SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 19
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ ระบบนิเวศประกอบด้วยปัจจัยทางกายภาพและปัจจัยทางชีวภาพที่หลากหลาย ดังนั้นจึงเกิดความสัมพันธ์ระหว่างกันหลายรูปแบบในระบบนิเวศหนึ่งๆแต่สามารถแบ่งได้เป็น  2  ลักษณะ คือ  1.   ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางชีวภาพ 2.   ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางชีวภาพ “ ปัจจัยทางชีวภาพ”  หมายถึง ปัจจัยในระบบนิเวศที่มีชีวิต เช่น สิ่งมีชีวิตทั้งที่เป็นชนิดเดียวกันและที่ต่างชนิดกัน -  ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางชีวภาพจะมี  “ลักษณะการเกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ในความสัมพันธ์”  เป็น  3  ลักษณะ ได้แก่  การได้ประโยชน์   ( แทนด้วยสัญลักษณ์  +),  การเสียประโยชน์   ( แทนด้วยสัญลักษณ์  - )  และ การไม่ได้และไม่เสียประโยชน์   ( แทนด้วยสัญลักษณ์  0 )
1.  ภาวะพึ่งพากัน  ( Mutualism ) -  ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันที่มาอยู่ร่วมกันโดยที่ ทั้ง   2  ฝ่ายได้ประโยชน์  ( +,+ )   และต้อง “ อยู่ร่วมกันตลอดเวลา ”  ( พลัดพรากจากกันแล้วทำให้สิ่งมีชีวิตทั้ง  2  ฝ่ายตาย )  -  เช่น  ความสัมพันธ์ระหว่างปลวกกับโปรโตซัว  Trichonympha  sp.  ที่อาศัยในทางเดินอาหารของปลวก
-  “ ไลเคนส์”   ( Lichens )  คือ  ความสัมพันธ์ระหว่างราผู้ให้ความชื้นกับสาหร่ายสีเขียวผู้ผลิตอาหาร   -  ความสัมพันธ์ระหว่างพืชวงศ์ถั่วกับแบคทีเรีย  Rhizobium  sp.   ที่อาศัยอยู่ในปมของรากพืชวงศ์ถั่วซึ่งช่วยนำธาตุไนโตรเจนให้
2.  ภาวะได้ประโยชน์ร่วมกัน  ( Protocooperation ) -  ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันที่มาอยู่ร่วมกันโดยที่ ทั้ง   2  ฝ่ายได้ประโยชน์  ( +,+ )   แต่  “ไม่จำเป็นต้องอยู่ด้วยกันตลอดเวลา”   -  เช่น  ความสัมพันธ์ระหว่างนกเอี้ยงกับกระบือ
-  ความสัมพันธ์ระหว่างดอกไม้ที่ต้องการถ่ายละอองเรณูกับแมลง  ( ผึ้ง )   ที่ต้องการน้ำหวานเป็นแหล่งพลังงาน -  ความสัมพันธ์ระหว่างปลาการ์ตูนกับดอกไม้ทะเล
3.  ภาวะอิงอาศัย  ( Commensalism ) -  ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันที่มาอยู่ร่วมกันโดยฝ่ายหนึ่ง ได้ประโยชน์ แต่อีกฝ่ายไม่ได้และไม่เสียประโยชน์อันใด  ( +,0 ) -  เช่น  ความสัมพันธ์ระหว่างปลาฉลามกับปลาเหาฉลามที่เกาะติดที่ผิวของปลาฉลาม แต่ไม่ทำอันตรายใดๆ
-  ความสัมพันธ์ระหว่างกล้วยไม้กับต้นไม้ใหญ่ที่กล้วยไม้เกาะ -  ความสัมพันธ์ระหว่างต้นไม้ใหญ่กับนกกระจาบที่ทำรังอยู่บนต้นไม้ใหญ่
4.  ภาวะล่าเหยื่อ  ( Predation ) -  ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันที่มาอยู่ร่วมกันโดยฝ่ายหนึ่ง ได้ประโยชน์ในฐานะ “ผู้ล่า”  ( Predator )  แต่อีกฝ่ายเสียประโยชน์ในฐานะ “เหยื่อ”  ( Prey ) ( +,- ) -  เช่น  ความสัมพันธ์ระหว่างเสือในฐานะผู้ล่ากับกวางในฐานะเหยื่อ
-  ความสัมพันธ์ระหว่างต้นกาบหอยแครงในฐานะผู้ล่ากับหนอนแมลงในฐานะเหยื่อ -  ความสัมพันธ์ระหว่างวัวในฐานะผู้ล่ากับต้นหญ้าในฐานะเหยื่อ
5.  ภาวะปรสิต  ( Parasitism ) -  ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันที่มาอยู่ร่วมกันโดยฝ่ายหนึ่ง ได้ประโยชน์ในฐานะ “ปรสิต”  ( Parasite )  คอยเกาะและอาศัยอีกฝ่ายที่เสียประโยชน์  ( +,- ) -  เช่น  ความสัมพันธ์ระหว่างสุนัขกับเห็บสุนัขในฐานะเป็นปรสิตภายนอก
-  ความสัมพันธ์ระหว่างต้นไม้ใหญ่กับต้นกาฝากในฐานะปรสิตภายนอก -  ความสัมพันธ์ระหว่างวัวและมนุษย์กับพยาธิตัวตืด  ( Tapeworm )   ในฐานะปรสิตภายใน
6.  ภาวะแก่งแย่งแข่งขัน  ( Competition ) -  ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันหรือชนิดเดียวกันที่มาอยู่ร่วมกันโดย ทั้ง  2  ฝ่ายเสียประโยชน์เนื่องจากการแย่งและเฉลี่ยสัดส่วนการใช้ทรัพยากรต่อการดำรงชีวีต  (- ,- ) -  เช่น  ความสัมพันธ์ระหว่างสิงโตกับไฮยีนาที่แข่งขันกันเพื่อแก่งแย่งเนื้อสัตว์เป็นอาหาร
-  ความสัมพันธ์ระหว่างเพรียง  Balanus  sp.  ( ภาพซ้าย )   กับเพรียง  Chthamalus  sp.  ( ภาพขวา )  ที่แข่งขันกันเพื่อแก่งแย่งพื้นที่โขดหินในการเกาะ
7.  ภาวะกีดกัน  ( Amensalism ) -  ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันที่มาอยู่ร่วมกันโดย ฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์เนื่องจากการดำรงชีวิตของอีกฝ่ายหนึ่งที่ไม่ได้และไม่เสียผลประโยชน์ใดๆ  ( 0,- ) -  เช่น  ความสัมพันธ์ระหว่างต้นไม้ใหญ่กับต้นไม้เล็กที่เจริญใต้ร่มเงากิ่งก้านของต้นไม้ใหญ่
-  บางครั้งสิ่งมีชีวิตที่ไม่ได้และไม่เสียประโยชน์ในความสัมพันธ์นี้อาจจะสร้าง  “สารยับยั้งการเจริญเติบโต”  ของสิ่งมีชีวิตที่เสียประโยชน์ เรียกว่า  “ภาวะการหลั่งสารยับยั้งการเจริญ”   ( Antibiosis )  เช่น  ความสัมพันธ์ระหว่างรา  Penicillium  sp.  ที่สร้างสารเพนิซิลลินยับยั้งการเจริญของแบคทีเรีย  Staphylococcus  sp. Penicillium  sp. Staphylococcus  sp.
8.  ภาวะมีการย่อยสลาย  ( Saprophytism ) -  ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันที่มาอยู่ร่วมกันโดย ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ในฐานะ “ผู้ย่อยสลาย”  ( Decomposer )  ส่วนอีกฝ่ายไม่ได้และไม่เสียประโยชน์เนื่องจากกลายเป็น “ซากอินทรีย์”  ( +,0 ) -  เช่น  ความสัมพันธ์ระหว่างซากขอนไม้กับเห็ดถ้วยที่กำลังย่อยสลายซากขอนไม้ด้วยเอนไซม์ที่เห็ดสร้างขึ้น
9.  ภาวะเป็นกลาง  ( Neutralism ) -  ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันที่มาอยู่ร่วมกันโดย ทั้ง  2  ฝ่ายต่างไม่ได้และไม่เสียประโยชน์อันใด  ( 0,0 ) -  เช่น  ความสัมพันธ์ระหว่างกวางกับนกฮูกที่ไม่มีความเกี่ยวข้องในด้านทรัพยากรจำเป็นเลย
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ “ ปัจจัยทางกายภาพ”  หมายถึง ปัจจัยในระบบนิเวศที่ไม่มีชีวิตซึ่งมีอยู่ทั้งภายนอกและภายในสิ่งมีชีวิต ตัวอย่างเช่น  อุณหภูมิ   ( Temperature ),  แสง   ( Light ),  ความชื้น   ( Moisture ),  ก๊าซชนิดต่างๆ   ( Gases ),  แร่ธาตุในดิน   ( Mineral in soil ),  ความเป็นกรด - เบสในดิน   ( Acidity in soil )  ฯลฯ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสงพัน พัน
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนWichai Likitponrak
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3Mew Meww
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่npapak74
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์Maikeed Tawun
 

La actualidad más candente (20)

การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒน
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
 

Destacado

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศพัน พัน
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศSaran Srimee
 
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศgasine092
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศWan Kanlayarat
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpointsupamitr
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0...
 ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0... ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0...
ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0...Prachoom Rangkasikorn
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์Nokko Bio
 
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยาชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยาI'mike Surayut
 
สิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตtarcharee1980
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตพัน พัน
 
Biotic components of an ecosystem
Biotic components of an ecosystemBiotic components of an ecosystem
Biotic components of an ecosystemElm93
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายTa Lattapol
 
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1Wichai Likitponrak
 

Destacado (20)

ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0...
 ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0... ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0...
ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0...
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์
 
พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์พฤติกรรมของสัตว์
พฤติกรรมของสัตว์
 
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยาชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
ชีววิทยา สิ่งมีชีวิต หลักการทางชีวะวิทยา
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
สิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
Biotic components of an ecosystem
Biotic components of an ecosystemBiotic components of an ecosystem
Biotic components of an ecosystem
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 

Similar a ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3

Similar a ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3 (16)

Random 100704050224-phpapp01
Random 100704050224-phpapp01Random 100704050224-phpapp01
Random 100704050224-phpapp01
 
Random 100704050224-phpapp01 2
Random 100704050224-phpapp01 2Random 100704050224-phpapp01 2
Random 100704050224-phpapp01 2
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
File[1]
File[1]File[1]
File[1]
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
Biology lernning 1
Biology lernning 1Biology lernning 1
Biology lernning 1
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
File
FileFile
File
 
03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf
03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf
03_ระบบนิเวศน์-สำเนา-1.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1.2
ใบความรู้ที่ 1.2ใบความรู้ที่ 1.2
ใบความรู้ที่ 1.2
 
Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 
บทที่ 21 ระบบนิเวศ
บทที่ 21 ระบบนิเวศบทที่ 21 ระบบนิเวศ
บทที่ 21 ระบบนิเวศ
 
Pw ecosystem
Pw ecosystemPw ecosystem
Pw ecosystem
 
ระบบนิเวศ 1
ระบบนิเวศ 1ระบบนิเวศ 1
ระบบนิเวศ 1
 
1
11
1
 

Más de Tatthep Deesukon

ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4Tatthep Deesukon
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3Tatthep Deesukon
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2Tatthep Deesukon
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1Tatthep Deesukon
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4Tatthep Deesukon
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2Tatthep Deesukon
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1Tatthep Deesukon
 

Más de Tatthep Deesukon (7)

ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต4
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต3
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต1
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม1
 

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม3

  • 1. ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ ระบบนิเวศประกอบด้วยปัจจัยทางกายภาพและปัจจัยทางชีวภาพที่หลากหลาย ดังนั้นจึงเกิดความสัมพันธ์ระหว่างกันหลายรูปแบบในระบบนิเวศหนึ่งๆแต่สามารถแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางชีวภาพ 2. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ
  • 2. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางชีวภาพ “ ปัจจัยทางชีวภาพ” หมายถึง ปัจจัยในระบบนิเวศที่มีชีวิต เช่น สิ่งมีชีวิตทั้งที่เป็นชนิดเดียวกันและที่ต่างชนิดกัน - ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางชีวภาพจะมี “ลักษณะการเกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ในความสัมพันธ์” เป็น 3 ลักษณะ ได้แก่ การได้ประโยชน์ ( แทนด้วยสัญลักษณ์ +), การเสียประโยชน์ ( แทนด้วยสัญลักษณ์ - ) และ การไม่ได้และไม่เสียประโยชน์ ( แทนด้วยสัญลักษณ์ 0 )
  • 3. 1. ภาวะพึ่งพากัน ( Mutualism ) - ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันที่มาอยู่ร่วมกันโดยที่ ทั้ง 2 ฝ่ายได้ประโยชน์ ( +,+ ) และต้อง “ อยู่ร่วมกันตลอดเวลา ” ( พลัดพรากจากกันแล้วทำให้สิ่งมีชีวิตทั้ง 2 ฝ่ายตาย ) - เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างปลวกกับโปรโตซัว Trichonympha sp. ที่อาศัยในทางเดินอาหารของปลวก
  • 4. - “ ไลเคนส์” ( Lichens ) คือ ความสัมพันธ์ระหว่างราผู้ให้ความชื้นกับสาหร่ายสีเขียวผู้ผลิตอาหาร - ความสัมพันธ์ระหว่างพืชวงศ์ถั่วกับแบคทีเรีย Rhizobium sp. ที่อาศัยอยู่ในปมของรากพืชวงศ์ถั่วซึ่งช่วยนำธาตุไนโตรเจนให้
  • 5. 2. ภาวะได้ประโยชน์ร่วมกัน ( Protocooperation ) - ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันที่มาอยู่ร่วมกันโดยที่ ทั้ง 2 ฝ่ายได้ประโยชน์ ( +,+ ) แต่ “ไม่จำเป็นต้องอยู่ด้วยกันตลอดเวลา” - เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างนกเอี้ยงกับกระบือ
  • 6. - ความสัมพันธ์ระหว่างดอกไม้ที่ต้องการถ่ายละอองเรณูกับแมลง ( ผึ้ง ) ที่ต้องการน้ำหวานเป็นแหล่งพลังงาน - ความสัมพันธ์ระหว่างปลาการ์ตูนกับดอกไม้ทะเล
  • 7. 3. ภาวะอิงอาศัย ( Commensalism ) - ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันที่มาอยู่ร่วมกันโดยฝ่ายหนึ่ง ได้ประโยชน์ แต่อีกฝ่ายไม่ได้และไม่เสียประโยชน์อันใด ( +,0 ) - เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างปลาฉลามกับปลาเหาฉลามที่เกาะติดที่ผิวของปลาฉลาม แต่ไม่ทำอันตรายใดๆ
  • 8. - ความสัมพันธ์ระหว่างกล้วยไม้กับต้นไม้ใหญ่ที่กล้วยไม้เกาะ - ความสัมพันธ์ระหว่างต้นไม้ใหญ่กับนกกระจาบที่ทำรังอยู่บนต้นไม้ใหญ่
  • 9. 4. ภาวะล่าเหยื่อ ( Predation ) - ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันที่มาอยู่ร่วมกันโดยฝ่ายหนึ่ง ได้ประโยชน์ในฐานะ “ผู้ล่า” ( Predator ) แต่อีกฝ่ายเสียประโยชน์ในฐานะ “เหยื่อ” ( Prey ) ( +,- ) - เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างเสือในฐานะผู้ล่ากับกวางในฐานะเหยื่อ
  • 10. - ความสัมพันธ์ระหว่างต้นกาบหอยแครงในฐานะผู้ล่ากับหนอนแมลงในฐานะเหยื่อ - ความสัมพันธ์ระหว่างวัวในฐานะผู้ล่ากับต้นหญ้าในฐานะเหยื่อ
  • 11. 5. ภาวะปรสิต ( Parasitism ) - ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันที่มาอยู่ร่วมกันโดยฝ่ายหนึ่ง ได้ประโยชน์ในฐานะ “ปรสิต” ( Parasite ) คอยเกาะและอาศัยอีกฝ่ายที่เสียประโยชน์ ( +,- ) - เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างสุนัขกับเห็บสุนัขในฐานะเป็นปรสิตภายนอก
  • 12. - ความสัมพันธ์ระหว่างต้นไม้ใหญ่กับต้นกาฝากในฐานะปรสิตภายนอก - ความสัมพันธ์ระหว่างวัวและมนุษย์กับพยาธิตัวตืด ( Tapeworm ) ในฐานะปรสิตภายใน
  • 13. 6. ภาวะแก่งแย่งแข่งขัน ( Competition ) - ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันหรือชนิดเดียวกันที่มาอยู่ร่วมกันโดย ทั้ง 2 ฝ่ายเสียประโยชน์เนื่องจากการแย่งและเฉลี่ยสัดส่วนการใช้ทรัพยากรต่อการดำรงชีวีต (- ,- ) - เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิงโตกับไฮยีนาที่แข่งขันกันเพื่อแก่งแย่งเนื้อสัตว์เป็นอาหาร
  • 14. - ความสัมพันธ์ระหว่างเพรียง Balanus sp. ( ภาพซ้าย ) กับเพรียง Chthamalus sp. ( ภาพขวา ) ที่แข่งขันกันเพื่อแก่งแย่งพื้นที่โขดหินในการเกาะ
  • 15. 7. ภาวะกีดกัน ( Amensalism ) - ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันที่มาอยู่ร่วมกันโดย ฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์เนื่องจากการดำรงชีวิตของอีกฝ่ายหนึ่งที่ไม่ได้และไม่เสียผลประโยชน์ใดๆ ( 0,- ) - เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างต้นไม้ใหญ่กับต้นไม้เล็กที่เจริญใต้ร่มเงากิ่งก้านของต้นไม้ใหญ่
  • 16. - บางครั้งสิ่งมีชีวิตที่ไม่ได้และไม่เสียประโยชน์ในความสัมพันธ์นี้อาจจะสร้าง “สารยับยั้งการเจริญเติบโต” ของสิ่งมีชีวิตที่เสียประโยชน์ เรียกว่า “ภาวะการหลั่งสารยับยั้งการเจริญ” ( Antibiosis ) เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างรา Penicillium sp. ที่สร้างสารเพนิซิลลินยับยั้งการเจริญของแบคทีเรีย Staphylococcus sp. Penicillium sp. Staphylococcus sp.
  • 17. 8. ภาวะมีการย่อยสลาย ( Saprophytism ) - ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันที่มาอยู่ร่วมกันโดย ฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ในฐานะ “ผู้ย่อยสลาย” ( Decomposer ) ส่วนอีกฝ่ายไม่ได้และไม่เสียประโยชน์เนื่องจากกลายเป็น “ซากอินทรีย์” ( +,0 ) - เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างซากขอนไม้กับเห็ดถ้วยที่กำลังย่อยสลายซากขอนไม้ด้วยเอนไซม์ที่เห็ดสร้างขึ้น
  • 18. 9. ภาวะเป็นกลาง ( Neutralism ) - ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันที่มาอยู่ร่วมกันโดย ทั้ง 2 ฝ่ายต่างไม่ได้และไม่เสียประโยชน์อันใด ( 0,0 ) - เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างกวางกับนกฮูกที่ไม่มีความเกี่ยวข้องในด้านทรัพยากรจำเป็นเลย
  • 19. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับปัจจัยทางกายภาพ “ ปัจจัยทางกายภาพ” หมายถึง ปัจจัยในระบบนิเวศที่ไม่มีชีวิตซึ่งมีอยู่ทั้งภายนอกและภายในสิ่งมีชีวิต ตัวอย่างเช่น อุณหภูมิ ( Temperature ), แสง ( Light ), ความชื้น ( Moisture ), ก๊าซชนิดต่างๆ ( Gases ), แร่ธาตุในดิน ( Mineral in soil ), ความเป็นกรด - เบสในดิน ( Acidity in soil ) ฯลฯ