวนการคิด การประยุกต์ ความรู ้ และการแสวงหาความรู ้ ด้วยตนเอง สามารถในการ คิดวิเคราะห์ และริเริมสร้ างสรรค์ มีความสามารถในการแก้ ปัญหา ตลอดจนรู จักการทํางานเป็ น้ หมู่คณะ" มีก ารนํา เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ ามาใช้ เพื อเพิ มประสิท ธิ ภาพการเรี ย นรู ้ ทีผู ้ เรี ย น สามารถเข้ า ถึง ได้ อย่ างหลากหลาย สามารถเรี ย นได้ ทุก ทีทุกเวลา เพือทีจะทํ าให้ ผู ้ เ รี ย นเกิ ด ความรู ้ ความเข้ าใจ และเหมาะสมกับยุคแห่งข้ อมูลสารสนเทศทีมีอยู่อย่างมากมาย รวมไปถึง การทํ าให้ ก ารเรี ยนรู ้ นั นเกิ ด ประสิท ธิ ภ าพสูง สุด ทั งยัง เพื อเป็ นการเตรี ย มพัฒ นาผู ้ เ รี ยน ให้ มี คุณลั กษณะทีเหมาะสมกับสั งคมยุคโลกาภิวัตน์ ในฐานะทีท่านจะเป็ นครูพันธ์ ใหม่ ท่านจะต้ องปฏิบัติภารกิจต่อไปนี ภารกิจ 1. วิ เ คราะห์ บ ทบาทและความสํ า คั ญ ของเทคโนโลยี ส ารสนเทศกั บ การพัฒ นา การศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา 2. วิเคราะห์ หาวิธีการทีจะประยุกต์ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ ในการจัดการเรี ยนรู ้ ที เน้ นผู ้ เรียนเป็ นสําคัญ 3. ให้ ท่า นพิจ ารณาเลือ กใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเพือเพิ มประสิทธิ ภ าพการจัด การ เรียนรู ้ ตามบริบทของโรงเรียนทีกําหนดให้ ต่อไปนี พร้ อมทั งให้ เหตุผลประกอบการอธิบาย โรงเรี ย นบ้ านหนองงูเห่ า เป็ นโรงเรี ย นทีอยู่ ห่ า งไกลในถิ นธุ ระกัน ดาล โรงเรี ย นมี คอมพิวเตอร์ สามเครือง มีโทรทัศน์ ไม่มีสั ญญาณโทรศัพท์ โรงเรี ยนมัธ ยมไฮโซเบตง เป็ นโรงเรี ย นทีตั งอยู่ใ นเมือ ง มีค วามพร้ อ มทางด้ า นสือ เทคโนโลยี มีห้องคอมพิวเตอร์ มีระบบอินเตอร์ เน็ตความเร็ วสูง แต่ครู มีไม่เพียงพอเนืองจากย้ าย หนีเหตุการณ์ความไม่สงบ
  • 3. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสือการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจักร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น ความรูพื นฐานเกี ยวกั บ ้ ความหมายและความสําคั ญ เทคโนโลยี สารสนเทศ ของเทคโนโลยี สารสนเทศ สาระสําคัญ ในบทที 7 การบูรณาการเทคโนโลยี สารสนเทศในการจั ดการเรี ยนรู ้ -การเรียนบนเครื อข่ าย -หนังสื ออิเล็ กทรอนิ กส์ -วีดิท ั ศน์ตามอั ธยาศั ย -ห้ องสมุ ดอิเล็ กทรอนิ กส์
  • 4. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสือการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจักร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น ความรู ้ พื นฐานเกี ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ปั จจุบันสั งคมของมนุษย์มีการเปลียนแปลงความเป็ นอยู่ างรวดเร็ ว กล่าวกันว่าได้ ไปอย่ เกิ ด การเปลียนแปลงในลัก ษณะที เรี ยกว่ า การปฏิ วัติ ม าแล้ ว สองครั ง ครั งแรกเกิ ด จากการที มนุษย์รู้ จักใช้ ระบบชลประทานเพือการเพาะปลูก สังคมความเป็ นอยู่ของมนุษย์ จึงเปลียนจาก การเร่ร่อนมาเป็ นการตั งหลั กแหล่งเพือทําการเกษตร ต่อมาเมือประมาณร้ อยกว่าปี ทีแล้ ว ก่อน สงครามโลกครั งที1 หลังจากทีเจมส์วัตต์ ประดิษฐ์ เครื องจักรไอนํ า มนุษย์ รู้ จักนําเอาเครื องจักร มาช่วยในอุตสาหกรรมการผลิต และช่วยในการสร้ างยานพาหนะเพืองานคมนาคมขนส่ง ผลที ตามมาทําให้ เกิดการปฏิวัติทางอุตสาหกรรม สังคมความเป็ นอยู่ของมนุษย์ จึงเปลียนจากสังคม เกษตรมาเป็ นสังคมเมือง และเกิดรวมกันเป็ นเมืองอุตสาหกรรมต่างๆ กิจวัตรในชีวิตประจําวัน ของมนุษย์เกียวข้ องกับเทคโนโลยีมากขึ น จนดูเหมือนว่าเทคโนโลยีเป็ นปั จจัยทีสําคัญอย่างหนึง ของมนุษ ย์ ซึงทํ าให้ มนุษย์ ได้ รับ ความสะดวกสบายและประสบความสําเร็ จ ในงานด้ า นต่าง ๆ เช่น เทคโนโลยีทางด้ านอวกาศ ทางด้ านการผลิต ทางด้ า นอุต สาหกรรม และทางด้ านพาณิ ช กรรม ความก้ าวหน้ าทางด้ านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ทําให้ มีการพัฒนาคิดค้ นสิงอํานวย ความสะดวกสบายต่ อ การดํ า ชี วิ ต เป็ นอัน มาก เทคโนโลยี ไ ด้ เข้ า มาเสริ ม ปั จจัย พื นฐานการ ดํารงชีวิตได้ เป็ นอย่างดี เทคโนโลยีทําให้ การสร้ างทีพักอาศัยมีคุณภาพมาตรฐาน สามารถผลิต สิน ค้ า และให้ บริ การต่ า ง ๆ เพื อตอบสนองความต้ อ งการของมนุษย์ ม ากขึ น เทคโนโลยี ทํา ให้ ระบบการผลิตสามารถผลิตสินค้ าได้ เป็ นจํานวนมากมีราคาถูกลง สินค้ าได้ คุณภาพ เทคโนโลยี ทําให้ มีการติดต่อสือสารกันได้ สะดวก การเดินทางเชือมโยงถึงกันทําให้ ประชากรในโลกติดต่อรับ ฟั งข่าวสารกันได้ ตลอดเวลา สําหรับการสร้ างเทคโนโลยีสารสนเทศเพือการจัดการในปั จจุบันนี ส่วนใหญ่ มักจะสร้ าง โดยใช้ ระบบคอมพิวเตอร์ เป็ นหลักเนืองจากคอมพิวเตอร์ มีความสามารถและมีประสิทธิ ภาพใน การจัดการเก็บข้ อมูลมากกว่าอุปกรณ์ อย่างอืน รวมทั งยังสามารถคํานวณประมวลผลข้ อมูลได้ อย่างรวดเร็วถูกต้ องแม่นยําแต่ทีจริงแล้ วการสร้ างระบบสารสนเทศนั นไม่จําเป็ นต้ องสร้ างมาจาก ระบบคอมพิวเตอร์ เพียงอย่างเดียวเราสามารถใช้ อุปกรณ์ ชนิดอืนสร้ างระบบสารสนเทศได้ แต่ เนื องจากคอมพิ ว เตอร์ ส ามารถทํ า งานและจัด การข้ อ มูลได้ ดี ก ว่ า อุป กรณ์ ช นิ ด อื น จึ ง ทํ า ให้ คอมพิวเตอร์ กลายเป็ นอุปกรณ์สําคัญในการสร้ างระบบสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศมีประโยชน์ ต่ อการพัฒนาประเทศให้ เจริ ญก้ าวหน้ าเทคโนโลยี สารสนเทศ เป็ นเรื องที เกี ยวข้ องกับ วิ ถี ค วามเป็ นอยู่ข องสัง คมสมัย ใหม่อ ยู่ ม าก เทคโนโลยี สารสนเทศก่อให้ เกิดการเปลียนแปลงกับโลกครั งใหญ่ ทั งในอดีตปั จจุบันและอนาคต หรื อ กล่าว
  • 5. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสือการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจักร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น ได้ ว่าเทคโนโลยีสารสนเทศมีผลกระทบต่อทุกสิงทุกอย่างทั งทางการดําเนินชีวิต เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การศึกษาและอืน ๆเทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นการประยุกต์ ใช้ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสือสารในรู ป แบบต่ าง ๆเพื อให้ บ รรลุวัตถุประสงค์ ลักษณะ เด่ นที สํา คัญของ เทคโนโลยี สารสนเทศคื อ ช่ ว ยเพิ มผลผลิต ลดต้ น ทุน และเพิ มประสิท ธิ ภ าพการทํ า งานการ ประกอบการทางด้ า นเศรษฐกิ จ การค้ า และการอุต สาหกรรม จํ า เป็ นต้ อ งหาวิ ธี ใ นการเพิ ม ผลผลิตลดต้ นทุนและเพิมประสิทธิ ภาพในการทํางาน คอมพิวเตอร์ และระบบสือสารช่วยทําให้ เกิดระบบอัตโนมัติ เราสามารถฝากถอนเงินสดผ่านเครืองเอทีเอ็มได้ ตลอดเวลา ธนาคารสามารถ ให้ บริ ก ารได้ ดี ขึ น ทํ าให้ การบริ ก ารโดยผู ้ บริ ห ารทีมีป ระสบการณ์ นั นให้ เหลือเพี ยงมัธยมศึกษา ตอนปลาย ความหมายและความสําคัญเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี ระบบสารสนเทศ เป็ นหนึงในเครื องมื อ หลาย ๆ ตัว ทีผู ้ บ ริ ห ารใช้ สํา หรั บ จัดการกับการเปลียนแปลง โดยเฉพาะอย่างยิงในปั จจุบัน เทคโนโลยีสารสนเทศเปรี ยบเสมือน การทีเชือมส่ว นต่า ง ๆ ขององค์ กร และ องค์ ก รต่า ง ๆ เข้ า ด้ วยกัน ระบบสารสนเทศอิง การใช้ คอมพิวเตอร์ จึงเป็ นการใช้ เทคโนโลยีฮาร์ ดแวร์ เทคโนโลยีซอฟต์ แวร์ เทคโนโลยีการเก็บ และ เทคโนโลยีสือสารทางไกล สารสนเทศ หมายถึง ข้ อมูลข่าวสาร ความรู ้ ต่าง ๆ ทีได้ รับการสรุ ป คํานวณ จัดเรี ยง หรื อ ประมวลแล้ ว จากข้ อ มูลต่ า ง ๆ ที เกี ยวข้ อ งอย่ า งเป็ นระบบตามหลัก วิ ช าการ จนได้ เ ป็ น ข้ อความรู ้ เพือนํามาเผยแพร่และใช้ ประโยชน์ในงานด้ านต่าง ๆ เทคโนโลยี หมายถึ ง การประยุก ต์ เ อาความรู ้ ทางด้า นวิ ท ยาศาสตร์ ม าใช้ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ การศึกษาพัฒนาองค์ ความรู ้ ต่าง ๆ ก็เพือให้ เข้ าใจธรรมชาติ กฎเกณฑ์ ของสิงต่าง ๆ และหาทางนํามาประยุกต์ให้ เกิดประโยชน์ เทคโนโลยีจึงเป็ นค้ าทีมีความหมายกว้ างไกล เป็ นคํา ทีเราได้ พบเห็นและได้ ยินอยู่ตลอดมา เมื อรวมคํ า ว่ า เทคโนโลยี กับ สารสนเทศเข้ า ด้ ว ยกัน เมื อรวมคํ า ว่ า เทคโนโลยี กับ สารสนเทศเข้ าด้ วยกัน จึงหมายถึงเทคโนโลยีทีใช้ จัดการสารสนเทศ เป็ นเทคโนโลยีทีเกียวข้ อง ตั งแต่ การรวบรวมการจัดเก็บ ข้ อ มูล การประมวลผล การพิ มพ์ การสร้ างรายงาน การสือสาร ข้ อมูล ฯลฯ เทคโนโลยีสารสนเทศจะรวมไปถึงเทคโนโลยีททําให้ เกิดระบบการให้ บริ การ การใช้ ี และการดูแลข้ อมูล
  • 6. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสือการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจักร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น ความสําคัญของสารสนเทศ สารสนเทศแท้ จริงแล้ วย่อมมีความสําคัญต่อทุกสิงทีเกียวข้ อง เช่น ด้ านการเมือง การ ปกครอง ด้ านการศึกษา ด้ าน เศรษฐกิจ ด้ านสั งคม ฯลฯ ในลั กษณะดังต่อไปนี 1. ทํ า ให้ ผู ้ บริ โ ภคสารสนเทศเกิ ด ความรู ้ (Knowledge) และความเข้ าใจ (Understanding) ในเรืองดังกล่าว ข้ างต้ น 2. เมือเรารู ้ และเข้ าใจในเรืองทีเกียวข้ องแล้ ว สารสนเทศจะช่วยให้ เราสามารถตัดสินใจ (Decision Making) ใน เรืองต่างๆ ได้ อย่างเหมาะสม 3. นอกจากนั นสารสนเทศ ยัง สามารถทํ า ให้ เ ราสามารถแก้ ไ ขปัญ หา (Solving Problem) ทีเกิดขึ นได้ อย่าง ถูกต้ อง แม่นยํา และรวดเร็ว ทันเวลากับสถานการณ์ต่าง ๆ ทีเกิดขึ น ความสํ าคัญของเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื อสาร มี 6 ประการ (Souter 1999: 409) ได้ แก่ ประการแรก การสือสารถือเป็ นสิงจําเป็ นในการดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ สิง สําคัญทีมีส่วนในการพัฒนากิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ ประกอบด้ วย Communications media, การสือสารโทรคมนาคม (Telecoms), และเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) ประการทีสอง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารประกอบด้ วยผลิตภัณฑ์ หลักทีมาก ไปกว่าโทรศัพท์ และคอมพิวเตอร์ เช่น แฟกซ์, อินเทอร์ เน็ต, อีเมล์ ทําให้ สารสนเทศเผยแพร่ หรื อ กระจายออกไปในทีต่าง ๆ ได้ สะดวก ประการทีสาม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารมีผลให้ งานด้ านต่าง ๆ มีราคาถูก ลง ประการที สี เครื อ ข่ า ยสือสาร (Communication networks) ได้ รั บ ประโยชน์ จ าก เครือข่ายภายนอก เนืองจากจํานวนการใช้ เครือข่าย จํานวนผู ้ เชือมต่อ และจํานวนผู ้ ทีมีศักยภาพ ในการเข้ าเชือมต่อกับเครือข่ายนับวันจะเพิมสู งขึ น ประการทีห้ า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารทําให้ ฮาร์ ดแวร์ คอมพิวเตอร์ และ ต้ นทุนการใช้ ICT มีราคาถูกลงมาก ประการทีหก เทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้ เกิดการวางแผนการดําเนินการระยะยาวขึ น อีกทั งยังทําให้ วิถีการตัดสินใจ หรือเลือกทางเลือกได้ ละเอียดขึ น จะเห็ น ได้ ว่ า เทคโนโลยี ส ารสนเทศมี บ ทบาทที สํ า คั ญ ในทุ ก วงการ มี ผ ลต่ อ การ เปลี ยนแปลงโลกด้ า นความเป็ นอยู่ สัง คม เศรษฐกิ จ การศึ ก ษา การแพทย์ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การเมือง ตลอดจนการวิจัยและการพัฒนาต่าง ๆ
  • 7. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสือการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจักร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น การสื อสารด้ วยเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี ก ารสื อสาร (Communication Technology) มี ก ารพัฒ นารู ป แบบให้ สามารถติดต่อสือสาร ถึงกันได้ ง่าย และอุปกรณ์ทีใช้ ในการติดต่อสือสารมีหลายรู ปแบบให้ เลือก ได้ ตามความเหมาะสมกับการใช้ งานระบบคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ ต่างๆ ได้ เพิมคุณสมบัติให้ สามารถเชื อมโยงถึ ง กั น ได้ การเพิ มคุ ณ ค่ า ของระบบคอมพิ ว เตอร์ มี ม ากขึ นเมื อมี ก ารนํ า เทคโนโลยีการสือสารมาประยุกต์เข้ าด้ วยระบบกันทีเรียกว่า “เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ” อินเตอร์ เน็ต (Internet) คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ขนาดยักษ์ ทีเชือมต่อกันทัวโลก โดยมี มาตรฐานการรับส่ง ข้ อมูลระหว่างกันเป็ นหนึงเดียว ซึงคอมพิวเตอร์ แต่ละเครื องสามารถรับส่ง ข้ อ มูล ในรู ป แบบต่ าง ๆ ได้ ห ลายรู ป แบบ เช่ น ตัวอัก ษร, ภาพกราฟิ ก และ เสีย งได้ รวมทั ง สามารถค้ นหาข้ อมูลจากทีต่าง ๆ ได้ อย่างรวดเร็ว ในยุคสั งคมข่าวสาร ข้ อมูลดังทุกวันนี การสือสารรู ปแบบต่าง ๆ ถูกพัฒนาขึ นให้ คนเรา สือสารถึง กัน ง่ า ยที สุด และสะดวกที สุด การสือสารถึง กัน ด้ ว ยคํ า พูด ผ่า นทางโทรศัพ ท์ ย่ อ มไม่ เพี ย งพออี ก ต่ อ ไปเราต้ อ งการมากกว่ า นั นเช่ น ภาพ เสี ย ง และ ข้ อความ ตั ว อั ก ษรรวมทั ง ข้ อมูลคอมพิวเตอร์ ฯลฯ ซึงอินเตอร์ เน็ตสามารถเข้ ามาตอบสนองได้ ในจุดนี เมื อเราเชื อมต่ อ เครื อ ข่ า ยของ อินเตอร์ เน็ต เราสามารถติดต่อกับเพือน ของเราในสหรัฐเมริ กาผ่านอิเล็กทรอนิกส์ เมล์, ข้ ามไปค้ นหา ข้ อมูลทียุโรปแล้ วกอป ปี ไฟล์ ไ ปที ออสเตรเลี ย ได้ จากเครื อง คอมพิว เตอร์ ทีบ้ านทีมหาวิ ทยาลัยหรื อ ที ทํางานของเราโดยใช้ เวลาทั งหมดภายใน ไม่กีนาทีทําให้ การติดต่อสือสารนั นเป็ นไป อย่ า งรวดเร็ ว และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ นอกจากนี ค่าใช้ จ่ายก็ยังถูกกว่าวิธีอืนเมือเทียบกับการติดต่อทางโทรศัพท์, การส่งโทรสารและ การส่งข้ อมูลผ่านโมเด็มโดยตรงกับปลายทางแล้ วการใช้ งานผ่านอินเตอร์ เน็ตมีค่าใช้ จ่ายถูกกว่า หลายเท่า นีเป็ นเหตุผลหลั กทีว่าทําไมเราต้ องใช้ อินเตอร์ เน็ตซึงนับเป็ นการปฏิ วัติ สังคมข่าวสาร ครั ง ใหญ่ทีสุ ดในยุคของเรา ประโยชน์ของอินเตอร์ เน็ต มีดังนี ในด้ านการศึกษาเราสามารถต่อเข้ ากับอินเตอร์ เน็ตเพือค้ นคว้ าหาข้ อมูลได้ ไม่ว่าจะเป็ น ข้ อมูลทางวิชาการจากทีต่าง ๆ ซึงในกรณีนี อินเตอร์ เน็ตจะทําหน้ าทีเหมือนห้ องสมุดขนาดยักษ์
  • 8. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสือการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจักร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น ส่ง ข้ อมูลทีเราต้ อการมาให้ ถึงบนจอคอมพิวเตอร์ ของเราในเวลาไม่กีวินาทีจากแหล่งข้ อมูลทัว โลกไม่ว่าจะเป็ นข้ อมูลด้ านวิทยาศาสตร์, วิศวกรรม, ศิลปกรรม, สังคมศาสตร์, กฎหมายและอืน ๆ นักศึกษา มหาวิทยาลั ยสามารถติดต่อกับมหาวิทยาลั ย อืน ๆเพือค้ นหาข้ อมูลทีกําลังศึกษาอยู่ ได้ ทั งข้ อมูลทีเป็ นตัวอักษร ภาพและเสียงหรือแม้ แต่มัลติมเี ดียต่าง ๆ , ในด้ า นการรั บ ส่ง ข่ า วสาร ผู ้ ใช้ ที ต่ อ เข้ าอิ น เตอร์ เ น็ ต สามารถรั บ ส่ง ข้ อ มู ลจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) กับผู ้ ใช้ คนอืน ๆ ทัว โลกในเวลาอันรวดเร็วได้ โดยมีค่าใช้ จ่ายตํามากเมือ เที ย บกับการส่ง จดหมายหรื อ ส่ง ข้ อ มูลวิ ธี อืน ๆ นอกจากนั นยัง อาจส่ง ข้ อ มูลคอมพิ วเตอร์ ใ น รูปแบบ ต่าง ๆ เช่น แฟม ข้ อมูล รูปภาพ จนไปถึงข้ อมูลทีเป็ นภาพและเสียงได้ อีกด้ วย ้ ในด้ า นธุรกิ จและการค้ า อิน เตอร์ เ น็ ตมี บ ริ ก าร ในรู ป แบบของการซื อขายสิน ค้ าผ่ า น คอมพิวเตอร์ เราสามารถเลือกดูสินค้าพร้ อมทั งคุณสมบัติต่าง ๆ ผ่านจอคอมพิวเตอร์ ของเราแล้ ว สั งซื อและจ่ายเงินด้ วยบัตรเครดิตได้ ทันทีซึงนับว่าสะดวกและรวดเร็ วมากนอกจากนี ผู ้ ทีใช้ ทีเป็ น บริษัทหรือองค์ กรต่าง ๆก็สามารถเปิ ดให้ บริ การและสนับสนุนลูกค้ าของคนผ่านอินเตอร์ เน็ตได้ เช่น การตอบ คําถาม, ให้ คําแนะนํารวมถึงการให้ ข่าวสาร ใหม่ ๆ แก่ลู กค้ าได้ ในด้ านการบันเทิงเราสามารถเข้ าไปเลือกอ่านหนังสือวารสารต่าง ๆ ผ่านอินเตอร์ เนต ได้ ค้ นหาข้ อมูลเกียวกับ ภาพยนตร์ ดนตรี และอืน ๆ อีกมากมาย ซึงปั จ จุบันเราสามารถทําเป็ น ภาพ เคลือนไหวและมีเสียงประกอบได้ อีกด้ วย(อ้ างอิง http://www.np.co.th/intro/intro_1.htm) เราสามารถสรุปได้ ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสาร เป็ นเทคโนโลยีทุกรู ปแบบที นํามาประยุกต์ในการประมวลผล การจัดเก็บ การสือสาร และการส่งผ่านสารสนเทศด้ วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ โดยทีระบบทางกายภาพประกอบด้ วยคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ ติดต่อสือสาร และ ระบบเครื อ ข่า ย ขณะที ระบบนามธรรมเกียวข้ อ งกับการจัด รู ป แบบของการมี ปฏิ สัม พัน ธ์ ด้ า น สารสนเทศทั งภายในและภายนอกระบบให้ สามารถดําเนินการร่วมกันได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื อสารกับการเรี ยนรู ้ จากความเปลียนแปลงนิยามของการเรี ยนรู ้ ทีหมายถึงการทีบุคคลมีความเข้ าใจ รับรู ้ ปั ญหาหรือเรืองราวทีได้ ประสบมา ทีมีความเกียวข้ องกับการการเพิมพูนทักษะ ความรู ้ ความ เข้ า ใจ และพัฒ นาบุค คลนั น ๆ เช่น การเรี ย นรู ้ ด้ วยตนเอง การเรี ย นรู ้ จากประสบการณ์ ก าร ทํางาน การเรียนรู ้ ยุคใหม่ต้องมีประสิทธิภาพและมี ความเหมาะสมกั บ สภาพสัง คม ในปั จ จุ บัน การ เรี ย นรู ้ มุ่ งหวัง ที จะให้ เ กิ ด องค์ ค วามรู ้ แก่ตัว ผู ้ เ รี ย น โดยมุ่ ง จัด การเรี ย นรู ้ ให้ ผู ้ เ รี ย นเป็ นศูน ย์ ก ลางการ เรียนรู ้ ไม่ใช่แค่การตีกรอบให้ ผู ้ เรี ยนอยู่เฉพาะแต่ใน
  • 9. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสือการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจักร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น ส่วนทีเป็ นความต้ องการของครูผู ้ สอนเพียงอย่างเดียว แต่ต้องให้ ผู ้ เรี ยนมีส่วนร่ วมในการเรี ยนรู ้ มากขึ นด้ วย เปาหมายทางการศึกษาของประเทศทีพัฒนาแล้ วอยู่ทีการให้ การศึกษาแก่ประชาชน ้ เข้ าสู่โลกแห่งเทคโนโลยี โดยเน้ นปั จจัยสําคัญอยู่ทีความรอบรู ้ ขอคนในชาติ การเรี ยนรู ้ ของคน ในชาติกับการสร้ างสังคมเป็ นสิงทีต้ องให้ เกิดขึ นกับคนในชาติ การเรี ยนรู ้ ต้องรวดเร็ ว ใช้ เวลา น้ อ ย ต้ น ทุนตํ า และทีสํา คัญ ความรู ้ จะมี บ ทบาทที สํา คัญมากขึ นเรื อย ๆ ควบคู่ กับการใช้ เทคโนโลยีเพือการเรียนรู ้ การปฏิ รูปการศึก ษา มุ่ งเน้ นให้ ผู ้ เรี ยนเป็ นศูนย์ กลางการเรี ยน แทนทีครู จะเป็ นผู ้ มี บทบาทสํา คัญเพี ยงอย่ างเดี ยว ส่วนหนึงของการปฏิ รูป การศึก ษา คื อการสร้ างโอกาสให้ แ ก่ ผู ้ เรียนเข้ าถึงแหล่งข้ อมูล แหล่งความรู ้ ได้ มากและสะดวกขึ น ดังนั นการปฏิ รูปการศึกษาจึงต้ อง ใช้ ระบบเครือข่ายอินเทอร์ เน็ตเข้ ามามีบทบาทในการจัดการเรียนรู ้ การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศทําให้ เกิดระบบการเรี ยนการสอนทางไกล ซึงผู ้ เรี ยนและ ผู ้ สอนสามารถตอบโต้ กันได้ แม้ ว่าจะอยู่ห่างกัน ผู ้ เรียนสามารถส่งการบ้ านทางอินเทอร์ เน็ตได้ ครู สามารถตรวจงานให้ คะแนนได้ แม้ กระทังการชี แนะด้วยไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) หรื อ ใช้ ระบบกระดานข่าว (Bulletin Board System) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเครือข่ายมีบทบาทสําคัญยิงในการเรียนรู ้ มหาวิทยาลัยชั น นําของต่างประเทศ เช่น ญีปุ ่ น ฮ่องกง สิงค์ โปร์ ให้ ความสําคัญอย่างยิงกับการใช้ เทคโนโลยี ทางการศึกษา การนําเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือสารสามารถใช้ ในด้ านการศึกษา จะช่วย พัฒนาการเรียนรู ้ และอํานวยความสะดวกในด้ านการสอนและแหล่งการเรี ยนรู ้ ได้ ตลอดเวลา ไม่ มี ข้ อ จํ า กั ด ในด้ า นสถานที การสอนโดยใช้ ร ะบบสารสนเทศจะจัด การเรี ย นรู ้ ได้ ต ามความ แตกต่างของผู ้ เรียน ระบบการเรียนรู ้ ทีใช้ ในด้ านการศึกษามีหลายระบบ เช่น E-learning, e – Book, e – Library และ e – Classroom การจัดการเรี ย นรู ้ โ ดยใช้ เ ทคโนโลยี และสารสนเทศในการเรี ย นรู ้ เป็ นการเปิ ดโอกาส ทางการศึกษาทีทําให้ คุณเรี ยนรู ้ โดยไม่มีข้อจํากัดในประเด็นต่าง ๆ เพียงแต่ผู ้ เรี ยนรู ้ ต้องศึ กษา วิธีการเพือเข้ าสู่ระบบทีต้ องการให้ ถูกต้ อง การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรี ยนรู ้ ในโลกปั จ จุบันพบว่ าความต้ อ งการเกี ยวกับตัวผู ้ เรี ยนเพิ มมากขึ น เพราะว่ าทีผ่านมา อาจจะมี การตอบสนองต่ อ การเรี ย นแบบท่ อ งจํา มามากแล้ ว แต่ใ นปั จ จุบัน ในสภาพชี วิต จริ ง ต้ องการบุคคลในสังคมทีมี ความสามารถในการใช้ ทักษะการให้ เหตุผลในระดับทีสูงขึ นในการ
  • 10. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสือการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจักร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น แก้ ปัญหาทีซับซ้ อน ซึงพบว่าความสามารถในทักษะดังกล่า วทีจะนํา มาใช้ ใ นการแก้ ปัญหาไม่ ค่อยปรากฏให้ เห็น หรื อมี อยู่น้ อยมาก ในปั จ จุบันจะพบว่า ทุก ๆ คนไม่ว่ าจะเป็ นผู ้ ทีทํา งานใน โรงงานประกอบเครืองจักรตามสายพานหรือทํางานทีต้ องร่วมกันคิดเป็ นทีม ต่างล้ วนจําเป็ นต้ อง มี ทั ก ษะการแก้ ปั ญ หาด้ วยกัน ทั งหมด ซึ งนันหมายความว่ า แนวความคิ ด เกี ยวกั บ การจั ด การศึก ษาต้ อ งเปลียนไป ดังที Driscoll (1994) กล่าวว่า อาจจะต้องเปลี ยนจากแนวคิ ดที ว่ า ผู้เรี ยนเป็ นภาชนะที ว่างเปล่าที รอรับการเติ มให้เต็ม มาคิ ดว่า ผู้เรี ยนเป็ นสิ งมี ชีวิตที มี ความตื นตัว กระฉับกระเฉงและค้นหาความหมายของสิ งต่างๆ ซึ งขณะนี ผู้เรี ยนจะถู กมองว่าเป็ นผู้ทีมี ส่ว น ร่ วมอย่างตื นตั วในการเรี ยนรู้ คิ ดค้นหาวิ ธีที จะวิ เคราะห์ ตั งคําถาม อธิ บายและทํ าความเข้าใจต่อ สิ งแวดล้อมที เปลี ยนแปลงตลอดเวลา ดัง นั น ในการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื อการเรี ยนการสอน ผู ้ สอนควรจะ ศึกษาเทคนิค วิธีการ เทคโนโลยีต่างๆ ทีจะนํามาใช้ เพือช่วยให้ ผู ้ เรี ยนได้ รับความรู ้ ใหม่ ซึงแต่เดิม มักเป็ นการสอนให้ ผู ้ เรียนเรียนโดยเน้ นการท่องจํา และปรับเปลียนมาสู่การใช้ เทคนิควิธีการทีจะ ช่ ว ยผู ้ เ รี ย นได้ รั บ ข้ อ เท็ จ จริ ง ได้ อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ได้ แก่ การใช้ เทคนิ ค ช่ ว ยการจํ า เช่ น Mnemonics เป็ นต้ น รวมทั งการจัดการสอนทีเน้ นครูเป็ นศูนย์ กลางอาจนําไปใช้ ให้ เกิดประโยชน์ ได้ เช่นกัน อย่างไรก็ตามสิงทีสําคัญและเป็ นความต้ องการของการศึกษาในขณะนี คือ การสอนที ผู ้ เรี ยนควรได้ รับคือ ทัก ษะการคิดในระดับ สูง (Higher-order thinking skills) ได้ แก่ การคิ ด วิเคราะห์ สั งเคราะห์ ตลอดจนการแก้ ปัญหา และการถ่ายโอน (Transfer) โดยเน้ นการใช้ วิธีการ ต่าง ๆ อาทิ สถานการณ์ จํ าลอง การค้ น พบ การแก้ ปัญหา และการเรี ยนแบบร่ วมมือ สํา หรั บ ผู ้ เรียนจะได้ รับประสบการณ์การแก้ ปัญหาทีสอดคล้ องกับสภาพชีวิตจริง สําหรับการนํ าเทคโนโลยี สารสนเทศมาบูรณาการในการจัด การเรี ย นรู ้ ผู ้ เขี ยนจะขอ นําเสนอใน รูปแบบต่างๆ ดังต่อไปนี คือ 1. สิ งแวดล้ อมทางการเรี ยนรู ้ เป็ นการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการ เรียนรู ้ ทีนําทฤษฎีการเรียนรู ้ มาเป็ นพื นฐานการออกแบบร่ วมกับสือหรื อเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึง หลอมรวมทั งสองสิ งเข้ าไว้ ด้ วยกั น ที ประกอบด้ วยสถานการณ์ ปัญหาทีกระตุ ้ น ให้ ผู ้ เรียนเรียนรู ้ แหล่งการเรี ยนรู ้ ชนิดต่างๆ ที จั ด เตรี ย มไว้ สํ า หรั บ ให้ ผู ้ เรี ย นค้ นหา คํ า ต อบ มี ฐ า นกา รช่ ว ยเห ลื อ ไ ว้ คอ ย สนั บ สนุ น ผู ้ เรี ย นในกรณี ที ไม่ ส ามารถ แก้ ปั ญหาได้ ตลอดจนการเรี ย นรู ้ แบบ ร่ ว มมื อกันแก้ ปั ญหาที สนับสนุน ให้ ผู ้ เ รี ย น
  • 11. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสือการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจักร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น ขยายมุมมองแนวคิดต่างๆ สิงแวดล้ อมทางการเรี ยนรู ้ ในปั จจุบันสามารถแยกตามคุณลักษณะ ของสือได้ 3 รูปแบบ คือ (1) สิงแวดล้ อมทางการเรียนรู ้ บนเครื อข่าย (2) มัลติมีเดียทีพัฒนาตาม แนวคอนสตรัคติวิสต์ (3) ชุดการสร้ างความรู ้ ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 2. การเรี ยนรู ้ แบบออนไลน์ (E-learning) การเรียนรู ้ แบบออนไลน์ หรือ E-learning การเรียนรู ้ แบบออนไลน์เป็ นการศึกษา เรี ยนรู ้ ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเทอร์ เน็ต (Internet) หรืออินทราเน็ต (Intranet) เป็ นการเรี ยนรู ้ ด้วย ตัวเอง ผู ้ เรี ยนจะได้ เรี ยนตามความสามารถและความสนใจของตน โดยเนื อหาของบทเรี ยนซึง ประกอบด้ วย ข้ อความ รู ป ภาพ เสีย ง วิ ดีโอและมัลติ มีเดี ยอืนๆ จะถูกส่งไปยังผู ้ เรี ย นผ่า นเว็ บ เบราว์ เซอร์ ( Web Browser) โดยผู ้ เ รี ยน ผู ้ สอน และเพือนร่ ว มชั นเรี ย นทุก คน สามารถติดต่ อ ปรึกษา แลกเปลียนความคิดเห็นระหว่างกันได้ เช่นเดียวกับการเรี ยนในชั นเรี ยนปกติ โดยอาศัย เครื องมือการติดต่อสือสารทีทันสมัย สําหรับทุกคนทีสามารถเรี ยนรู ้ ได้ ทุกเวลา และทุกสถานที (Learn for all : anyone, anywhere and anytime) ซึงการให้ บริ การการเรี ยนแบบออนไลน์ มี องค์ ประกอบทีสําคัญ 4 ส่วน โดยแต่ละส่วนจะต้ องได้ รับการออกแบบเป็ นอย่า งดี เพราะเมื อ นํามาประกอบเข้ าด้ วยกันแล้ วระบบทั งหมดจะต้ องทํางานประสานกันได้ อย่างลงตัวดังนี 1) เนื อหาของบทเรียน 2) ระบบบริหารการเรียน ทําหน้ าทีเป็ นศูนย์กลาง กําหนดลําดับของเนื อหาในบทเรี ยน เราเรี ยกระบบนี ว่าระบบบริ หารการเรี ยน (E-Learning Management System: LMS) ดังนั น ระบบบริ ห ารการเรี ย นจึงเป็ นส่ว นที เอื ออํ านวยให้ ผู ้ เ รี ยนได้ ศึก ษาเรี ย นรู ้ ได้ ด้ ว ยตนเองจนจบ หลั กสู ตร 3) การติดต่อ สือสาร การเรี ยนแบบ E-learning นํารู ปแบบการติด ต่อสือสารแบบ 2 ทาง มาใช้ ประกอบในการเรียน โดยเครืองมือทีใช้ ในการติดต่อสือสารอาจแบ่งได้ เป็ น 2 ประเภท คือ ประเภทReal-time ได้ แก่ Chat (message, voice), White board/Text slide, Real-time Annotations, Interactive poll, Conferencing และอืนๆ ส่วนอีกแบบคือ ประเภท Non real- time ได้ แก่ Web-board, E-mail 3. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-books) เป็ นคําที ใช้ ในการอธิ บายตัวอักษรทีมีลักษณะคล้ ายคลึงกับหนังสือ อยู่ในรู ปแบบดิ จิตัล โดยแสดงให้ เห็นบนจอคอมพิวเตอร์ เป็ นหนังสือถูกนํ ามาจัดพิ มพ์ ในรู ปแบบดิจิ ตอล ไม่ บังคับการพิมพ์ และการเข้ าเล่ม แผ่นซีดีรอมสามารถจัดเก็บข้ อมูลได้ จํานวนมากในรู ปแบบของ ตัวอักษร ทั งลั กษณะภาพดิจิตอล ภาพอนิเมชัน วิดีโอ ภาพเลือนไหวต่อเนือง คําพูด เสียงดนตรี และเสียงอืนๆ ทีประกอบตัว อัก ษรเหล่านั น มูลค่า ของการจํา ลองลงบนแผ่นจานข้ อมูลเสีย ง (Optical disc) เพียงแค่เป็ นเศษส่วน ของการจัดพิมพ์และการห่อหนังสือในขณะทีมีความจําเป็ น
  • 12. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสือการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจักร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น ทีจะต้ องมีฮาร์ ดแวร์ ในการอ่านหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ และขณะนี มีราคาหลายระดับ ลักษณะ ของซอฟต์ แ วร์ ที เพิ มเป็ นแบบไฮเปอร์ มี เดี ย (Hypermedia) สามารถแสดงผลของการค้ น หา ตัวอักษรได้ เชือมต่อกับไฮเปอร์ เท็กซ์ มีคําแนะนําที สามารถอธิบายศัพท์เป็ นระบบออนไลน์ และ อาจมีหมายเหตุตรงขอบ เป็ นต้ น 4. ห้ องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E-library) มาจากคําว่า Electronic Library หรือห้ องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง แหล่งความรู ้ ที บันทึกข้ อมูลไว้ ในเครืองคอมพิวเตอร์ แม่ข่ายและให้ บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์หรื อผ่าน เครื อ ข่ายอิ นเทอร์ เน็ ต ในลักษณะผสมผสานการทํางานของระบบห้ องสมุดอัตโนมัติห้อ งสมุด ดิจิตอลและห้ อง (นํ าทิพย์วิภาวิน, 2545) ในปั จจุบันสัง คมไทยเราอยู่ในยุคข่าวสาร ทําให้ มีการกระจายข้ อมูลข่าวสารได้ อย่า ง ดังนั นห้ องสมุดจึงต้ องเปลียนแปลงระบบการทํางานด้ านต่างๆ โดยเฉพาะงานด้ านบริ การจะมี บทบาทที เด่ น ชัด ความต้ อ งการของผู ้ ใ ช้ บ ริ ก ารจึง เป็ นแรงผลัก ดัน ให้ ห้ อ งสมุ ด เปลี ยนการ ให้ บริ การงานห้ องสมุดมาเป็ นระบบอัตโนมัติ เทคโนโลยีของห้ องห้ องสมุดอิเล็กทรอนิ กส์ มี ดังนี (วาสนา อภิญญาวงศ์ 2538) 1. การจั ด การเอกสารอิ เ ล็ก ทรอนิ ก ส์ เพื อประโยชน์ ใ นการรวบรวมและจั ด เก็ บ สารสนเทศ และสะดวกในการบริ การส่งสารสนเทศแก่ผู ้ ใช้ ทรัยพากรสารสนเทศของห้ องสมุด เสมื อ นจํ า เป็ นต้ อ งอยู่ ใ นรู ป ของอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ เ พื อสะดวกในการจัด เก็ บ และสื บ ค้ น ข้ อ มู ล ตลอดจนการส่ ง ข้ อ มู ลระยะไกล เป็ นการเปลี ยนรู ป แบบสิงพิ ม พ์ แ บบเดิ ม ให้ อ ยู่ ใ นรู ป ของ อิเ ล็ก ทรอนิ กส์ ทีเครื องคอมพิว เตอร์ สามารถอ่ านได้ ทํ า ได้ โ ดยการจัด เก็บ ในรู ปดิ จิ ตัล ได้ แ ก่ ซีดีรอม หรือจัดเก็บในฮาร์ ดดิสต์ 2. ระบบเครือข่าย เพือเชือมโยงเครือข่ายของห้ องสมุดกับผู ้ ใช้ และแหล่งสารสนเทศอืน ๆ ทําให้ ผู ้ ใช้ สามารถติดต่อกับห้ องสมุดและแหล่งสารสนเทศ อืน ๆได้ ทัวโลก 3. การส่งเอกสารสารสนเทศแก่ผู ้ ใช้ เพือให้ ผู ้ ใช้ ได้ รับสารสนเทศทีต้ องการโดยไม่ต้อง มายังห้ องสมุด มี 4 วิธีการคือ ทางไปรษณีย์, จดหมายอิเล็กทรอนิกส์, โทรสาร และทางอินเตอร์ 5. แผนการจัดการเรี ยนรู ้ เป็ นการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในขั นตอนต่างๆ ของแผนการจัดการเรียนรู ้ ทียึดหลั กการบูรณาการทีเน้ นผู ้ เป็ นสําคัญโดยใช้ เทคโนโลยีเข้ ามาสาง เสริม สนับสนุนและพัฒนาศักยภาพการเรียนรู ้ ของผู ้ เรี ยน ซึงมีกรอบแ วคิดในการจัดการเรี ยนรู ้ น ดังนี
  • 13. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสือการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจักร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น กรอบแนวคิดในการจัดกระบวนการเรี ยนรู ้  เชือมโยงความรู้เดิ มกั บความรู้ ตั งประเด็ นคําถาม สํารวจ ค้ นหา เสาะแสวงหาความรู้  มอบหมายภารกิ จการเรียนรู้ ทดลอง  เปิ ดโอกาสให้ผ ู้เรียนสืบค้นสารสนเทศจากแหล่งเรียนรู้  เปิ ดโอกาสให้ผ ู ้เรียนแลกเปลียนความรู้ระหว่างกั น  นําความรู้ทีได้ร ั บมาสร้างเป็ นผลงาน  ผู ้เรียนนําเสนอผลงานหรือความรู้ทีได้  ร่วมกั นสรุปบทเรียน กรอบแนวคิดในการจัดกระบวนการเรียนรู ้ ทีบูรณาการICT (สุ มาลี ชัยเจริญ, 2548) จากกรอบแนวคิดในการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดการเรี ยนรู ้ แสดงให้ เห็นถึง ความสัมพันธ์ ระหว่ างวิธี การจัด การเรี ยนรู ้ (Method) ร่ วมกับ สือ(Media) ซึงในทีนี ก็คื อ เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น คอมพิวเตอร์ อินเทอร์ เน็ต วีดิทัศน์ ฯลฯ การการเลือกวิธีการจะต้ อง อยู่ บ นพื นฐานของการเรี ย นรู ้ ที เน้ น ผู ้ เรี ย นเป็ นสํา คัญและเลือ กใช้ สือให้ สนองต่อ การั บรู ้ ของ ร ผู ้ เรียน ดังกรอบแนวคิดข้ างต้ น ในขั นแรกทีเป็ นการเชือมโยงความรู ้ เดิมกับความรู ้ ใหม่ผู ้ สอนอาจ กระตุ ้ นให้ ผู ้ เรี ยนใส่ใจหรื อกระตุ ้ น ประสบการณ์ เดิม โดยใช้ สือพวกวีดิ ทัศน์ และตั งคําถามทีให้ ผู ้ เรี ย นสามารถเรี ย กกลั บ ประสบการณ์ เ ดิ ม เหล่ า นั นมาใช้ ในการเรี ย นรู ้ สิ งใหม่ ขั นจั ด ประสบการณ์ เรี ยนรู ้ ตั งแต่ขั นที เทคโนโลยีสารสนเทศทีสามารถสนับสนุนการแสวงหาและ 2-5 ค้ นพบความรู ้ เช่น อินเทอร์ เน็ต เป็ นต้ น ในการสร้ างและนําเสนอผลงานผู ้ สอนอาจให้ ผู ้ เรี ยนใช้ โปรแกรมประยุก ต์ คอมพิว เตอร์ เช่น MSWord MSPower point เป็ นต้ น และอาจใช้ Social media ในการแลกเปลียนแนวคิด ติดต่อสือสารระหว่างผู ้ เรียนอืนๆได้ อีกด้ วย
  • 14. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสือการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจักร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น แหล่ งเรี ยนรู ้ อ่านเพิ มเติม ครรชิด มาลัยวงค์. (2538). ก้ าวไกลไปกับคอมพิวเตอร์ : สาระของคอมพิวเตอร์ ที ข้ าราชการต้ องรู .้ กรุงเทพฯ: ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาติ. ทักษิ ณา สวนานนท์. (2543). พจนานุกรมศัพท์ คอมพิวเตอร์ ใน Thai Software Dictionary version 3.1. กรุงเทพฯ : ไทยซอร์ ฟแวร์ เอ็นเตอร์ ไพรส. ทักษิ ณา สวนานนท์ และฐานิศรา เกียรติบารมี. (2546). พจนานกรมศัพท์ คอมพิวเตอร์ และอินเตอร์ เน็ต. (พิมพ์ครั งที10). กรุงเทพฯ: วี.ทีซ.ี คอมมิวนิเคชัน. Jimba,S.W. (1999). Information technology and underdevelopment the Third World. Library Review. คําถามสะท้ อนความคิด  ท่านคิดว่าเทคโนโลยีสารสนเทศทีสอดคล้ องกับสาระการเรี ยนรู ้ วิชาเอกของท่านคือนวัตกรรมใด เพราะอะไร  ท่านคิด ว่าเทคโนโลยีสารสนเทศสามารถลดข้ อ จํากัดด้ านการ เรียนการสอนของครูและนักเรียนอย่างไร  ท่า นคิด ว่ าเทคโนโลยี สารสนเทศลักษณะใดที มีค วามเหมาะสมกับ การเรี ย นรู ้ ใ นยุค ปั จจุบัน เพราะอะไร กิจกรรมแนะนํา ให้ ท่ านลองเสนอแผนการจัด การเรี ยนรู ้ หรื อออกแบบสือการเรี ยนรู ้ ทีใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศไปเป็ นพื นฐานเพื อใช้ ในการเรี ยนรู ้ ในสาระวิ ชาที ท่านรับผิดชอบ โดยนวัตกรรมทีสร้ า งนั นจะต้ องส่งเสริ มกระบวนการคิ ด การแสวงหาความรู ้ และสนับสนุนเปาหมายรายวิชาตามหลั กสู ตร ้ บรรณานุกรม นํ าทิพย์วิภาวิน. (2545). e-library. กรุงเทพฯ : เอส อาร์ พริ นติ ง แมสโปรดักส์. วาสนา อภิ ญญาวงศ์ .(2538). “Virtual Library” ข่าวสารห้ องสมุดในจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย 11, 3-4 (พฤษภาคม – สิงหาคม): 26-29.
  • 15. เอกสารประกอบการสอนวิชา 230301 เทคโนโลยีและสือการศึกษา ดร.อิศรา ก้ านจักร คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น สมเด็จพระเทพกับงานไอทีเฉลิมพระเกียรติ. (2538). เทคโนโลยีสารสนเทศก้ าวไกล เศรษฐกิจไทยมั นคง. กรุงเทพฯ สุมาลี ชัยเจริ ญ. (2548). เอกสารประกอบการอบรมการบูรณาการ ICT ในการจัดการเรี ยนรู ้. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลั ยขอนแก่น เอกสารอัดสําเนา Souter, D. (1999). The role information and communication technologies democratic development. The Journal of Policy, Regulation and Strategy for Telecommunications Information and Media, 1,5, 405-417. Driscoll, M. P. (1994). Psychology of learning for instruction. Boston: Allyn and Bacon.