SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 14
Descargar para leer sin conexión
รู ปแบบการเขียนอ้ างอิงและบรรณานุกรม

          การอ้างอง หมายถึง การบอกรายละเอียดของแหล่งสารนิเทศที่ใช้ อ้างอิงในการศึกษา
                      ิ
ค้ นคว้ า ซึงนําเสนอในรูปของรายงาน ภาคนิพนธ์ บทความ หนังสือวิชาการ และรายงานการวิจย
            ่                                                                                    ั
          ความสําคญของการอ้างอง
                          ั                  ิ
          1. เพ่ือให้ผ้ อานหรือผ้ ท่ีมาศกษาค้นคว้า สามารถตรวจสอบหรือตดตามศกษาเพมเตมได้
                                ู่         ู     ึ                           ิ        ึ     ่ิ ิ
          2. เพื่อให้ เกียรติแก่ผ้ แต่งสารนิเทศที่ใช้ อ้างอิง
                                         ู
          3. เพ่ือสร้างความนาเช่ือถือแกผลงาน ให้กบผ้ ท่ีได้อาน
                                       ่           ่       ั ู ่
          วิธีเขียนอ้ างอิงและบรรณานุกรม จะปรากฏอยูทงส่วนเนื ้อหาและท้ ายเล่ม คือ
                                                             ่ ั้
          1. ส่วนเนื อหา คอ รายการอ้างอง (Reference List) ซึงจะมีรูปแบบการอ้ างอิงที่ใช้ อยู่
                              ้      ื               ิ                  ่
                ท่วไป 3 แบบ ได้ แก่ แบบเชิงอรรถ แบบแทรกในเนื ้อหา และแบบอ้ างอิงท้ ายบท
                  ั
          2. ส่วนทายเล่ม คือ บรรณานุกรม
                            ้                             (Bibliography) ซึงได้ แก่ รายละเอียดของ
                                                                           ่
                แหล่งสารนิเทศที่ใช้ อ้างอิงในเนื ้อหาทุกรายการ ทังที่ปรากฏชัดเจนโดยเขียนอ้ างอิงไว้
                                                                    ้
                และสวนท่ีไมปรากฏชดเจน แตอาจจะเป็นเพียงการรวบรวมความคดหลายๆ แนว
                        ่          ่           ั       ่                            ิ
                แล้วนํามาเรียบเรียงใหม่
หมายเหตุ รูปแบบการเขียนอ้ างอิงและบรรณานุกรมในเอกสารนี ้ จะอ้ างอิงตามแบบ APA Style

วิธีเขียนอ้ างอิง
           1. การอ้ างอิงแบบเชิงอรรถ (Footnote)
           เป็นการอ้างองท่ีแยกการอ้างองออกจากเนื ้อหาโดยเดดขาด โดยให้อยสวนลางสดของ
                            ิ              ิ                    ็               ู่ ่ ่ ุ
หน้ากระดาษแตละหน้า ่
           2. การอ้างองท้ายบท
                          ิ
           เป็ นการอ้ างอิงที่สะดวก เนื่องจากไม่ต้องพะวงการกะระยะเนื ้อที่แต่ละหน้ าของบทนิพนธ์
เพื่อเผื่อเขียนอ้ างอิงเหมือนการอ้ างอิงแบบเชิงอรรถ เพราะการอ้ างอิงทังหมดจะไปรวมอยูหน้ า
                                                                         ้               ่
สุดท้ ายของแต่ละบท
           3. การอ้ างอิงแบบแทรกในเนื ้อหา
 เป็ นการอ้ างอิงที่อยูรวมกันกับเนื ้อหา ไม่แยกกันคนละส่วนเหมือนการอ้ างอิงแบบเชิงอรรถ
                        ่
หรือแบบการอ้างองท้ายบท ทําให้รูปแบบการอ้างองกะทดรัด และยืดหยนกวา เพราะสามารถ
                      ิ                              ิ   ั                 ุ่ ่
เขียนชื่อผู้แต่งให้ กลมกลืนไปกับเนื ้อหาได้ หรื อจะแยกใส่ไว้ ในวงเล็บก็ได้



      1 รูปแบบการเขียนอางอิงและบรรณานุกรม | อดุลยเ์ ดช ไศลบาท
                       ้
การอ้างองแบบแทรกในเนือหา (มหาวทยาลยบรพา, 2544; American Psychological
         ิ                                ้             ิ           ั ู
Association, 2001)
       หลกเกณฑ์การอ้างองแบบแทรกในเนื ้อหา
           ั                            ิ
       1. การอ้ างอิงจะมีชื่อผู้แต่ง และปี ที่พิมพ์ อยูในวงเล็บ แต่ถ้ามีชื่ออยูแล้ ว ให้ ใส่เฉพาะปี ที่
                                                                        ่              ่
               พิมพ์ในวงเล็บ เช่น
                     - ศักดิสิทธิ์ (2552) กลาววา การเปล่ียนแปลงของเปลือกโลก มกเก่ียวข้องกบ
                                  ์                       ่ ่                              ั         ั
                             แผ่นดินไหวที่เกิดขึ ้นอย่างรุนแรง
                     - เปลือกโลก ประกอบด้ วยแผ่นขนาดใหญ่ 6 - 10 แผน (ศักดิสิทธิ์, 2552)
                                                                                     ่   ์
       2. หลกเกณฑ์การลงรายช่ือผ้ แตง
                   ั                               ู ่
               2.1 คานําหน้าช่ือตามปกตให้ตดออก ได้แก่ นาย นาง นางสาว
                        ํ                           ิ ั
               2.2 ผู้แต่งที่มีฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ ยศทางตํารวจ ยศทางทหาร และตําแหน่ง
นกบวช นําหน้าช่ือ ให้คงไว้ตามปกติ โดยไมตดทิ ้งหรือย้ายท่ี เชน
 ั                                                          ่ ั             ่
                     - ม.ล. ป่ิ น มาลากล        ุ
                     - เจ้าพระยาธรรมศกดมนตรี      ั ์ิ
                     - คุณหญิงเต็มสิริ บุณยสิงห์
                     - พลตรี ม.ร.ว. คกฤทธิ์ ปราโมช
                                              ึ
                     - Sister Dorothy Smith
               2.3 ตาแหนงทางวชาการ (คาระบบอกอาชีพ) ให้ ตดทิ ้ง เช่น
                      ํ         ่           ิ        ํ ุ                      ั
                     - ศาสตราจารย์ ดร. วษณุ เครืองาม ลงวา วษณุ เครืองาม
                                                      ิ                   ่ ิ
                     - นายแพทย์ประเวศ วะสี ลงวา ประเวศ วะสี           ่
               2.4 ผ้ แตงชาวตางประเทศให้เขียนเฉพาะนามสกุล เชน
                          ู ่         ่                                         ่
                     - Smith R Solvey ลงวา Solvey.              ่
                     - Petit M Bretty                      ลงวา Bretty.
                                                                  ่
               2.5 หนังสือที่ออกในนามองค์กร สมาคม หรื อหน่วยงานต่างๆ สามารถใช้ ชื่อ
หน่วยงานนันเป็ นชื่อผู้แต่งได้ เช่น กองการสังคีต ธนาคารศรี นคร จํากัด เป็ นต้ น
             ้
               2.6 ถ้าผ้ แตงมี 2 คน ให้ ลงชื่อทังหมด ระหว่างชื่อให้ คนด้ วย “และ” หรือ “ &” แล้ ว
                            ู ่                              ้                    ั่
Comma (,) เชน    ่
                     - (สมศกด์ิ และอํานาจ, 2551)
                                    ั
                     - (Kosslyn & Barrett, 1996)



      2 รูปแบบการเขียนอางอิงและบรรณานุกรม | อดุลยเ์ ดช ไศลบาท
                       ้
2.7 ถ้าผ้ แตงมี 3-5 คน ในครังแรกที่ลงรายการอ้ างอิง ให้ ลงชื่อทังหมด และถ้ามีการ
                          ู ่                   ้                                ้
กล่าวซํ ้าให้ ลงเฉพาะชื่อคนแรก และใส่ “และคณะ” หรือ “et al.” และถ้าในยอหน้าเดยวกนมีการ
                                                                                     ่      ี ั
อ้างองมากกวา 1 ครัง ให้ ลงเฉพาะชื่อคนแรก และใส่ “และคณะ” หรือ “et al.” แต่ไม่ต้องลงปี ที่
      ิ         ่      ้
พมพ์ เชน
  ิ         ่
                   - (กมล, อํานาจ, สุชาติ, และศภกิจ, 2549) กรณีอ้างอิงครังแรก
                                                      ุ                            ้
                   - (กมล และคณะ, 2549 ) กรณีอ้างอิงครังที่ 2 ของบทความ แต่เป็ นครังแรก
                                                                  ้                            ้
                         ของยอหน้า
                                 ่
                   - (กมล และคณะ) กรณีอ้างอิงครังที่ 2 เป็ นต้ นไป ของย่อหน้ า
                                                            ้
               2.8 ถ้าผ้ แตงตงแต่ 6 คน ขึ ้นไป ให้ ลงเฉพาะชื่อคนแรก และใส่ “และคณะ” หรือ “et
                           ู ่ ั้
al.” เชน่
                                   ิ     ั ิ์ ุ ิ
                   - ปราณี วมณ, ศกดดา สวทย์, มณี ดวงแดง, ฉตร ดมาก, มณฤดี ศยากลป,
                                                                      ั ี                  ี ั ์
                         อุทิศ แสวงโชค, 2544 ลงเป็ น (ปราณี และคณะ, 2544)
                   - Smith, Jones, Bloggs, Ashe, Fauci, Wilson, 2000 ลงเป็ น (Smith et al.,
                         2000)
               2.9 ถ้ าผู้แต่งเป็ นองค์กรหรื อหน่วยงานที่มีตวย่อ ให้ กํากับตัวย่อไว้ ในวงเล็บเหลี่ยม
                                                                ั
ด้วย เชน  ่
                   - (สํานกงานพฒนาวทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแหงชาติ [สวทช], 2550) กรณี
                               ั       ั      ิ                           ่
                         อ้ างอิงครังแรก
                                     ้
                   - (สวทช, 2550) กรณีอ้างอิงครังที่ 2 เป็ นต้ นไป
                                                        ้
               2.10           ในกรณีที่ไม่สามารถหาสารนิเทศต้ นฉบับของวัสดุอ้างอิงได้ ให้ ระบุ
แหล่งสารนิเทศต้ นฉบับก่อน แล้ วตามด้ วยคําว่า “อ้ างถงใน” สําหรับสารนิเทศภาษาไทย และ “as
                                                              ึ
cited in” สําหรับสารนิเทศภาษาอังกฤษ เชน           ่
                   - สารนิเทศต้ นฉบับ คือ ทองฉัตร หงส์ทอง, 2517
                         สารนเิ ทศรอง คอ นวลจนทร์ ผองอําไพ, 2542
                                            ื       ั     ่
                         ลงเป็ น
                         (ทองฉัตร อ้ างถึงใน นวลจันทร์ , 2542)
                   - สารนิเทศต้ นฉบับ คือ Regier, A. A., Narrow, W. E., & Rae, D. S., 1990
                         สารนเิ ทศรอง คอ Coltheart, M., Curtis, B., Atkins, P., & Haller, M., 1993
                                          ื
                         ลงเป็ น
                         (Regier, Narrow, & Rae as cited in Coltheart, Curtis, Atkins, & Haller,
                         1993)
      3 รูปแบบการเขียนอางอิงและบรรณานุกรม | อดุลยเ์ ดช ไศลบาท
                       ้
สรุปหลักเกณฑ์ท่ วๆ ไปของการอ้างองทง 3 แบบ
                 ั                      ิ ั้
       1. เมื่อตัดสินใจเลือกใช้ การอ้ างอิงแบบใด ให้ ใช้ แบบนันไปจนจบบทนิพนธ์เรื่ องนันๆ จะ
                                                              ้                       ้
          ใช้ หลายๆ แบบผสมกันไม่ได้ อีกทังจะต้ องเป็ นแบบเดียวกันกับบรรณานุกรม
                                             ้
       2. รายชื่อวัสดุอ้างอิงทังหมด จะต้ องไปปรากฏอยูในบรรณานุกรม จะขาดไปไม่ได้ แม้ แต่
                               ้                          ่
          รายการเดยว ี

รูปแบบการลงรายการอ้ างอิง (นงเยาว์, 2548)
         ในการทําวิจยหรื อวิทยานิพนธ์นน ขันตอนหนึงที่มีความสําคัญอย่างยิ่งคือ การทบทวน
                      ั                     ั้ ้           ่
วรรณกรรม เพื่อให้ ทราบว่าเรื่ องที่กําลังจะดําเนินการนัน มีงานวิจยเรื่ องใดที่เกี่ยวข้ องบ้ าง เพื่อใช้
                                                             ้       ั
ประกอบในการวิเคราะห์ วิจารณ์ หรื อเปรี ยบเทียบกับงานที่กําลังจะดําเนินการ ซึงในการนําข้ อมูล
                                                                                     ่
จากแหล่งต่างๆมาอ้ างอิงในงานวิจยของเรานัน จะต้ องมีการอ้ างถึงแหล่งที่มาของข้ อมูลนันๆ เพื่อ
                                     ั             ้                                            ้
ประโยชน์ในการตรวจสอบ รวมทังให้ เกียรติแก่เจ้ าของผลงานด้ วย
                                   ้
         ในการอ้ างถึงนันมีรูปแบบหรื อสไตล์ในการเขียนหลายสไตล์ ขึ ้นอยูกบข้ อกําหนดของแต่
                            ้                                                 ่ ั
ละหนวยงาน/องคกร สาขาวชาและของวารสารแตละช่ือเร่ื อง ตวอยางสไตล์ในการลงรายการ
       ่          ์           ิ                       ่            ั ่
อ้างอง มีดงนี ้
      ิ ั
         1. APA Style (American Psychological Association)
         เป็นสไตล์ในการลงรายการอ้างองท่ีได้รับความนยมมากทางด้านสงคมศาสตร์ เชน
                                              ิ                  ิ          ั                 ่
จตวทยาและด้านการศกษา รูปแบบการลงรายการรูปแบบ APA สามารถดรายละเอียดได้จาก
  ิ ิ                     ึ                                                        ู
http://www.liu.edu/cwis/cwp/library/workshop/citapa.htm
         2. MLA Style (Modern Language Association)
         เป็นสไตล์ท่ีใช้มากในด้านการศกษาภาษาองกฤษ การเปรียบเทียบวรรณคดี การวจารณ์
                                          ึ              ั                                        ิ
วรรณกรรม และบางสาขาในหมดมนุษยศาสตร์ ตัวอยางรูปแบบการลงรายการรูปแบบ MLA ดูได้
                                                               ่
จาก http://www.liu.edu/cwis/cwp/library/workshop/citmla.htm
         3. Chicago Style
         ใช้ในการอ้างองของทกสาขาวชา ตวอยางรูปแบบการลงรายการแบบ Chicago สามารถดู
                        ิ       ุ        ิ ั ่
ได้จาก http://www.liu.edu/cwis/cwp/library/workshop/citchi.htm
         4. Harvard Style
         เป็นรูปแบบการลงรายการสไตล์หนงท่ีมีผ้ นยมใช้มาก ตวอยางรูปแบบการลงรายการ ดูได้
                                                ่ึ   ู ิ            ั ่
จาก http://www.usq.edu.au/library/infoabout/ref_guides/harvardonline.htm



      4 รูปแบบการเขียนอางอิงและบรรณานุกรม | อดุลยเ์ ดช ไศลบาท
                       ้
5. Vancouver Style
        เป็นรูปแบบการลงรายการอ้างองท่ีนยมใช้ในสาขาแพทย์ ตวอยางรูปแบบการลงรายการ ดู
                                     ิ ิ                    ั ่
ได้จาก http://www.library.uwa.edu.au/guides/citingsources/vancouver.html
        นอกเหนือจากนี ้ ยงมี รูปแบบการลงรายการตางๆ อีก 1,000 กวารูปแบบ ซงสามารถใช้ได้
                         ั                       ่              ่        ่ึ
จากโปรแกรม EndNote

วธีเขียนบรรณานุกรม
 ิ
รูปแบบการเขียนบรรณานุกรมของแต่ละที่อาจจะแตกต่างกัน การเลือกใช้ รูปแบบใดก็เป็ น
สิทธิ์ของผู้เขียนบทนิพนธ์ที่จะเลือกใช้ แต่เมื่อตัดสินใจใช้ แบบใดแล้ ว ก็ควรเป็ นแบบเดียวกัน
ทังหมด
   ้
         รูปแบบการเขียนบรรณานุกรมตามแบบ APA Style (American Psychological
Association, 2001; Delaney, 2009)
         1. วารสารทีเ่ ป็นภาษาไทย : จากการออนไลน์และรูปเล่ม (ถาเป็นออนไลน์ตองใส่ค่า
                                                                         ้              ้
Digital Object Identifier; DOI)
   ช่ ือ ช่ ือสกุล. (ปีที่พิมพ์). ช่ ือเร่ ือง. ชื่อวารสาร, ปี ที(ฉบับท่ ี), หน้า. doi: xxxxxx
                                                                 ่

เชน่
ศริลกษณ์ วงษ์วจตสข, และฉัตรปวีณ์ จรัสวราวัฒน์. (2551). การแก้ ปัญหาระดับตะกัวในเลือดสูง.
  ิ ั         ิิ ุ                                                          ่
      ความปลอดภยและส่ิ งแวดลอม, 18(2), 26-31.
                   ั           ้

        2. วารสารทีเ่ ป็นภาษาไทย: จากฐานขอมูลที่ไม่มีค่า Digital Object Identifier; DOI
                                         ้
   ช่ ือ ช่ ือสกุล. (ปีที่พิมพ์). ช่ ือเร่ ือง. ชื่อวารสาร, ปี ที่(ฉบับท่ ), หน้า. เข้ าถึงได้ จาก
                                                                          ี
               ชื่อฐานข้ อมูล.

เชน่
กศมา แก้ วอินทะจักร์ , คน เลย์ คู, และกนก รัตนะกนกชย. (2550). การทําให้ endoxylanase จาก
  ุ ุ                    ิ                          ั
      alkaliphilic Bacillus sp. สายพนธ์ุ BK บริสทธิ์และสมบัตในการยึดเกาะและย่อย
                                        ั        ุ           ิ
      พอลิแซ็กคาไรด์ที่ไม่ละลายนํ ้า. Thai Journal of Biotechnology, 8(1), 33-43. เข้าถงได้
                                                                                       ึ
      จาก ฐานข้อมลวจยไทย.
                       ู ิ ั




      5 รูปแบบการเขียนอางอิงและบรรณานุกรม | อดุลยเ์ ดช ไศลบาท
                       ้
3. วารสารทีเ่ ป็นภาษาองกฤษ : จากการออนไลน์และรูปเล่ม (ถาเป็นออนไลน์ตองใส่ค่า
                               ั                               ้            ้
Digital Object Identifier; DOI)
  ช่ ือสกุล, อักษรย่ อตัวแรกของชื่อต้ น. อักษรย่ อตัวแรกของชื่อกลาง. (ปีที่พิมพ์).
           ช่ ือเร่ ือง. ชื่อวารสาร, Volume(Issue), หน้า. doi: xxxxxx

เชน
  ่
Cohen, B. S., Bronzaft, A. L., Heikkinen, M., Goodman, J., & N´adas, A. (2008). Airport-
       related air pollution and noise. Journal of Occupational and Environmental
       Hygiene, 5, 119-129. doi: 10.1080/15459620701815564

        4. วารสารทีเ่ ป็นภาษาองกฤษ: จากฐานขอมูลที่ไม่มีค่า Digital Object Identifier; DOI
                              ั            ้
  ช่ ือสกุล, อักษรย่ อตัวแรกของชื่อต้ น. อักษรย่ อตัวแรกของชื่อกลาง. (ปีที่พิมพ์).
           ช่ ือเร่ ือง. ชื่อวารสาร, Volume(Issue), หน้า. Retrieved from ชื่อฐานข้ อมูล
           database.

เชน
  ่
Strauss, W. M., Malaney, G. W., & Tanner, R. D. (1984). The Impedance Method for
       MonitoringTotal Coliforms in Wastewaters. Folia Microbiologica, 29(2), 162-169.
       Retrieved from SpringerLink database.

        5. หนงสือทีเ่ ป็นภาษาไทย
             ั
  ช่ ือ ช่ ือสกุล. (ปีที่พิมพ์). ชื่อเรื่อง. (ครังท่ พมพ์). เมืองท่ พมพ์ : ผู้รับผิดชอบในการ
                                                 ้ ี ิ              ี ิ
              พมพ์.
               ิ

เชน
  ่
เกรียงศกดิ์ อดมสนโรจน์. (2542). การบําบดน้ําเสีย: Wastewater treatment. (พมพ์ครังท่ี 2).
       ั ุ ิ                            ั                                 ิ     ้
        กรุงเทพฯ: สยามสเตชั่นเนอร่ี ซพพลายส์.
                                     ั




     6 รูปแบบการเขียนอางอิงและบรรณานุกรม | อดุลยเ์ ดช ไศลบาท
                      ้
6. หนงสือทีเ่ ป็นภาษาองกฤษ
            ั                ั
  ช่ ือสกุล, อักษรย่ อตัวแรกของชื่อต้ น. อักษรย่ อตัวแรกของชื่อกลาง. (ปีที่พิมพ์).
           ชื่อเรื่ อง. ครังท่ พมพ์. เมืองท่ พมพ์ : ผู้รับผิดชอบในการพิมพ์ .
                           ้ ี ิ             ี ิ

เชน
  ่
Brauer, R. L. (2005). Safety and health for engineers. (2nd ed.). Hoboken, NJ:
        John Wiley & Sons.

       7. เวปไซด์ภาษาไทย
  ช่ ือ ช่ ือสกุล. (ปี ที่พมพ์ ). ชื่อเรื่ อง. วันท่ ค้นข้อมูล วันท่ ี เดือน ปี , จาก เจ้ าของเวป
                           ิ                         ี
  ไซด์ เวปไซด์ : http://www.xxxxxxxxxxxx

เชน่
สํานกอนามยสงแวดล้อม. (2552). งานรณรงค์ สถานีขนส่งสะอาด ป้ องกันการระบาดไข้หวัดใหญ่
     ั    ั ่ิ
       สายพนธ์ ุใหม่ชนิด A H1N1. วันที่ค้นข้ อมูล 22 มิถนายน 2552, จาก กรมอนามย
            ั                                           ุ                     ั
       กระทรวงสาธารณสข เวปไซด์: http://203.157.64.26/ewtadmin/ewt/env
                          ุ
       /ewt_news.php?nid=82&filename=index

       8. เวปไซด์ภาษาองกฤษ
                      ั
  ช่ ือสกุล, อักษรย่ อตัวแรกของชื่อต้ น. อักษรย่ อตัวแรกของชื่อกลาง. (ปี ที่พมพ์ ).
                                                                                  ิ
           ชื่อเรื่ อง. Retrieved เดอน วันท่ ี, ปี , from เจ้ าของเวปไซด์ Web site:
                                    ื
           http://www.xxxxxxxxxxxx
เชน
  ่
United States Environmental Protection Agency. (n.d.). Organic gases: Volatile organic
       compounds-VOCs. Retrieved June 22, 2009. from http://www.epa.gov/iaq
       /voc.html




     7 รูปแบบการเขียนอางอิงและบรรณานุกรม | อดุลยเ์ ดช ไศลบาท
                      ้
9. วิทยานิพนธ์ทีเ่ ป็นภาษาไทย
  ช่ ือ ช่ ือสกุล. (ปีที่พิมพ์). ชื่อเรื่อง. ระดบวทยานิพนธ์, ชื่อมหาวิทยาลัย.
                                                ั ิ

เชน
  ่
ไกรศักดิ์ สินโรจน์. (2542). การบําบดน้ําเสียดวยเปลือกมงคด . วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตร
                                    ั        ้        ั ุ
         มหาบัณฑิต, มหาวทยาลยเกษตรศาสตร์.
                            ิ     ั
ชมภนช วรรณาลกษ์. (2550). การศึกษาความเมือยลาในคนงานเก็บค่าทางด่วน. วิทยานิพนธ์
    ู ุ           ั                             ่ ้
         วทยาศาสตรดษฎีบณฑต, มหาวทยาลยมหดล.
           ิ            ุ ั ิ            ิ     ั ิ

        10. วิทยานิพนธ์ทีเ่ ป็นภาษาองกฤษ
                                    ั
  ช่ ือสกุล, อักษรย่ อตัวแรกของชื่อต้ น. อักษรย่ อตัวแรกของชื่อกลาง. (ปีที่พิมพ์).
           ชื่อเรื่ อง. ระดบวทยานิพนธ์, ชื่อมหาวิทยาลัย , รัฐท่ มหาวทยาลัยตงอย่ .ู
                           ั ิ                                  ี   ิ       ั้

เชน ่
Wilfley, D. E. (1989). Interpersonal analyses of bulimia. Doctoral dissertation, University
              of Missouri, Columbia.
Almeida, D. M. (1990). Fathers’ participation in family work. Master’s thesis, University of
              Victoria, Victoria, British Columbia, Canada.
หมายเหตุ - ถ้าเป็นมหาวทยาลยในสหรัฐอเมริกา ให้ใสเ่ ฉพาะ ชื่อรัฐ ท่ีมหาวทยาลยตงอยู่ ตอจาก
                               ิ     ั                                             ิ    ั ั้ ่
ช่ือมหาวทยาลย ิ     ั
      - ถ้ าเป็ นมหาวิทยาลัยในประเทศอื่น ให้ ใส่        ชื่อเมือง, ช่ ือรัฐ, ช่ ือประเทศ ท่ี
มหาวทยาลยตงอยู่ ตอจากช่ือมหาวทยาลย
           ิ      ั ั้     ่              ิ    ั

        11. หนงสือพิมพ์ภาษาไทย
              ั
   ช่ ือ ช่ ือสกุล. (วัน เดือน ปี ที่พมพ์ ). ช่ ือเร่ ื อง. ชื่อหนังสือพิมพ์ , หน้า.
                                      ิ

เชน
  ่
สาธิต บษบก. (22 มิถนายน 2552). พบฟอสซิลเต่าสกุลใหม่ และชนิดใหม่ของโลกในไทย. ไทยรัฐ,
         ุ         ุ
หน้ า 5.



     8 รูปแบบการเขียนอางอิงและบรรณานุกรม | อดุลยเ์ ดช ไศลบาท
                      ้
12. หนงสือพิมพ์ภาษาองกฤษ
             ั             ั
  ช่ ือสกุล, อักษรย่ อตัวแรกของชื่อต้ น. อักษรย่ อตัวแรกของชื่อกลาง. (ปี , เดอน วันท่ ี
                                                                             ื
  พมพ์). ช่ ือเร่ ือง. ชื่อหนังสือพิมพ์ , หน้า.
      ิ

เชน
  ่
Di Rado, A. (1995, March 15). Trekking through college: Classes explore modern
       society using the world of Star trek. Los Angeles Times, p. A3.

       13. กฎหมาย
   “ชื่ อกฎหมาย” (ปี , วัน เดือน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ ม ตอนที่. หน้า.

เชน
  ่
“ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่ อง หลกเกณฑ์ วธีการและหลกสตรการฝึกอบรม
                                               ั         ิ       ั ู
      ความปลอดภยในการทํางานในท่ีอบอากาศ พ.ศ. 2549” (2549, 30 พฤศจกายน).
                   ั                ั                                ิ
      ราชกิจจานเุ บกษา. เลม 123 ตอนท่ี 125 ง. หน้ า 55-64.
                          ่

     หลกเกณฑ์การเขียนบรรณานกรม
         ั                                ุ
     1. เขียนคาวา “เอกสารอ้ างอง” ไว้กลางหน้ากระดาษ หากเป็นบทนพนธ์ภาษาองกฤษให้
                    ํ ่                     ิ                               ิ            ั
           ใช้คาวา “References”
                ํ ่
     2. เมื่อเริ่ มต้ นเขียนให้ ชิดขอบกระดาษที่เว้ นไว้ ประมาณ 1 ½ นิ ้ว หากบรรทดเดยวไมจบ
                                                                                  ั ี ่
           บรรทดทดไปให้ยอเข้ามา 7 ชวงตวอกษร
                  ั ั           ่             ่ ั ั
     3. เมื่อรวบรวมแหล่งสารนิเทศที่อ้างอิงไว้ ครบถ้ วนทังหมดแล้ ว ให้ นํามาเรี ยงลําดับตาม
                                                              ้
           ตวอกษรของรายการแรก โดยเรียงตามแบบพจนานกรมฉบบราชบณฑตยสถาน โดย
             ั ั                                                ุ       ั     ั ิ
           เรียงลําดบเอกสารอ้างองท่ีเป็นภาษาไทยกอน แล้วจงตามด้วยภาษาองกฤษ
                       ั             ิ                  ่         ึ             ั
     4. การลงรายช่ือผ้ แตง มีหลกเกณฑ์ดงนี ้
                            ู ่         ั        ั
           4.1 ถ้าผ้ แตงมากกวา 1 คน แต่ไม่เกิน 6 คน ให้ ลงชื่อทังหมด ระหว่างชื่อให้ คนด้ วย
                      ู ่         ่                                  ้                ั่
Comma (,) แล้ วเว้ น 1 วรรค และหลังชื่อคนสุดท้ ายให้ ใส่ Full-stop (.) เชน่
                              ิ        ั ์ิ ุ ิ
                 - ปราณี วมณ, ศกดดา สวทย์, มณี ดวงแดง, ฉตร ดมาก, มณฤดี ศยากลป,
                                                                    ั ี             ี ั ์
                      และอุทิศ แสวงโชค.



     9 รูปแบบการเขียนอางอิงและบรรณานุกรม | อดุลยเ์ ดช ไศลบาท
                      ้
ถ้าเป็นภาษาองกฤษ ให้ใช้ Surname ขึ้นต้น ตามด้วย Comma (,) เว้น 1 วรรค
                                             ั
ตามด้วยอกษรตวใหญ่ตวแรกของช่ือต้น ตามด้วย Full-stop (.) และถ้ามีช่ือกลางก็ให้ใช้ตวอกษร
             ั       ั            ั                                                               ั ั
ตวใหญ่ตวแรกของช่ือกลาง ตามด้วย Full-stop (.) เชน
 ั         ั                                                       ่
                         - Smith, A. K., Jones, B. C., Bloggs, T. C., Ashe, P. T., Fauci, A. S., &
                              Wilson, J. D.
               4.2 ถ้าผ้ แตงมากกวา 6 คน ให้ ลงชื่อถึงคนที่ 6 แล้วลงคาวา “และคณะ” ในภาษาไทย
                               ู ่               ่                              ํ ่
แล้วตามด้วย Full-stop (.) เชน          ่
                                         ิ           ั ิ์ ุ ิ
                         - ปราณี วมณ, ศกดดา สวทย์, มณี ดวงแดง, ฉตร ดมาก, มณฤดี ศยากลป,
                                                                             ั ี               ี ั ์
                              อุทิศ แสวงโชค, และคณะ.
                           ถ้าเป็นภาษาองกฤษให้ ลงชื่อถึงคนที่ 6 แล้วลงคาวา “et al” ในภาษาองกฤษ
                                               ั                            ํ ่                    ั
แล้วตามด้วย Full-stop (.) โดยไมต้องมี And Sign (&) เชน
                                                   ่                     ่
                         - Smith, A. K., Jones, B. C., Bloggs, T. C., Ashe, P. T., Fauci, A. S.,
                              Wilson, J. D., et al.
               4.3 กรณีที่ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง ให้ เลื่อนรายการชื่อเรื่ องหรื อรายการที่อยูถดไปมาเป็ น
                                                                                           ่ ั
รายการแรกแทนชื่อผู้แต่ง
               4.4 ในกรณีที่วสดุอ้างอิงมีเฉพาะชื่อบรรณาธิการ (Editor) ให้ลงชื่อผู้แต่งตามด้วย
                                     ั
Full-stop (.) แล้ วเว้ น 1 วรรค และ                        ตามด้วยคาวา “(บรรณาธิการ)” ส่วนสารนิเทศที่เป็ น
                                                                     ํ ่
ภาษาองกฤษให้ใช้คาวา “(Ed.)” หรือ “(Eds.)”
         ั                   ํ ่
               4.5 ในกรณีที่ใช้ ชื่อหน่วยงานราชการเป็ นชื่อผู้แต่งหนังสือ ให้ ใช้ หน่วยงาน ระดบกรม   ั
หรือเทียบเท่ าขึนไป ส่วนหน่วยงานตังแต่ระดับกองหรื อเทียบเท่าลงไป ถึงแม้ จะเป็ นเจ้ าของ
                         ้                               ้
ผลงาน ก็ให้ ใช้ ชื่อหน่วยงานระดับกรมหรื อเทียบเท่าขึ ้นไป ส่วนหน่วยงานย่อยที่เป็ นเจ้ าของผลงาน
ให้ ลงเป็ นชื่อผู้รับผิดชอบในการพิมพ์
หมายเหตุ มหาวทยาลย เป็นหนวยงานเทียบเทาระดบกรม
                       ิ        ั          ่                  ่ ั
     4.6 หน่วยงานรัฐวิสาหกิจและภาคเอกชน ให้ ใช้ ชื่อหน่วยงานนันๆ หรื อบริษัท ธนาคาร
                                                                              ้
ฯลฯ เป็ นชื่อผู้แต่ง




    10 รูปแบบการเขียนอางอิงและบรรณานุกรม | อดุลยเ์ ดช ไศลบาท
                      ้
4.7 ในกรณีที่ไม่สามารถหาสารนิเทศต้ นฉบับของวัสดุอ้างอิงได้ ให้ ระบุสารนิเทศรอง
เชน
  ่
                - สารนิเทศต้ นฉบับ คือ ทองฉัตร หงส์ทอง, 2517
                      สารนเิ ทศรอง คอ นวลจนทร์ ผองอําไพ, 2542
                                          ื           ั   ่
                      ลงเป็ น
                      นวลจนทร์ ผองอําไพ. (2542). การศึกษา. (พมพ์ครังท่ี 4). กรุงเทพฯ:
                                ั     ่                             ิ       ้
                            สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
                - สารนิเทศต้ นฉบับ คือ Regier, A. A., Narrow, W. E., & Rae, D. S., 1990
                      สารนเิ ทศรอง คอ Coltheart, M., Curtis, B., Atkins, P., & Haller, M., 1993
                                        ื
                      ลงเป็ น
                      Coltheart, M., Curtis, B., Atkins, P., & Haller, M. (1993). Models of
                            reading aloud. Psychological Review, 100(2), 589-608.
         5. การลงรายการช่ือเร่ื อง
            5.1 กรณีเป็ นวารสาร ให้ ใช้ ตวปกติ ไม่ต้องขีดเส้ นใต้ ไม่ต้องทําตัวหนา และไม่ต้องทํา
                                                  ั
                ตวเอน สวนช่ือเร่ื องภาษาองกฤษ ให้เขียนอกษรตวแรกของคาแรกด้วยตวพมพ์
                   ั          ่                     ั         ั       ั        ํ            ั ิ
                ใหญ่ นอกนันเป็ นตัวพิมพ์เล็ก ยกเว้ นชื่อเฉพาะอื่นๆ และอักษรตัวแรกของคําแรก
                                    ้
                ท่ีเป็นช่ือขยายความ เชน     ่
                - การใช้ จลินทรี ย์อีเอ็มในถังเติมอากาศของระบบเอเอสเพื่อการบําบัดนํ ้าเสีย
                                  ุ
                      จากโรงงานผลิตผลิตภัณฑ์ไส้ กรอก.
                - Maximum acceptable weight of lift in Thai female: Psychophysical
                      approach.
            5.2 กรณีเป็ นหนังสือให้ ใช้ ตวเอน ไม่ต้องขีดเส้ นใต้ ไม่ต้องทําตัวหนา ส่วนชื่อเรื่ อง
                                              ั
                ภาษาองกฤษ ให้เขียนอกษรตวแรกของคาแรกด้วยตวพมพ์ใหญ่ นอกนนเป็น
                          ั                     ั       ั   ํ           ั ิ              ั้
                ตัวพิมพ์เล็ก ยกเว้ นชื่อเฉพาะอื่นๆ และอักษรตัวแรกของคําแรกที่เป็ นชื่อขยาย
                ความ เชน    ่
                - ค่มือทําวิทยานิพนธ์.
                       ู
                - How to write a research paper.




      11 รูปแบบการเขียนอางอิงและบรรณานุกรม | อดุลยเ์ ดช ไศลบาท
                        ้
6. การลงรายการชื่อวารสาร ให้ ใช้ เหมือนการลงรายการชื่อหนังสือ และให้ ลงชื่อเต็ม
                  ห้ ามใช้ช่ือยอ เชน
                                 ่ ่
                        - วารสารอนามยส่ิ งแวดลอม.
                                              ั        ้
                        - Journal of Occupational and Environmental Hygiene.
                        หมายเหตุ สามารถดช่ือเตมของวารสารได้จาก
                                                ู ็
                        http://www.ncbi.nlm.nih.gov/sites/entrez?db=journals
               7. การลงรายการครังท่ีพมพ์ ตังแต่พิมพ์ครังที่ 2 เป็ นต้ นไป จึงจะใส่ไว้ ในวงเล็บหลัง
                                        ้ ิ        ้                   ้
                  รายการช่ือเร่ื อง ถ้าเป็นภาษาองกฤษให้ใช้คายอวา “ed.” เชน
                                                     ั                   ํ ่ ่        ่
                        - (พมพ์ครังท่ี 3).
                               ิ      ้
                        - (3rd ed.).
               8. การลงรายการท่ีเก่ียวข้องกบการพมพ์
                                                 ั              ิ
     เมืองที่พิมพ์ ให้ ลงเฉพาะชื่อเมืองหรื อชื่อจังหวัด ซึงเป็ นที่ตงของผู้รับผิดชอบในการพิมพ์ ไม่
                                                                     ่         ั้
ต้ องใส่ชื่อประเทศ สําหรับชื่อเมืองในสหรัฐอเมริกา หากเป็ นชื่อเมืองที่มีอยูในหลายรัฐ เมืองที่ไม่
                                                                                        ่
เป็ นที่ร้ ูจกโดยทัวไป หรื อซํ ้ากับชื่อเมืองในประเทศอื่น ให้ ใส่ชื่อย่อรัฐกํากับ ส่วนชื่อเมืองในประเทศ
             ั        ่
อื่นๆ ถ้ าเป็ นเมืองที่ร้ ูจกอย่างกว้ างขวาง ไม่ต้องใส่ชื่อประเทศกํากับ เช่น
                             ั
                        - กรุงเทพมหานคร ลงว่า กรุงเทพฯ
                        - ชลบุรี ลงว่า ชลบุรี
                        - Boston, MA                 ลงวา Boston
                                                         ่
                        - Hillsdale, NJ              ลงวา Hillsdale, NJ
                                                           ่
                        หมายเหตุ รายชื่อเมืองที่ไม่ต้องมีชื่อรัฐ หรื อชื่อประเทศกํากับ ได้ แก่
                        Baltimore          New York               Amsterdam Paris              Vienna
                        Philadelphia Jerusalem Rome                               Chicago      Moscow
                        Boston             London                 Stockholm Tokyo              Milan
                        Los Angeles San Francisco
     ผู้รับผิดชอบในการพิมพ์ หากจดทําโดยหนวยงาน องคกร สมาคม ทงทางราชการ และเอกชน
                                            ั                ่             ์         ั้
ให้ นํามาใส่ลงในรายการผู้รับผิดชอบในการพิมพ์ ได้ ตงแต่หน่วยงานระดับย่อยที่เป็ นผู้จดทําจริงๆ
                                                                    ั้                          ั
และหน่วยงานระดับใหญ่ (ระดับกรมหรื อเทียบเท่า) แทนชื่อสํานักพิมพ์ โรงพิมพ์ หรื อบริษัทที่เป็ นผู้
จดพมพ์
   ั ิ
     ถ้ าปรากฏชื่อผู้รับผิดชอบในการพิมพ์ ที่มีทงสํานักพิมพ์และโรงพิมพ์ ให้ ใส่เฉพาะชื่อ
                                                               ั้
สํานกพมพ์ โดยตดคาวา “สํานกพมพ์” ออก ยกเว้ น สํานกพมพ์ของมหาวทยาลย ให้ใสคาวา
      ั ิ                ั ํ ่            ั ิ                                ั ิ          ิ  ั      ่ ํ ่
“สํานกพมพ์” ลงไปด้วย เชน
       ั ิ                        ่
    12 รูปแบบการเขียนอางอิงและบรรณานุกรม | อดุลยเ์ ดช ไศลบาท
                      ้
- สํานกพมพ์ดอกหญ้า ลงวา ดอกหญ้า
                           ั ิ                    ่
                 - สํานกพมพ์มหาวทยาลยธรรมศาสตร์ ลงวา สํานกพมพ์
                            ั ิ        ิ    ั                   ่             ั ิ
                     มหาวทยาลยธรรมศาสตร์
                             ิ     ั
                 - McGraw-Hill Book Company                   ลงวา McGraw-Hill
                                                                  ่
                 - R&R Bowker Publishing Company ลงวา R&R Bowker    ่
                 ถ้าปรากฏวา มีเฉพาะช่ือโรงพมพ์ ให้ลงคาวา “โรงพิมพ์” ด้วย เชน
                               ่                ิ           ํ ่                   ่
                 - โรงพิมพ์ชลบุรีการพิมพ์ ลงว่า โรงพิมพ์ชลบุรีการพิมพ์
                 - Leisure Press                              ลงวา Leisure Press
                                                                      ่
                 ถ้าปรากฏวา มีเฉพาะช่ือบริษท ให้จดคาวา “บริ ษท...จํากัด” ออก เชน
                                 ่            ั     ั ํ ่                   ั       ่
                 - บริ ษัท นานมี จํากัด                       ลงวา นานมี่
                 - Clayton Company                            ลงวา Clayton่
    ถ้ าไม่ปรากฏชื่อผู้รับผิดชอบในการพิมพ์ ให้ ระบุ “ม.ป.ท.” (ไม่ปรากฏที่พิมพ์) สําหรับวัสดุ
อ้างองภาษาองกฤษให้ใช้ “n.p.” (No Place of Publishing)
     ิ        ั
         9. การลงรายการเก่ียวกบปีท่ีพมพ์ ให้ ลงปี ที่พิมพ์ของวัสดุอ้างอิงตามที่ปรากฏ ด้ วย
                                     ั    ิ
             ตัวเลขอารบิค และถ้ าไม่ปรากฏปี ที่พิมพ์ ให้ ระบุ “ม.ป.ป.” (ไม่ปรากฏปี ที่พิมพ์) และ
             “n.d.” (No Date) สําหรับวสดอ้างองภาษาองกฤษ
                                         ั ุ ิ            ั




    13 รูปแบบการเขียนอางอิงและบรรณานุกรม | อดุลยเ์ ดช ไศลบาท
                      ้
เอกสารอ้ างอิง
นงเยาว์ เปรมกมลเนตร. (2548). รูปแบบการลงรายการอางอิง . วันที่ค้นข้ อมูล 15 มิถนายน 2552,
                                                     ้                        ุ
        จากศนย์ดชนีการอ้างองวารสารไทย เวปไซด์ : http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html
              ู ั            ิ
        /CitationStyles.html
มหาวทยาลยบรพา. (2544). สารนิเทศและการศึกษาคนควา . ชลบุรี: ภาควชาบรรณารักษศาสตร์
     ิ      ั ู                                   ้ ้                ิ
        คณะมนษยศาสตร์ มหาวทยาลยบรพา.
                 ุ              ิ    ั ู
American Psychological Association. (2001). Publication manual of the American
        Psychological Association. (5th ed.). Washington, DC: Author.
Delaney, R. (2009). APA Citation Style. Retrieved June 15, 2009, from Long Island
        University Web site: http://www.liu.edu/cwis/cwp/library/workshop/citapa.htm




    14 รูปแบบการเขียนอางอิงและบรรณานุกรม | อดุลยเ์ ดช ไศลบาท
                      ้

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ศิลาจารึก
ศิลาจารึกศิลาจารึก
ศิลาจารึกniceppk
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์krudow14
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...krujee
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2Tongsamut vorasan
 
หนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิงหนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิงSupaporn Khiewwan
 

La actualidad más candente (17)

การเขียนบทความทางวิชาการ
การเขียนบทความทางวิชาการการเขียนบทความทางวิชาการ
การเขียนบทความทางวิชาการ
 
T006
T006T006
T006
 
Chapter Nine
Chapter NineChapter Nine
Chapter Nine
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ (แบบฝึกหัด ๑)
บาลีไวยากรณ์ ๔ (แบบฝึกหัด ๑)บาลีไวยากรณ์ ๔ (แบบฝึกหัด ๑)
บาลีไวยากรณ์ ๔ (แบบฝึกหัด ๑)
 
Reference resources
Reference resources Reference resources
Reference resources
 
อ้างอิง
อ้างอิงอ้างอิง
อ้างอิง
 
อ้างอิง
อ้างอิงอ้างอิง
อ้างอิง
 
ศิลาจารึก
ศิลาจารึกศิลาจารึก
ศิลาจารึก
 
ทิคุสมาส
ทิคุสมาสทิคุสมาส
ทิคุสมาส
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
Sk7 th
Sk7 thSk7 th
Sk7 th
 
Watermark yhk3aubv ktr22tuz
Watermark yhk3aubv ktr22tuzWatermark yhk3aubv ktr22tuz
Watermark yhk3aubv ktr22tuz
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
อ้างอิง
อ้างอิงอ้างอิง
อ้างอิง
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
 
หนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิงหนังสืออ้างอิง
หนังสืออ้างอิง
 

Similar a การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม

บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..Lib Rru
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..Librru Phrisit
 
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560Supaporn Khiewwan
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมายkroonoi06
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)Srion Janeprapapong
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)Srion Janeprapapong
 
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58Supaporn Khiewwan
 

Similar a การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม (20)

Bliography
BliographyBliography
Bliography
 
Reference
ReferenceReference
Reference
 
Reference
ReferenceReference
Reference
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..
 
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
 
เอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรม
เอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรมเอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรม
เอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรม
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
จดหมาย
จดหมายจดหมาย
จดหมาย
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)
 
Script 05 2
Script 05 2Script 05 2
Script 05 2
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)
 
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
เอกสารการสอนเรื่อง การเขียนบรรณานุกรม58
 
สารานุกรม
สารานุกรมสารานุกรม
สารานุกรม
 
อ้างอิง
อ้างอิงอ้างอิง
อ้างอิง
 
อ้างอิง
อ้างอิงอ้างอิง
อ้างอิง
 
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
 
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
 
Reference format
Reference formatReference format
Reference format
 
พจนานุกรม
พจนานุกรมพจนานุกรม
พจนานุกรม
 

Más de thanapat yeekhaday

การเขียนรายงานโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
การเขียนรายงานโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจการเขียนรายงานโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
การเขียนรายงานโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจthanapat yeekhaday
 
บันทึกข้อความ ขอเปลี่ยนหัวข้อโครงงาน กลุ่ม-อาจารย์ที่ปรึกษา
บันทึกข้อความ ขอเปลี่ยนหัวข้อโครงงาน กลุ่ม-อาจารย์ที่ปรึกษาบันทึกข้อความ ขอเปลี่ยนหัวข้อโครงงาน กลุ่ม-อาจารย์ที่ปรึกษา
บันทึกข้อความ ขอเปลี่ยนหัวข้อโครงงาน กลุ่ม-อาจารย์ที่ปรึกษาthanapat yeekhaday
 
กำหนดสอบโครงงานปี3.2 (final)
กำหนดสอบโครงงานปี3.2 (final)กำหนดสอบโครงงานปี3.2 (final)
กำหนดสอบโครงงานปี3.2 (final)thanapat yeekhaday
 
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentแบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentthanapat yeekhaday
 
Chapter3 typeof informationsystem
Chapter3 typeof informationsystemChapter3 typeof informationsystem
Chapter3 typeof informationsystemthanapat yeekhaday
 
Chapter1 introduction2 business-full
Chapter1 introduction2 business-fullChapter1 introduction2 business-full
Chapter1 introduction2 business-fullthanapat yeekhaday
 
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E CommerceF:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commercethanapat yeekhaday
 
Computer application4 business_presentation
Computer application4 business_presentationComputer application4 business_presentation
Computer application4 business_presentationthanapat yeekhaday
 
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With IctC:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ictthanapat yeekhaday
 
Chapter1 introduction2 business
Chapter1 introduction2 businessChapter1 introduction2 business
Chapter1 introduction2 businessthanapat yeekhaday
 
Presentation e learning by thanapat
Presentation e learning by thanapatPresentation e learning by thanapat
Presentation e learning by thanapatthanapat yeekhaday
 
Computer กับกระบวนการทางธุรกิจ
Computer กับกระบวนการทางธุรกิจComputer กับกระบวนการทางธุรกิจ
Computer กับกระบวนการทางธุรกิจthanapat yeekhaday
 
Computer กับกระบวนการทางธุรกิจ
Computer กับกระบวนการทางธุรกิจComputer กับกระบวนการทางธุรกิจ
Computer กับกระบวนการทางธุรกิจthanapat yeekhaday
 

Más de thanapat yeekhaday (20)

การเขียนรายงานโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
การเขียนรายงานโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจการเขียนรายงานโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
การเขียนรายงานโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
 
Chapter2 literaturereview
Chapter2 literaturereviewChapter2 literaturereview
Chapter2 literaturereview
 
Visio project process
Visio project processVisio project process
Visio project process
 
Introduction bizcomproject1
Introduction bizcomproject1Introduction bizcomproject1
Introduction bizcomproject1
 
บันทึกข้อความ ขอเปลี่ยนหัวข้อโครงงาน กลุ่ม-อาจารย์ที่ปรึกษา
บันทึกข้อความ ขอเปลี่ยนหัวข้อโครงงาน กลุ่ม-อาจารย์ที่ปรึกษาบันทึกข้อความ ขอเปลี่ยนหัวข้อโครงงาน กลุ่ม-อาจารย์ที่ปรึกษา
บันทึกข้อความ ขอเปลี่ยนหัวข้อโครงงาน กลุ่ม-อาจารย์ที่ปรึกษา
 
กำหนดสอบโครงงานปี3.2 (final)
กำหนดสอบโครงงานปี3.2 (final)กำหนดสอบโครงงานปี3.2 (final)
กำหนดสอบโครงงานปี3.2 (final)
 
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresentแบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
แบบประเมินโครงงาน1โดยอาจารย์ที่ปรึกษาก่อนpresent
 
Chapter3 typeof informationsystem
Chapter3 typeof informationsystemChapter3 typeof informationsystem
Chapter3 typeof informationsystem
 
Chapter2 part1
Chapter2 part1Chapter2 part1
Chapter2 part1
 
Chapter1 introduction2 business-full
Chapter1 introduction2 business-fullChapter1 introduction2 business-full
Chapter1 introduction2 business-full
 
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E CommerceF:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
F:\ปี 52 เทอม 3\การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์\Chapter4 E Commerce
 
Computer application4 business_presentation
Computer application4 business_presentationComputer application4 business_presentation
Computer application4 business_presentation
 
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With IctC:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
C:\Documents And Settings\Admin\Desktop\Chapter2 Business Strategy With Ict
 
Chapter1 introduction2 business
Chapter1 introduction2 businessChapter1 introduction2 business
Chapter1 introduction2 business
 
Web20 forbusiness2
Web20 forbusiness2Web20 forbusiness2
Web20 forbusiness2
 
Web20 forbusiness
Web20 forbusinessWeb20 forbusiness
Web20 forbusiness
 
Presentation e learning by thanapat
Presentation e learning by thanapatPresentation e learning by thanapat
Presentation e learning by thanapat
 
Computer กับกระบวนการทางธุรกิจ
Computer กับกระบวนการทางธุรกิจComputer กับกระบวนการทางธุรกิจ
Computer กับกระบวนการทางธุรกิจ
 
Computer กับกระบวนการทางธุรกิจ
Computer กับกระบวนการทางธุรกิจComputer กับกระบวนการทางธุรกิจ
Computer กับกระบวนการทางธุรกิจ
 
2 Intro2 Computer
2 Intro2 Computer2 Intro2 Computer
2 Intro2 Computer
 

การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม

  • 1. รู ปแบบการเขียนอ้ างอิงและบรรณานุกรม การอ้างอง หมายถึง การบอกรายละเอียดของแหล่งสารนิเทศที่ใช้ อ้างอิงในการศึกษา ิ ค้ นคว้ า ซึงนําเสนอในรูปของรายงาน ภาคนิพนธ์ บทความ หนังสือวิชาการ และรายงานการวิจย ่ ั ความสําคญของการอ้างอง ั ิ 1. เพ่ือให้ผ้ อานหรือผ้ ท่ีมาศกษาค้นคว้า สามารถตรวจสอบหรือตดตามศกษาเพมเตมได้ ู่ ู ึ ิ ึ ่ิ ิ 2. เพื่อให้ เกียรติแก่ผ้ แต่งสารนิเทศที่ใช้ อ้างอิง ู 3. เพ่ือสร้างความนาเช่ือถือแกผลงาน ให้กบผ้ ท่ีได้อาน ่ ่ ั ู ่ วิธีเขียนอ้ างอิงและบรรณานุกรม จะปรากฏอยูทงส่วนเนื ้อหาและท้ ายเล่ม คือ ่ ั้ 1. ส่วนเนื อหา คอ รายการอ้างอง (Reference List) ซึงจะมีรูปแบบการอ้ างอิงที่ใช้ อยู่ ้ ื ิ ่ ท่วไป 3 แบบ ได้ แก่ แบบเชิงอรรถ แบบแทรกในเนื ้อหา และแบบอ้ างอิงท้ ายบท ั 2. ส่วนทายเล่ม คือ บรรณานุกรม ้ (Bibliography) ซึงได้ แก่ รายละเอียดของ ่ แหล่งสารนิเทศที่ใช้ อ้างอิงในเนื ้อหาทุกรายการ ทังที่ปรากฏชัดเจนโดยเขียนอ้ างอิงไว้ ้ และสวนท่ีไมปรากฏชดเจน แตอาจจะเป็นเพียงการรวบรวมความคดหลายๆ แนว ่ ่ ั ่ ิ แล้วนํามาเรียบเรียงใหม่ หมายเหตุ รูปแบบการเขียนอ้ างอิงและบรรณานุกรมในเอกสารนี ้ จะอ้ างอิงตามแบบ APA Style วิธีเขียนอ้ างอิง 1. การอ้ างอิงแบบเชิงอรรถ (Footnote) เป็นการอ้างองท่ีแยกการอ้างองออกจากเนื ้อหาโดยเดดขาด โดยให้อยสวนลางสดของ ิ ิ ็ ู่ ่ ่ ุ หน้ากระดาษแตละหน้า ่ 2. การอ้างองท้ายบท ิ เป็ นการอ้ างอิงที่สะดวก เนื่องจากไม่ต้องพะวงการกะระยะเนื ้อที่แต่ละหน้ าของบทนิพนธ์ เพื่อเผื่อเขียนอ้ างอิงเหมือนการอ้ างอิงแบบเชิงอรรถ เพราะการอ้ างอิงทังหมดจะไปรวมอยูหน้ า ้ ่ สุดท้ ายของแต่ละบท 3. การอ้ างอิงแบบแทรกในเนื ้อหา เป็ นการอ้ างอิงที่อยูรวมกันกับเนื ้อหา ไม่แยกกันคนละส่วนเหมือนการอ้ างอิงแบบเชิงอรรถ ่ หรือแบบการอ้างองท้ายบท ทําให้รูปแบบการอ้างองกะทดรัด และยืดหยนกวา เพราะสามารถ ิ ิ ั ุ่ ่ เขียนชื่อผู้แต่งให้ กลมกลืนไปกับเนื ้อหาได้ หรื อจะแยกใส่ไว้ ในวงเล็บก็ได้ 1 รูปแบบการเขียนอางอิงและบรรณานุกรม | อดุลยเ์ ดช ไศลบาท ้
  • 2. การอ้างองแบบแทรกในเนือหา (มหาวทยาลยบรพา, 2544; American Psychological ิ ้ ิ ั ู Association, 2001) หลกเกณฑ์การอ้างองแบบแทรกในเนื ้อหา ั ิ 1. การอ้ างอิงจะมีชื่อผู้แต่ง และปี ที่พิมพ์ อยูในวงเล็บ แต่ถ้ามีชื่ออยูแล้ ว ให้ ใส่เฉพาะปี ที่ ่ ่ พิมพ์ในวงเล็บ เช่น - ศักดิสิทธิ์ (2552) กลาววา การเปล่ียนแปลงของเปลือกโลก มกเก่ียวข้องกบ ์ ่ ่ ั ั แผ่นดินไหวที่เกิดขึ ้นอย่างรุนแรง - เปลือกโลก ประกอบด้ วยแผ่นขนาดใหญ่ 6 - 10 แผน (ศักดิสิทธิ์, 2552) ่ ์ 2. หลกเกณฑ์การลงรายช่ือผ้ แตง ั ู ่ 2.1 คานําหน้าช่ือตามปกตให้ตดออก ได้แก่ นาย นาง นางสาว ํ ิ ั 2.2 ผู้แต่งที่มีฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ ยศทางตํารวจ ยศทางทหาร และตําแหน่ง นกบวช นําหน้าช่ือ ให้คงไว้ตามปกติ โดยไมตดทิ ้งหรือย้ายท่ี เชน ั ่ ั ่ - ม.ล. ป่ิ น มาลากล ุ - เจ้าพระยาธรรมศกดมนตรี ั ์ิ - คุณหญิงเต็มสิริ บุณยสิงห์ - พลตรี ม.ร.ว. คกฤทธิ์ ปราโมช ึ - Sister Dorothy Smith 2.3 ตาแหนงทางวชาการ (คาระบบอกอาชีพ) ให้ ตดทิ ้ง เช่น ํ ่ ิ ํ ุ ั - ศาสตราจารย์ ดร. วษณุ เครืองาม ลงวา วษณุ เครืองาม ิ ่ ิ - นายแพทย์ประเวศ วะสี ลงวา ประเวศ วะสี ่ 2.4 ผ้ แตงชาวตางประเทศให้เขียนเฉพาะนามสกุล เชน ู ่ ่ ่ - Smith R Solvey ลงวา Solvey. ่ - Petit M Bretty ลงวา Bretty. ่ 2.5 หนังสือที่ออกในนามองค์กร สมาคม หรื อหน่วยงานต่างๆ สามารถใช้ ชื่อ หน่วยงานนันเป็ นชื่อผู้แต่งได้ เช่น กองการสังคีต ธนาคารศรี นคร จํากัด เป็ นต้ น ้ 2.6 ถ้าผ้ แตงมี 2 คน ให้ ลงชื่อทังหมด ระหว่างชื่อให้ คนด้ วย “และ” หรือ “ &” แล้ ว ู ่ ้ ั่ Comma (,) เชน ่ - (สมศกด์ิ และอํานาจ, 2551) ั - (Kosslyn & Barrett, 1996) 2 รูปแบบการเขียนอางอิงและบรรณานุกรม | อดุลยเ์ ดช ไศลบาท ้
  • 3. 2.7 ถ้าผ้ แตงมี 3-5 คน ในครังแรกที่ลงรายการอ้ างอิง ให้ ลงชื่อทังหมด และถ้ามีการ ู ่ ้ ้ กล่าวซํ ้าให้ ลงเฉพาะชื่อคนแรก และใส่ “และคณะ” หรือ “et al.” และถ้าในยอหน้าเดยวกนมีการ ่ ี ั อ้างองมากกวา 1 ครัง ให้ ลงเฉพาะชื่อคนแรก และใส่ “และคณะ” หรือ “et al.” แต่ไม่ต้องลงปี ที่ ิ ่ ้ พมพ์ เชน ิ ่ - (กมล, อํานาจ, สุชาติ, และศภกิจ, 2549) กรณีอ้างอิงครังแรก ุ ้ - (กมล และคณะ, 2549 ) กรณีอ้างอิงครังที่ 2 ของบทความ แต่เป็ นครังแรก ้ ้ ของยอหน้า ่ - (กมล และคณะ) กรณีอ้างอิงครังที่ 2 เป็ นต้ นไป ของย่อหน้ า ้ 2.8 ถ้าผ้ แตงตงแต่ 6 คน ขึ ้นไป ให้ ลงเฉพาะชื่อคนแรก และใส่ “และคณะ” หรือ “et ู ่ ั้ al.” เชน่ ิ ั ิ์ ุ ิ - ปราณี วมณ, ศกดดา สวทย์, มณี ดวงแดง, ฉตร ดมาก, มณฤดี ศยากลป, ั ี ี ั ์ อุทิศ แสวงโชค, 2544 ลงเป็ น (ปราณี และคณะ, 2544) - Smith, Jones, Bloggs, Ashe, Fauci, Wilson, 2000 ลงเป็ น (Smith et al., 2000) 2.9 ถ้ าผู้แต่งเป็ นองค์กรหรื อหน่วยงานที่มีตวย่อ ให้ กํากับตัวย่อไว้ ในวงเล็บเหลี่ยม ั ด้วย เชน ่ - (สํานกงานพฒนาวทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแหงชาติ [สวทช], 2550) กรณี ั ั ิ ่ อ้ างอิงครังแรก ้ - (สวทช, 2550) กรณีอ้างอิงครังที่ 2 เป็ นต้ นไป ้ 2.10 ในกรณีที่ไม่สามารถหาสารนิเทศต้ นฉบับของวัสดุอ้างอิงได้ ให้ ระบุ แหล่งสารนิเทศต้ นฉบับก่อน แล้ วตามด้ วยคําว่า “อ้ างถงใน” สําหรับสารนิเทศภาษาไทย และ “as ึ cited in” สําหรับสารนิเทศภาษาอังกฤษ เชน ่ - สารนิเทศต้ นฉบับ คือ ทองฉัตร หงส์ทอง, 2517 สารนเิ ทศรอง คอ นวลจนทร์ ผองอําไพ, 2542 ื ั ่ ลงเป็ น (ทองฉัตร อ้ างถึงใน นวลจันทร์ , 2542) - สารนิเทศต้ นฉบับ คือ Regier, A. A., Narrow, W. E., & Rae, D. S., 1990 สารนเิ ทศรอง คอ Coltheart, M., Curtis, B., Atkins, P., & Haller, M., 1993 ื ลงเป็ น (Regier, Narrow, & Rae as cited in Coltheart, Curtis, Atkins, & Haller, 1993) 3 รูปแบบการเขียนอางอิงและบรรณานุกรม | อดุลยเ์ ดช ไศลบาท ้
  • 4. สรุปหลักเกณฑ์ท่ วๆ ไปของการอ้างองทง 3 แบบ ั ิ ั้ 1. เมื่อตัดสินใจเลือกใช้ การอ้ างอิงแบบใด ให้ ใช้ แบบนันไปจนจบบทนิพนธ์เรื่ องนันๆ จะ ้ ้ ใช้ หลายๆ แบบผสมกันไม่ได้ อีกทังจะต้ องเป็ นแบบเดียวกันกับบรรณานุกรม ้ 2. รายชื่อวัสดุอ้างอิงทังหมด จะต้ องไปปรากฏอยูในบรรณานุกรม จะขาดไปไม่ได้ แม้ แต่ ้ ่ รายการเดยว ี รูปแบบการลงรายการอ้ างอิง (นงเยาว์, 2548) ในการทําวิจยหรื อวิทยานิพนธ์นน ขันตอนหนึงที่มีความสําคัญอย่างยิ่งคือ การทบทวน ั ั้ ้ ่ วรรณกรรม เพื่อให้ ทราบว่าเรื่ องที่กําลังจะดําเนินการนัน มีงานวิจยเรื่ องใดที่เกี่ยวข้ องบ้ าง เพื่อใช้ ้ ั ประกอบในการวิเคราะห์ วิจารณ์ หรื อเปรี ยบเทียบกับงานที่กําลังจะดําเนินการ ซึงในการนําข้ อมูล ่ จากแหล่งต่างๆมาอ้ างอิงในงานวิจยของเรานัน จะต้ องมีการอ้ างถึงแหล่งที่มาของข้ อมูลนันๆ เพื่อ ั ้ ้ ประโยชน์ในการตรวจสอบ รวมทังให้ เกียรติแก่เจ้ าของผลงานด้ วย ้ ในการอ้ างถึงนันมีรูปแบบหรื อสไตล์ในการเขียนหลายสไตล์ ขึ ้นอยูกบข้ อกําหนดของแต่ ้ ่ ั ละหนวยงาน/องคกร สาขาวชาและของวารสารแตละช่ือเร่ื อง ตวอยางสไตล์ในการลงรายการ ่ ์ ิ ่ ั ่ อ้างอง มีดงนี ้ ิ ั 1. APA Style (American Psychological Association) เป็นสไตล์ในการลงรายการอ้างองท่ีได้รับความนยมมากทางด้านสงคมศาสตร์ เชน ิ ิ ั ่ จตวทยาและด้านการศกษา รูปแบบการลงรายการรูปแบบ APA สามารถดรายละเอียดได้จาก ิ ิ ึ ู http://www.liu.edu/cwis/cwp/library/workshop/citapa.htm 2. MLA Style (Modern Language Association) เป็นสไตล์ท่ีใช้มากในด้านการศกษาภาษาองกฤษ การเปรียบเทียบวรรณคดี การวจารณ์ ึ ั ิ วรรณกรรม และบางสาขาในหมดมนุษยศาสตร์ ตัวอยางรูปแบบการลงรายการรูปแบบ MLA ดูได้ ่ จาก http://www.liu.edu/cwis/cwp/library/workshop/citmla.htm 3. Chicago Style ใช้ในการอ้างองของทกสาขาวชา ตวอยางรูปแบบการลงรายการแบบ Chicago สามารถดู ิ ุ ิ ั ่ ได้จาก http://www.liu.edu/cwis/cwp/library/workshop/citchi.htm 4. Harvard Style เป็นรูปแบบการลงรายการสไตล์หนงท่ีมีผ้ นยมใช้มาก ตวอยางรูปแบบการลงรายการ ดูได้ ่ึ ู ิ ั ่ จาก http://www.usq.edu.au/library/infoabout/ref_guides/harvardonline.htm 4 รูปแบบการเขียนอางอิงและบรรณานุกรม | อดุลยเ์ ดช ไศลบาท ้
  • 5. 5. Vancouver Style เป็นรูปแบบการลงรายการอ้างองท่ีนยมใช้ในสาขาแพทย์ ตวอยางรูปแบบการลงรายการ ดู ิ ิ ั ่ ได้จาก http://www.library.uwa.edu.au/guides/citingsources/vancouver.html นอกเหนือจากนี ้ ยงมี รูปแบบการลงรายการตางๆ อีก 1,000 กวารูปแบบ ซงสามารถใช้ได้ ั ่ ่ ่ึ จากโปรแกรม EndNote วธีเขียนบรรณานุกรม ิ รูปแบบการเขียนบรรณานุกรมของแต่ละที่อาจจะแตกต่างกัน การเลือกใช้ รูปแบบใดก็เป็ น สิทธิ์ของผู้เขียนบทนิพนธ์ที่จะเลือกใช้ แต่เมื่อตัดสินใจใช้ แบบใดแล้ ว ก็ควรเป็ นแบบเดียวกัน ทังหมด ้ รูปแบบการเขียนบรรณานุกรมตามแบบ APA Style (American Psychological Association, 2001; Delaney, 2009) 1. วารสารทีเ่ ป็นภาษาไทย : จากการออนไลน์และรูปเล่ม (ถาเป็นออนไลน์ตองใส่ค่า ้ ้ Digital Object Identifier; DOI) ช่ ือ ช่ ือสกุล. (ปีที่พิมพ์). ช่ ือเร่ ือง. ชื่อวารสาร, ปี ที(ฉบับท่ ี), หน้า. doi: xxxxxx ่ เชน่ ศริลกษณ์ วงษ์วจตสข, และฉัตรปวีณ์ จรัสวราวัฒน์. (2551). การแก้ ปัญหาระดับตะกัวในเลือดสูง. ิ ั ิิ ุ ่ ความปลอดภยและส่ิ งแวดลอม, 18(2), 26-31. ั ้ 2. วารสารทีเ่ ป็นภาษาไทย: จากฐานขอมูลที่ไม่มีค่า Digital Object Identifier; DOI ้ ช่ ือ ช่ ือสกุล. (ปีที่พิมพ์). ช่ ือเร่ ือง. ชื่อวารสาร, ปี ที่(ฉบับท่ ), หน้า. เข้ าถึงได้ จาก ี ชื่อฐานข้ อมูล. เชน่ กศมา แก้ วอินทะจักร์ , คน เลย์ คู, และกนก รัตนะกนกชย. (2550). การทําให้ endoxylanase จาก ุ ุ ิ ั alkaliphilic Bacillus sp. สายพนธ์ุ BK บริสทธิ์และสมบัตในการยึดเกาะและย่อย ั ุ ิ พอลิแซ็กคาไรด์ที่ไม่ละลายนํ ้า. Thai Journal of Biotechnology, 8(1), 33-43. เข้าถงได้ ึ จาก ฐานข้อมลวจยไทย. ู ิ ั 5 รูปแบบการเขียนอางอิงและบรรณานุกรม | อดุลยเ์ ดช ไศลบาท ้
  • 6. 3. วารสารทีเ่ ป็นภาษาองกฤษ : จากการออนไลน์และรูปเล่ม (ถาเป็นออนไลน์ตองใส่ค่า ั ้ ้ Digital Object Identifier; DOI) ช่ ือสกุล, อักษรย่ อตัวแรกของชื่อต้ น. อักษรย่ อตัวแรกของชื่อกลาง. (ปีที่พิมพ์). ช่ ือเร่ ือง. ชื่อวารสาร, Volume(Issue), หน้า. doi: xxxxxx เชน ่ Cohen, B. S., Bronzaft, A. L., Heikkinen, M., Goodman, J., & N´adas, A. (2008). Airport- related air pollution and noise. Journal of Occupational and Environmental Hygiene, 5, 119-129. doi: 10.1080/15459620701815564 4. วารสารทีเ่ ป็นภาษาองกฤษ: จากฐานขอมูลที่ไม่มีค่า Digital Object Identifier; DOI ั ้ ช่ ือสกุล, อักษรย่ อตัวแรกของชื่อต้ น. อักษรย่ อตัวแรกของชื่อกลาง. (ปีที่พิมพ์). ช่ ือเร่ ือง. ชื่อวารสาร, Volume(Issue), หน้า. Retrieved from ชื่อฐานข้ อมูล database. เชน ่ Strauss, W. M., Malaney, G. W., & Tanner, R. D. (1984). The Impedance Method for MonitoringTotal Coliforms in Wastewaters. Folia Microbiologica, 29(2), 162-169. Retrieved from SpringerLink database. 5. หนงสือทีเ่ ป็นภาษาไทย ั ช่ ือ ช่ ือสกุล. (ปีที่พิมพ์). ชื่อเรื่อง. (ครังท่ พมพ์). เมืองท่ พมพ์ : ผู้รับผิดชอบในการ ้ ี ิ ี ิ พมพ์. ิ เชน ่ เกรียงศกดิ์ อดมสนโรจน์. (2542). การบําบดน้ําเสีย: Wastewater treatment. (พมพ์ครังท่ี 2). ั ุ ิ ั ิ ้ กรุงเทพฯ: สยามสเตชั่นเนอร่ี ซพพลายส์. ั 6 รูปแบบการเขียนอางอิงและบรรณานุกรม | อดุลยเ์ ดช ไศลบาท ้
  • 7. 6. หนงสือทีเ่ ป็นภาษาองกฤษ ั ั ช่ ือสกุล, อักษรย่ อตัวแรกของชื่อต้ น. อักษรย่ อตัวแรกของชื่อกลาง. (ปีที่พิมพ์). ชื่อเรื่ อง. ครังท่ พมพ์. เมืองท่ พมพ์ : ผู้รับผิดชอบในการพิมพ์ . ้ ี ิ ี ิ เชน ่ Brauer, R. L. (2005). Safety and health for engineers. (2nd ed.). Hoboken, NJ: John Wiley & Sons. 7. เวปไซด์ภาษาไทย ช่ ือ ช่ ือสกุล. (ปี ที่พมพ์ ). ชื่อเรื่ อง. วันท่ ค้นข้อมูล วันท่ ี เดือน ปี , จาก เจ้ าของเวป ิ ี ไซด์ เวปไซด์ : http://www.xxxxxxxxxxxx เชน่ สํานกอนามยสงแวดล้อม. (2552). งานรณรงค์ สถานีขนส่งสะอาด ป้ องกันการระบาดไข้หวัดใหญ่ ั ั ่ิ สายพนธ์ ุใหม่ชนิด A H1N1. วันที่ค้นข้ อมูล 22 มิถนายน 2552, จาก กรมอนามย ั ุ ั กระทรวงสาธารณสข เวปไซด์: http://203.157.64.26/ewtadmin/ewt/env ุ /ewt_news.php?nid=82&filename=index 8. เวปไซด์ภาษาองกฤษ ั ช่ ือสกุล, อักษรย่ อตัวแรกของชื่อต้ น. อักษรย่ อตัวแรกของชื่อกลาง. (ปี ที่พมพ์ ). ิ ชื่อเรื่ อง. Retrieved เดอน วันท่ ี, ปี , from เจ้ าของเวปไซด์ Web site: ื http://www.xxxxxxxxxxxx เชน ่ United States Environmental Protection Agency. (n.d.). Organic gases: Volatile organic compounds-VOCs. Retrieved June 22, 2009. from http://www.epa.gov/iaq /voc.html 7 รูปแบบการเขียนอางอิงและบรรณานุกรม | อดุลยเ์ ดช ไศลบาท ้
  • 8. 9. วิทยานิพนธ์ทีเ่ ป็นภาษาไทย ช่ ือ ช่ ือสกุล. (ปีที่พิมพ์). ชื่อเรื่อง. ระดบวทยานิพนธ์, ชื่อมหาวิทยาลัย. ั ิ เชน ่ ไกรศักดิ์ สินโรจน์. (2542). การบําบดน้ําเสียดวยเปลือกมงคด . วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตร ั ้ ั ุ มหาบัณฑิต, มหาวทยาลยเกษตรศาสตร์. ิ ั ชมภนช วรรณาลกษ์. (2550). การศึกษาความเมือยลาในคนงานเก็บค่าทางด่วน. วิทยานิพนธ์ ู ุ ั ่ ้ วทยาศาสตรดษฎีบณฑต, มหาวทยาลยมหดล. ิ ุ ั ิ ิ ั ิ 10. วิทยานิพนธ์ทีเ่ ป็นภาษาองกฤษ ั ช่ ือสกุล, อักษรย่ อตัวแรกของชื่อต้ น. อักษรย่ อตัวแรกของชื่อกลาง. (ปีที่พิมพ์). ชื่อเรื่ อง. ระดบวทยานิพนธ์, ชื่อมหาวิทยาลัย , รัฐท่ มหาวทยาลัยตงอย่ .ู ั ิ ี ิ ั้ เชน ่ Wilfley, D. E. (1989). Interpersonal analyses of bulimia. Doctoral dissertation, University of Missouri, Columbia. Almeida, D. M. (1990). Fathers’ participation in family work. Master’s thesis, University of Victoria, Victoria, British Columbia, Canada. หมายเหตุ - ถ้าเป็นมหาวทยาลยในสหรัฐอเมริกา ให้ใสเ่ ฉพาะ ชื่อรัฐ ท่ีมหาวทยาลยตงอยู่ ตอจาก ิ ั ิ ั ั้ ่ ช่ือมหาวทยาลย ิ ั - ถ้ าเป็ นมหาวิทยาลัยในประเทศอื่น ให้ ใส่ ชื่อเมือง, ช่ ือรัฐ, ช่ ือประเทศ ท่ี มหาวทยาลยตงอยู่ ตอจากช่ือมหาวทยาลย ิ ั ั้ ่ ิ ั 11. หนงสือพิมพ์ภาษาไทย ั ช่ ือ ช่ ือสกุล. (วัน เดือน ปี ที่พมพ์ ). ช่ ือเร่ ื อง. ชื่อหนังสือพิมพ์ , หน้า. ิ เชน ่ สาธิต บษบก. (22 มิถนายน 2552). พบฟอสซิลเต่าสกุลใหม่ และชนิดใหม่ของโลกในไทย. ไทยรัฐ, ุ ุ หน้ า 5. 8 รูปแบบการเขียนอางอิงและบรรณานุกรม | อดุลยเ์ ดช ไศลบาท ้
  • 9. 12. หนงสือพิมพ์ภาษาองกฤษ ั ั ช่ ือสกุล, อักษรย่ อตัวแรกของชื่อต้ น. อักษรย่ อตัวแรกของชื่อกลาง. (ปี , เดอน วันท่ ี ื พมพ์). ช่ ือเร่ ือง. ชื่อหนังสือพิมพ์ , หน้า. ิ เชน ่ Di Rado, A. (1995, March 15). Trekking through college: Classes explore modern society using the world of Star trek. Los Angeles Times, p. A3. 13. กฎหมาย “ชื่ อกฎหมาย” (ปี , วัน เดือน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ ม ตอนที่. หน้า. เชน ่ “ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่ อง หลกเกณฑ์ วธีการและหลกสตรการฝึกอบรม ั ิ ั ู ความปลอดภยในการทํางานในท่ีอบอากาศ พ.ศ. 2549” (2549, 30 พฤศจกายน). ั ั ิ ราชกิจจานเุ บกษา. เลม 123 ตอนท่ี 125 ง. หน้ า 55-64. ่ หลกเกณฑ์การเขียนบรรณานกรม ั ุ 1. เขียนคาวา “เอกสารอ้ างอง” ไว้กลางหน้ากระดาษ หากเป็นบทนพนธ์ภาษาองกฤษให้ ํ ่ ิ ิ ั ใช้คาวา “References” ํ ่ 2. เมื่อเริ่ มต้ นเขียนให้ ชิดขอบกระดาษที่เว้ นไว้ ประมาณ 1 ½ นิ ้ว หากบรรทดเดยวไมจบ ั ี ่ บรรทดทดไปให้ยอเข้ามา 7 ชวงตวอกษร ั ั ่ ่ ั ั 3. เมื่อรวบรวมแหล่งสารนิเทศที่อ้างอิงไว้ ครบถ้ วนทังหมดแล้ ว ให้ นํามาเรี ยงลําดับตาม ้ ตวอกษรของรายการแรก โดยเรียงตามแบบพจนานกรมฉบบราชบณฑตยสถาน โดย ั ั ุ ั ั ิ เรียงลําดบเอกสารอ้างองท่ีเป็นภาษาไทยกอน แล้วจงตามด้วยภาษาองกฤษ ั ิ ่ ึ ั 4. การลงรายช่ือผ้ แตง มีหลกเกณฑ์ดงนี ้ ู ่ ั ั 4.1 ถ้าผ้ แตงมากกวา 1 คน แต่ไม่เกิน 6 คน ให้ ลงชื่อทังหมด ระหว่างชื่อให้ คนด้ วย ู ่ ่ ้ ั่ Comma (,) แล้ วเว้ น 1 วรรค และหลังชื่อคนสุดท้ ายให้ ใส่ Full-stop (.) เชน่ ิ ั ์ิ ุ ิ - ปราณี วมณ, ศกดดา สวทย์, มณี ดวงแดง, ฉตร ดมาก, มณฤดี ศยากลป, ั ี ี ั ์ และอุทิศ แสวงโชค. 9 รูปแบบการเขียนอางอิงและบรรณานุกรม | อดุลยเ์ ดช ไศลบาท ้
  • 10. ถ้าเป็นภาษาองกฤษ ให้ใช้ Surname ขึ้นต้น ตามด้วย Comma (,) เว้น 1 วรรค ั ตามด้วยอกษรตวใหญ่ตวแรกของช่ือต้น ตามด้วย Full-stop (.) และถ้ามีช่ือกลางก็ให้ใช้ตวอกษร ั ั ั ั ั ตวใหญ่ตวแรกของช่ือกลาง ตามด้วย Full-stop (.) เชน ั ั ่ - Smith, A. K., Jones, B. C., Bloggs, T. C., Ashe, P. T., Fauci, A. S., & Wilson, J. D. 4.2 ถ้าผ้ แตงมากกวา 6 คน ให้ ลงชื่อถึงคนที่ 6 แล้วลงคาวา “และคณะ” ในภาษาไทย ู ่ ่ ํ ่ แล้วตามด้วย Full-stop (.) เชน ่ ิ ั ิ์ ุ ิ - ปราณี วมณ, ศกดดา สวทย์, มณี ดวงแดง, ฉตร ดมาก, มณฤดี ศยากลป, ั ี ี ั ์ อุทิศ แสวงโชค, และคณะ. ถ้าเป็นภาษาองกฤษให้ ลงชื่อถึงคนที่ 6 แล้วลงคาวา “et al” ในภาษาองกฤษ ั ํ ่ ั แล้วตามด้วย Full-stop (.) โดยไมต้องมี And Sign (&) เชน ่ ่ - Smith, A. K., Jones, B. C., Bloggs, T. C., Ashe, P. T., Fauci, A. S., Wilson, J. D., et al. 4.3 กรณีที่ไม่ปรากฏชื่อผู้แต่ง ให้ เลื่อนรายการชื่อเรื่ องหรื อรายการที่อยูถดไปมาเป็ น ่ ั รายการแรกแทนชื่อผู้แต่ง 4.4 ในกรณีที่วสดุอ้างอิงมีเฉพาะชื่อบรรณาธิการ (Editor) ให้ลงชื่อผู้แต่งตามด้วย ั Full-stop (.) แล้ วเว้ น 1 วรรค และ ตามด้วยคาวา “(บรรณาธิการ)” ส่วนสารนิเทศที่เป็ น ํ ่ ภาษาองกฤษให้ใช้คาวา “(Ed.)” หรือ “(Eds.)” ั ํ ่ 4.5 ในกรณีที่ใช้ ชื่อหน่วยงานราชการเป็ นชื่อผู้แต่งหนังสือ ให้ ใช้ หน่วยงาน ระดบกรม ั หรือเทียบเท่ าขึนไป ส่วนหน่วยงานตังแต่ระดับกองหรื อเทียบเท่าลงไป ถึงแม้ จะเป็ นเจ้ าของ ้ ้ ผลงาน ก็ให้ ใช้ ชื่อหน่วยงานระดับกรมหรื อเทียบเท่าขึ ้นไป ส่วนหน่วยงานย่อยที่เป็ นเจ้ าของผลงาน ให้ ลงเป็ นชื่อผู้รับผิดชอบในการพิมพ์ หมายเหตุ มหาวทยาลย เป็นหนวยงานเทียบเทาระดบกรม ิ ั ่ ่ ั 4.6 หน่วยงานรัฐวิสาหกิจและภาคเอกชน ให้ ใช้ ชื่อหน่วยงานนันๆ หรื อบริษัท ธนาคาร ้ ฯลฯ เป็ นชื่อผู้แต่ง 10 รูปแบบการเขียนอางอิงและบรรณานุกรม | อดุลยเ์ ดช ไศลบาท ้
  • 11. 4.7 ในกรณีที่ไม่สามารถหาสารนิเทศต้ นฉบับของวัสดุอ้างอิงได้ ให้ ระบุสารนิเทศรอง เชน ่ - สารนิเทศต้ นฉบับ คือ ทองฉัตร หงส์ทอง, 2517 สารนเิ ทศรอง คอ นวลจนทร์ ผองอําไพ, 2542 ื ั ่ ลงเป็ น นวลจนทร์ ผองอําไพ. (2542). การศึกษา. (พมพ์ครังท่ี 4). กรุงเทพฯ: ั ่ ิ ้ สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. - สารนิเทศต้ นฉบับ คือ Regier, A. A., Narrow, W. E., & Rae, D. S., 1990 สารนเิ ทศรอง คอ Coltheart, M., Curtis, B., Atkins, P., & Haller, M., 1993 ื ลงเป็ น Coltheart, M., Curtis, B., Atkins, P., & Haller, M. (1993). Models of reading aloud. Psychological Review, 100(2), 589-608. 5. การลงรายการช่ือเร่ื อง 5.1 กรณีเป็ นวารสาร ให้ ใช้ ตวปกติ ไม่ต้องขีดเส้ นใต้ ไม่ต้องทําตัวหนา และไม่ต้องทํา ั ตวเอน สวนช่ือเร่ื องภาษาองกฤษ ให้เขียนอกษรตวแรกของคาแรกด้วยตวพมพ์ ั ่ ั ั ั ํ ั ิ ใหญ่ นอกนันเป็ นตัวพิมพ์เล็ก ยกเว้ นชื่อเฉพาะอื่นๆ และอักษรตัวแรกของคําแรก ้ ท่ีเป็นช่ือขยายความ เชน ่ - การใช้ จลินทรี ย์อีเอ็มในถังเติมอากาศของระบบเอเอสเพื่อการบําบัดนํ ้าเสีย ุ จากโรงงานผลิตผลิตภัณฑ์ไส้ กรอก. - Maximum acceptable weight of lift in Thai female: Psychophysical approach. 5.2 กรณีเป็ นหนังสือให้ ใช้ ตวเอน ไม่ต้องขีดเส้ นใต้ ไม่ต้องทําตัวหนา ส่วนชื่อเรื่ อง ั ภาษาองกฤษ ให้เขียนอกษรตวแรกของคาแรกด้วยตวพมพ์ใหญ่ นอกนนเป็น ั ั ั ํ ั ิ ั้ ตัวพิมพ์เล็ก ยกเว้ นชื่อเฉพาะอื่นๆ และอักษรตัวแรกของคําแรกที่เป็ นชื่อขยาย ความ เชน ่ - ค่มือทําวิทยานิพนธ์. ู - How to write a research paper. 11 รูปแบบการเขียนอางอิงและบรรณานุกรม | อดุลยเ์ ดช ไศลบาท ้
  • 12. 6. การลงรายการชื่อวารสาร ให้ ใช้ เหมือนการลงรายการชื่อหนังสือ และให้ ลงชื่อเต็ม ห้ ามใช้ช่ือยอ เชน ่ ่ - วารสารอนามยส่ิ งแวดลอม. ั ้ - Journal of Occupational and Environmental Hygiene. หมายเหตุ สามารถดช่ือเตมของวารสารได้จาก ู ็ http://www.ncbi.nlm.nih.gov/sites/entrez?db=journals 7. การลงรายการครังท่ีพมพ์ ตังแต่พิมพ์ครังที่ 2 เป็ นต้ นไป จึงจะใส่ไว้ ในวงเล็บหลัง ้ ิ ้ ้ รายการช่ือเร่ื อง ถ้าเป็นภาษาองกฤษให้ใช้คายอวา “ed.” เชน ั ํ ่ ่ ่ - (พมพ์ครังท่ี 3). ิ ้ - (3rd ed.). 8. การลงรายการท่ีเก่ียวข้องกบการพมพ์ ั ิ เมืองที่พิมพ์ ให้ ลงเฉพาะชื่อเมืองหรื อชื่อจังหวัด ซึงเป็ นที่ตงของผู้รับผิดชอบในการพิมพ์ ไม่ ่ ั้ ต้ องใส่ชื่อประเทศ สําหรับชื่อเมืองในสหรัฐอเมริกา หากเป็ นชื่อเมืองที่มีอยูในหลายรัฐ เมืองที่ไม่ ่ เป็ นที่ร้ ูจกโดยทัวไป หรื อซํ ้ากับชื่อเมืองในประเทศอื่น ให้ ใส่ชื่อย่อรัฐกํากับ ส่วนชื่อเมืองในประเทศ ั ่ อื่นๆ ถ้ าเป็ นเมืองที่ร้ ูจกอย่างกว้ างขวาง ไม่ต้องใส่ชื่อประเทศกํากับ เช่น ั - กรุงเทพมหานคร ลงว่า กรุงเทพฯ - ชลบุรี ลงว่า ชลบุรี - Boston, MA ลงวา Boston ่ - Hillsdale, NJ ลงวา Hillsdale, NJ ่ หมายเหตุ รายชื่อเมืองที่ไม่ต้องมีชื่อรัฐ หรื อชื่อประเทศกํากับ ได้ แก่ Baltimore New York Amsterdam Paris Vienna Philadelphia Jerusalem Rome Chicago Moscow Boston London Stockholm Tokyo Milan Los Angeles San Francisco ผู้รับผิดชอบในการพิมพ์ หากจดทําโดยหนวยงาน องคกร สมาคม ทงทางราชการ และเอกชน ั ่ ์ ั้ ให้ นํามาใส่ลงในรายการผู้รับผิดชอบในการพิมพ์ ได้ ตงแต่หน่วยงานระดับย่อยที่เป็ นผู้จดทําจริงๆ ั้ ั และหน่วยงานระดับใหญ่ (ระดับกรมหรื อเทียบเท่า) แทนชื่อสํานักพิมพ์ โรงพิมพ์ หรื อบริษัทที่เป็ นผู้ จดพมพ์ ั ิ ถ้ าปรากฏชื่อผู้รับผิดชอบในการพิมพ์ ที่มีทงสํานักพิมพ์และโรงพิมพ์ ให้ ใส่เฉพาะชื่อ ั้ สํานกพมพ์ โดยตดคาวา “สํานกพมพ์” ออก ยกเว้ น สํานกพมพ์ของมหาวทยาลย ให้ใสคาวา ั ิ ั ํ ่ ั ิ ั ิ ิ ั ่ ํ ่ “สํานกพมพ์” ลงไปด้วย เชน ั ิ ่ 12 รูปแบบการเขียนอางอิงและบรรณานุกรม | อดุลยเ์ ดช ไศลบาท ้
  • 13. - สํานกพมพ์ดอกหญ้า ลงวา ดอกหญ้า ั ิ ่ - สํานกพมพ์มหาวทยาลยธรรมศาสตร์ ลงวา สํานกพมพ์ ั ิ ิ ั ่ ั ิ มหาวทยาลยธรรมศาสตร์ ิ ั - McGraw-Hill Book Company ลงวา McGraw-Hill ่ - R&R Bowker Publishing Company ลงวา R&R Bowker ่ ถ้าปรากฏวา มีเฉพาะช่ือโรงพมพ์ ให้ลงคาวา “โรงพิมพ์” ด้วย เชน ่ ิ ํ ่ ่ - โรงพิมพ์ชลบุรีการพิมพ์ ลงว่า โรงพิมพ์ชลบุรีการพิมพ์ - Leisure Press ลงวา Leisure Press ่ ถ้าปรากฏวา มีเฉพาะช่ือบริษท ให้จดคาวา “บริ ษท...จํากัด” ออก เชน ่ ั ั ํ ่ ั ่ - บริ ษัท นานมี จํากัด ลงวา นานมี่ - Clayton Company ลงวา Clayton่ ถ้ าไม่ปรากฏชื่อผู้รับผิดชอบในการพิมพ์ ให้ ระบุ “ม.ป.ท.” (ไม่ปรากฏที่พิมพ์) สําหรับวัสดุ อ้างองภาษาองกฤษให้ใช้ “n.p.” (No Place of Publishing) ิ ั 9. การลงรายการเก่ียวกบปีท่ีพมพ์ ให้ ลงปี ที่พิมพ์ของวัสดุอ้างอิงตามที่ปรากฏ ด้ วย ั ิ ตัวเลขอารบิค และถ้ าไม่ปรากฏปี ที่พิมพ์ ให้ ระบุ “ม.ป.ป.” (ไม่ปรากฏปี ที่พิมพ์) และ “n.d.” (No Date) สําหรับวสดอ้างองภาษาองกฤษ ั ุ ิ ั 13 รูปแบบการเขียนอางอิงและบรรณานุกรม | อดุลยเ์ ดช ไศลบาท ้
  • 14. เอกสารอ้ างอิง นงเยาว์ เปรมกมลเนตร. (2548). รูปแบบการลงรายการอางอิง . วันที่ค้นข้ อมูล 15 มิถนายน 2552, ้ ุ จากศนย์ดชนีการอ้างองวารสารไทย เวปไซด์ : http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html ู ั ิ /CitationStyles.html มหาวทยาลยบรพา. (2544). สารนิเทศและการศึกษาคนควา . ชลบุรี: ภาควชาบรรณารักษศาสตร์ ิ ั ู ้ ้ ิ คณะมนษยศาสตร์ มหาวทยาลยบรพา. ุ ิ ั ู American Psychological Association. (2001). Publication manual of the American Psychological Association. (5th ed.). Washington, DC: Author. Delaney, R. (2009). APA Citation Style. Retrieved June 15, 2009, from Long Island University Web site: http://www.liu.edu/cwis/cwp/library/workshop/citapa.htm 14 รูปแบบการเขียนอางอิงและบรรณานุกรม | อดุลยเ์ ดช ไศลบาท ้