SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 10
Descargar para leer sin conexión
ส่ วนประกอบของโปรแกรม Visual Basic 6




    ส่ วนประกอบ                                        รายละเอียด
                   เป็ นส่ วนที่ใช้สำหรับจอภำพของโปรแกรมขึ้นใช้งำน โดยจะทำหน้ำที่เป็ น
       Form
                   Background ขอจอภำพ
                   เป็ นส่ วนที่ประกอบด้วย Icon ต่ำง ๆ หรื อ ที่เรี ยกว่ำ Control ที่จะนำไปใช้งำน
      Toolbox
                   โดยกำรนำไปวำงบน Form
                   เป็ นเครื่ องมือที่ช่วยในกำรพัฒนำโปรแกรม หรื อเป็ นเครื่ องมือที่มีกำรเรี ยกใช้
      Toolbar
                   บ่อย ๆ
  Project Explorer เป็ นส่ วนที่ใช้สำหรับเรี ยก Form ต่ำง ๆ ขึ้นมำแก้ไข ในกรณี ที่มี Form มำกกว่ำ 1
      Window       Form
                   เป็ นจอภำพที่ใช้กำหนดคุณสมบัติต่ำง ๆ ของ Project ที่เรำได้ออกแบบไว้เพื่อให้
 Properties Window
                   ทำงำนตำมควำมต้องกำร
                                                                           ่
Form Layout Window ใช้สำหรับกำหนดตำแหน่งของ Form ที่จะให้แสดงอยูในจอภำพเมื่อทำกำร Run
ทูลบาร์ (Toolbar) เป็ นแถบสัญลักษณ์ที่ใช้สำหรับเข้ำถึงชุดคำสั่งของ Visual Basic ได้ทนที
                                                                                       ั
โดยจะนำคำสั่งที่ถูกใช้งำนบ่อย ๆ มำแสดง




ทูลบาร์ สามารถแบ่ งออกได้ เป็ น 4 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ
1. Standard Toolbars เป็ นทูลบำร์มำตรฐำนประกอบด้วยคำสั่งที่เกี่ยวกับกำรจัดกำร Project
2. Edit Toolbars เป็ นทูลบำร์ที่ประกอบไปด้วยคำสั่งที่ใช้สำหรับช่วยในกำรเขียนโค้ดใน code
editor
3. Debug Toolbars เป็ นทูลบำร์ที่ประกอบไปด้วยคำสั่งที่ใช้สำหรับตรวจสอบกำรทำงำนกำร
ประมวลผลโปรแกรม
4. Form Editor Toolbars เป็ นทูลบำร์ที่ประกอบไปด้วยคำสังที่ใช้สำหรับช่วยในกำรปรับ
                                                          ่
                                                  ่
ขนำด, ย้ำย, เปลี่ยนตำแหน่งคอนโทรลต่ำง ๆ ที่อยูบนฟอร์ม

   ไอคอน               ชื่อ                         รายละเอียดการใช้ งาน
               Add Standard     ใช้สำหรับเปิ ด Project ใหม่ เพื่อออกแบบ Program ตำมที่
               EXE Project      ต้องกำร
                                ใช้ในกำรเพิ่ม Form เข้ำไปไว้ใน Project ที่มีกำรใช้งำน
               Add Form
                                มำกกว่ำหนึ่ง Form
                                ใช้เรี ยก Menu Editor ซึ่งเป็ นเครื่ องที่ใช้ในกำรสร้ำง Menu
               Menu Editor
                                       ั
                                ให้กบ Form
               Open             ใช้สำหรับเรี ยก Project งำนที่ได้บนทึกมำก่อนหน้ำแล้ว
                                                                  ั
               Save             ใช้ในกำรบันทึก Project ที่ได้สร้ำงขึ้นมำ
                                                                 ่
                                ใช้สำหรับตัด Object ต่ำง ๆ ที่อยูบน Form เพื่อนำไปใช้งำน
               Cut
                                ตำมที่ตองกำร
                                       ้
               Copy             ใช้สำหรับ Copy Object บน Form
               Paste            ใช้สำหรับ Paste Object ที่ได้ทำกำร Cut หรื อ Copy ไว้
ใช้สำหรับค้นหำคำใน Editor ซึ่งใช้ในกรณี ที่มีกำรเขียนคำสั่ง
Find
                   ใน Form Editor
Undo Typing        ใช้สำหรับยกเลิกคำที่พิมพ์ใน Editor ใน Form Editor
Redo Typing        ใช้สำหรับทำซ้ ำคำที่พิมพ์ใน Editor
                   ใช้สำหรับ Run Project ที่ได้จดทำขึ้น เพื่อดูผลลัพธ์ก่อนกำร
                                                ั
Start
                   นำไปใช้งำนต่อไป
Break              ใช้สำหรับหยุดกำรทำงำน Project ชัวครำว
                                                   ่
End                ใช้สำหรับหยุดหรื อยกเลิกกำร Run Project
                   ใช้แสดงคุณสมบัติหรื อว่ำรำยละเอียดของ Project ว่ำ
Project Explorer
                   ประกอบไปด้วย Form หรื อว่ำ Module ใดบ้ำง
Project Window ใช้สำหรับกำหนดคุณสมบัติของ Project และ Form
Form Layout        ใช้สำหรับเรี ยกจอภำพ Form Layout ซึ่งใช้แสดงตำแหน่ง
window             ของ Form บนหน้ำจอ
                   ใช้สำหรับเรี ยกจอภำพ Object Browser ซึ่งใช้แสดง Class
Object Browser
                   และสมำชิกของแต่ละ Class
Tool Box           ใช้สำหรับเรี ยก Tool Boxขึ้ นมำบนจอภำพ
ตำแหน่งของ
                   ใช้บอกตำแหน่งในแกน x และ y ของ Form
Form
ขนำดของ Form ใช้บอกถึงขนำดของ Form ตำมแนวแกน x และ y
Toolbox คือ แถบสัญลักษณ์ Controls ต่ำง ๆ ที่ใช้สำหรับพัฒนำโปรแกรมประยุกต์ แบ่ง เป็ น
2 กลุ่ม คือ
  1. คอนโทรลภายใน (Intrinsic controls) เป็ นชุดคอนโทรลมำตรฐำนของ Visual Basic ทุก ๆ
ครั้งที่มีกำรเรี ยกใช้ Form เพื่อสร้ำงโปรแกรมประยุกต์ คอลโทรลชุดนี้จะถูกเรี ยกขึ้นมำอัตโนมัติ
สำมำรถเลือกใช้งำนคอลโทรลกลุ่มนี้ได้ทนที    ั




ไอคอน ชื่อตัว Control    ชื่อ Class                          คาอธิบาย
     Check box        CheckBox              ั
                                      ใช้กบกำรเลือกแบบ ถูก/ผิด ( True/False,
                                      Yes/No)
         Combo box      ComboBox      เป็ นตัว control เป็ นกำรผสมระหว่ำง Text box
                                      กับ List box ซึ่งจะปรำกฏรำยกำร เมื่อมีกำรคลิก
                                      ลูกศร และ Combo box ไม่สนับสนุนกำรเลือก
                                      แบบหลำยค่ำ
         Command button CommandButton ปุ่ มคำสั่งเป็ นตัว control ทีใช้ในทุกฟอร์ม
                                      ตำมปกติจะเขียนคำสั่งใน Click event procedure
                                      ของตัว control นี้
Data            Data          เป็ นตัว control ที่สำมำรถรวมข้อมูลกับฐำนข้อมูล
                              ได้ และเป็ นส่ วนที่ Visual Basic ให้ผใช้สำมำรถ
                                                                    ู้
                              ติดต่อระหว่ำงตัว control บนฟอร์มกับฟิ ลด์ใน
                              table ของฐำนข้อมูล โดย Data จะทำงำนกับ
                              Database Jet ของฐำนข้อมูล แต่ไม่สำมำรถ
                              ทำงำนกับ ActiveX Data Object (ADO) ได้
Directory List DirListBox     เป็ น List box แบบหนึ่ง ที่แสดงไดเรคทอรี และ
box                           พำร์ทที่เลือก
Drive List box DriveListBox คล้ำยกับ Combo box ที่ใช้เลือกชื่อของไดร์ฟใน
                              ระบบ
File list box   FileListBox   เป็ น List box ชนิดพิเศษที่ใช้แสดงชื่อไฟล์ใน
                              ไดเรคทอรี
Frame           Frame         สำมำรถใช้เป็ น container สำหรับตัว control อื่น
Horizontal และ HScrollBar และ ใช้เป็ นแถบเลื่อนแบบ stand-alone แต่มกจะไม่
                                                                       ั
Vertical Scroll VScrollBar    ค่อยมีกำรใช้ เพรำะตัว control อื่น ๆ ส่ วนใหญ่
Bar                           จะมีแถบเลื่อนของตัวเอง
Image           Image           เป็ นตัว control ใช้เก็บภำพคล้ำยกับ Picture box
                                แต่ไม่สำมำรถทำงำนแบบ container ได้ Image มี
                                ข้อดีที่ใช้ทรัพยำกรของระบบน้อยกว่ำ Picture
                                box
Label           Label           เป็ นตัว control ที่ใช้แสดงข้อควำม หรื อป้ ำยชื่อ
Line            Line            เป็ นตัว control ใช้สำหรับกำรตกแต่งด้ำน
                                กรำฟฟิ ก
List box        ListBox         เป็ นตัว control ที่เก็บรำยกำรของค่ำ และให้ผใช้
                                                                              ู้
                                เลือก ซึ่งสำมำรถเป็ นกำรเลือกค่ำเดียวหรื อหลำย
                                ค่ำ ขึ้นกับกำรกำหนดคุณสมบัติ MultiSelect
OLE container OLE               เป็ นตัว control ที่สำมำรถเป็ น Host window
ั
                                        ให้กบโปรแกรมภำยนอก เช่น Microsoft Excel
                                        หรื ออำจจะกล่ำวว่ำเป็ นกำรสร้ำง window ให้กบ       ั
                                        โปรแกรมอื่นบนโปรแกรมประยุกต์ Visual Basic
        Option button   OptionButton    เป็ นตัว control ใช้กบกลุ่มตัว control โดยให้
                                                                ั
                                        เลือกได้เพียงตัว control เดียวต่อครั้งหนึ่ง เมื่อมี
                                        กำรเลือกตัว control ในกลุ่มแล้ว ตัว control อื่น
                                        ในกลุ่มจะเปลี่ยนจำกกำรเลือกโดยอัตโนมัติ
        Picture box     PictureBox      ใช้แสดงภำพในฟอร์แมต BMP, DIB (bitmap),
                                        ไอคอน (ico), WMF (metafile), GIF และ JPEG
                                        เป็ นต้น
        Shape           Shape           เป็ นตัว control ใช้สำหรับกำรตกแต่งด้ำน
                                        กรำฟฟิ ก
        Text box        TextBox         เป็ นตัว control ที่เป็ นฟิ ลด์ ใช้เก็บตัวอักษรที่
                                        สำมำรถแก้ไขโดยผูใช้ได้ และได้รับกำรใช้งำน
                                                                  ้
                                        มำก
        Timer           Timer           เป็ นตัว control พิเศษที่ไม่เห็นเมื่อเวลำเรี ยกใช้
                                        เป็ นตัวจัดกำรและควบคุมที่เกี่ยวกับเวลำ

2. คอนโทรล ActiveX (ActiveX controls) เป็ นชุดคอนโทรลเพิ่มเติมที่ไมโครซอฟท์จดเตรี ยม
                                                                            ั
ไว้ เพื่อเพิมขีดควำมสำมำรถในกำรพัฒนำโปรแกรมประยุกต์ กำรเพิมคอนโทรลกลุ่มนี้เข้ำมำใน
            ่                                                ่
ทูลบ๊อกซ์ทำโดยเลือกเมนู Project/Components
Form Designer
เป็ นส่ วนที่ใช้ออกแบบกำรแสดงผลส่ วนที่ใช้ติดต่อกับผูใช้ ฟอร์มเป็ นออบเจ็กต์แรกที่ถูกเตรี ยม
                                                     ้
ไว้ให้ใช้งำน คอลโทรลทุกตัวที่ตองกำรใช้งำนจะต้องนำไปบรรจุไว้ในฟอร์ม นำคอลโทรลมำ
                              ้
ประกอบกันขึ้นเป็ นโปรแกรมประยุกต์ ทุกครั้งที่เปิ ด Visual Basic ขึ้นมำ หรื อ สร้ำง Project
ใหม่จะมีฟอร์มว่ำง 1 ฟอร์มถูกสร้ำงเตรี ยมไว้เสมอ




   Project Explorer
Project Explorer ใช้สำหรับบริ หำรและจัดกำรโปรเจ็กซ์ โดยจะแสดงองค์ประกอบของแต่ละ
โปรเจ็กต์แบบโครงร่ ำงต้นไม้ (tree-view)ตัวโปรเจ็กตจะหมำยถึงโปรแกรมประยุกต์ซ่ ึ งจะอยู่
ส่ วนบนสุ ด ถัดมำ จะแสดงส่ วนประกอบต่ำง ๆ ของโปรเจ็กต์น้ น ๆ ว่ำประกอบด้วยอะไรบ้ำง
                                                              ั
เช่น ฟอร์มโมดูล รำยงำน เป็ นต้น ถ้ำมี 2 โปรเจ็กต์ข้ ึนไป ก็จะแสดงแยกออกเป็ นส่ วนต่ำงหำก
อีกโปรเจ็กต์ ถ้ำต้องกำรใช้งำนส่ วนใด ของโปรเจ็กต์ไหนก็สำมำรถคลิ๊กเลือกได้ทนที ั
Project Explorer แบบโปรเจ็กต์เดียว และ แบบหลำยโปรเจ็กต์

   ส่ วนประกอบของโปรเจ็กต์

                      คือโปรแกรมประยุกต์ที่พฒนำอยู่ มีนำมสกุล .vbp
                                            ั
Project (n)
                                        ่
                      เป็ นฟอร์มที่มีอยูในโปรเจ็กต์น้ น ๆ ใน 1 โปรเจ็กต์อำจมีมำกกว่ำ 1 ฟอร์มก็
                                                         ั
Form (n) .frm
                      ได้ มีนำมสกุล
                      เป็ นที่เก็บชุดคำสั่งที่คุณเขียนขึ้นมำ โดยจะเก็บชุดคำสั่งที่ใช้บ่อย ๆมี
Modules
                      นำมสกุล .bas
                      เป็ นโมดูลชนิดพิเศษที่มีลกษณะเป็ นอ๊อบเจ็กต์ ที่สำมำรถสร้ำงขึ้นมำได้ จะ
                                                   ั
Class Modules
                      มีนำมสกุล .cls
User controls         เป็ นส่ วนที่เก็บคอนโทรล ActiveX ที่คุณสร้ำงขึ้นมำ มีนำมสกุล .ctl
Designers             เป็ นส่ วนของรำยงำนที่ถูกสร้ำงขึ้นมีนำมสกุลเป็ น .dsr

  Properties Window
 หน้ำต่ำงคุณสมบัติเป็ นส่ วนที่ใช้กำหนดคุณสมบัติของออบเจ็กต์ที่ถูกเลือก (adtive) หรื อได้รับ
                       ่
 ควำมสนใจ (focus) อยูขณะนั้น ซึ่งสำมำรถที่จะปรับเปลี่ยนค่ำต่ำง ๆ ของคอลโทรลเพื่อให้เกิด
 ควำมเหมำะสมและตรงกับควำมต้องกำรใช้งำนได้ทนที     ั
ในหน้ำต่ำงคุณสมบัติ จะประกอบไปด้วยแท็ป 2 แท็ป คือ
1. แท็ป Alphabetic เป็ นแท็ปที่แสดงรำยกำรคุณสมบัติ เรี ยงตำมตัวอักษรในภำษำอังกฤษ
2. แท็ป Categorized เป็ นแท็ปที่แสดงรำยกำรคุณสมบัติ โดยกำรจัดกลุ่มของคุณสมบัติที่มีหน้ำที่
คล้ำยกัน
  หน้ าต่ าง Form Layout
เป็ นส่ วนที่แสดงให้เห็นตำแหน่งของฟอร์ม และสำมำรถกำหนดตำแหน่งของฟอร์ม ที่ปรำกฎ
                                                                   ่
บนจอภำพในขณะประมวลผลได้ โดยกำรเคลื่อนย้ำยฟอร์มจำลอง ที่อยูในจอภำพจำลองด้วยกำร
drag เมำส์ ไปยังตำแหน่งทีคุณต้องกำร โดยจะมีผลในขณะประมวลผลเท่ำนั้น




  Immediate Window
เป็ นหน้ำต่ำงที่ให้ประโยชน์ ในกรณี ทีคุณต้องกำรทรำบผล กำรประมวลผลโดยทันที เช่น กำร
ทดสอบโปรแกรมย่อยต่ำง ๆ เป็ นต้น เมื่อคุณสั่งประมวลผลโปรเจ็กต์ หน้ำต่ำงนี้จะปรำกฎขึ้น
โดยอัตโนมัติ
หน้ าต่ าง New Project
หน้ำต่ำง New Project จะปรำกฎขึ้นมำเมื่อเลือกเมนู File/New Project กรอบโต้ตอบนี้ จะแสดง
ชนิดของโปรแกรมประยุกต์ ที่คุณต้องกำรพัฒนำ ซึ่งจะคล้ำยกับตอนที่เปิ ดโปรแกรม Visual
Basic ขึ้นมำครั้งแรก




  หน้ าต่ าง Code Editor
เป็ นส่ วนที่ใช้ในกำรเขียนชุดคำสังสำหรับกำรประมวลผล และควบคุมกำรทำงำนของคอล
                                 ่
โทรล ต่ำง ๆ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพหนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพSKETCHUP HOME
 
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUpคู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUpSKETCHUP HOME
 
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์Earnzy Clash
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft WordSupreeyar philarit
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csไกรลาศ จิบจันทร์
 
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.rubtumproject.com
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานTanyarad Chansawang
 
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Illustrator
การเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Illustratorการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Illustrator
การเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม IllustratorNichakorn Sengsui
 
ใบงาน หน่วยที่ 1
ใบงาน หน่วยที่ 1ใบงาน หน่วยที่ 1
ใบงาน หน่วยที่ 1sasi SAsi
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานChamp Wachwittayakhang
 
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้างแจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้างchupol bamrungchok
 
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรมPiyaboon Nilkaew
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 

La actualidad más candente (20)

หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพหนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
หนังสือ SketchUp อธิบายการสร้างและใช้ Component อย่างมีประสิทธิภาพ
 
งานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐานงานช่างพื้นฐาน
งานช่างพื้นฐาน
 
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUpคู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
คู่มือ Dynamic Component และการจัดการ Component ขั้นสูงในโปรแกรม SketchUp
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกายชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
ชุดการสอนที่ 1ต่อมไร้ท่อ.ในร่างกาย
 
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างเค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Wordข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
ข้อสอบปฏิบัติ Microsoft Word
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
 
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
 
ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
 
การเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Illustrator
การเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Illustratorการเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Illustrator
การเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Illustrator
 
ใบงาน หน่วยที่ 1
ใบงาน หน่วยที่ 1ใบงาน หน่วยที่ 1
ใบงาน หน่วยที่ 1
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้างแจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
 
ใบงาน1ประมวลผลคำ
ใบงาน1ประมวลผลคำใบงาน1ประมวลผลคำ
ใบงาน1ประมวลผลคำ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
 

Similar a ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6

ส่วนประกอบวิชวลเบสิก
ส่วนประกอบวิชวลเบสิกส่วนประกอบวิชวลเบสิก
ส่วนประกอบวิชวลเบสิกNuunamnoy Singkham
 
องค์ประกอบของวิชวลเบสิก
องค์ประกอบของวิชวลเบสิกองค์ประกอบของวิชวลเบสิก
องค์ประกอบของวิชวลเบสิกpisan kiatudomsak
 
Start with maya
Start with mayaStart with maya
Start with mayakruood
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6Khon Kaen University
 
Java Programming [5/12] : Build Graphical User Interface
Java Programming [5/12] : Build Graphical User InterfaceJava Programming [5/12] : Build Graphical User Interface
Java Programming [5/12] : Build Graphical User InterfaceIMC Institute
 
powerpoint2007
powerpoint2007powerpoint2007
powerpoint2007krupairoj
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์Suthida23
 
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8doraemonbookie
 
รายงาน คอม
รายงาน คอมรายงาน คอม
รายงาน คอมNooLuck
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8arachaporn
 
Lesson1 programing concept
Lesson1 programing conceptLesson1 programing concept
Lesson1 programing conceptskiats
 

Similar a ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6 (20)

ส่วนประกอบวิชวลเบสิก
ส่วนประกอบวิชวลเบสิกส่วนประกอบวิชวลเบสิก
ส่วนประกอบวิชวลเบสิก
 
Vb6 1 เริ่มต้นการใช้งาน
Vb6 1 เริ่มต้นการใช้งานVb6 1 เริ่มต้นการใช้งาน
Vb6 1 เริ่มต้นการใช้งาน
 
องค์ประกอบของวิชวลเบสิก
องค์ประกอบของวิชวลเบสิกองค์ประกอบของวิชวลเบสิก
องค์ประกอบของวิชวลเบสิก
 
Handbook flash8
Handbook flash8Handbook flash8
Handbook flash8
 
Docflash8
Docflash8Docflash8
Docflash8
 
Hanfbookflash8
Hanfbookflash8Hanfbookflash8
Hanfbookflash8
 
การเขียนโปรแกรมด้วยVb 6.0
การเขียนโปรแกรมด้วยVb 6.0การเขียนโปรแกรมด้วยVb 6.0
การเขียนโปรแกรมด้วยVb 6.0
 
Start with maya
Start with mayaStart with maya
Start with maya
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
 
Java Programming [5/12] : Build Graphical User Interface
Java Programming [5/12] : Build Graphical User InterfaceJava Programming [5/12] : Build Graphical User Interface
Java Programming [5/12] : Build Graphical User Interface
 
powerpoint2007
powerpoint2007powerpoint2007
powerpoint2007
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
 
Catia full manual
Catia full manualCatia full manual
Catia full manual
 
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
การสร้างเว็บด้วย Macromedia dreamweaver8
 
รายงาน คอม
รายงาน คอมรายงาน คอม
รายงาน คอม
 
เรื่องที่ 2
เรื่องที่ 2เรื่องที่ 2
เรื่องที่ 2
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 dw8
 
Vb6 3 ActiveX Control พื้นฐาน
Vb6 3 ActiveX Control พื้นฐาน Vb6 3 ActiveX Control พื้นฐาน
Vb6 3 ActiveX Control พื้นฐาน
 
Dreamweaver
DreamweaverDreamweaver
Dreamweaver
 
Lesson1 programing concept
Lesson1 programing conceptLesson1 programing concept
Lesson1 programing concept
 

ส่วนประกอบของโปรแกรม Visual basic 6

  • 1. ส่ วนประกอบของโปรแกรม Visual Basic 6 ส่ วนประกอบ รายละเอียด เป็ นส่ วนที่ใช้สำหรับจอภำพของโปรแกรมขึ้นใช้งำน โดยจะทำหน้ำที่เป็ น Form Background ขอจอภำพ เป็ นส่ วนที่ประกอบด้วย Icon ต่ำง ๆ หรื อ ที่เรี ยกว่ำ Control ที่จะนำไปใช้งำน Toolbox โดยกำรนำไปวำงบน Form เป็ นเครื่ องมือที่ช่วยในกำรพัฒนำโปรแกรม หรื อเป็ นเครื่ องมือที่มีกำรเรี ยกใช้ Toolbar บ่อย ๆ Project Explorer เป็ นส่ วนที่ใช้สำหรับเรี ยก Form ต่ำง ๆ ขึ้นมำแก้ไข ในกรณี ที่มี Form มำกกว่ำ 1 Window Form เป็ นจอภำพที่ใช้กำหนดคุณสมบัติต่ำง ๆ ของ Project ที่เรำได้ออกแบบไว้เพื่อให้ Properties Window ทำงำนตำมควำมต้องกำร ่ Form Layout Window ใช้สำหรับกำหนดตำแหน่งของ Form ที่จะให้แสดงอยูในจอภำพเมื่อทำกำร Run
  • 2. ทูลบาร์ (Toolbar) เป็ นแถบสัญลักษณ์ที่ใช้สำหรับเข้ำถึงชุดคำสั่งของ Visual Basic ได้ทนที ั โดยจะนำคำสั่งที่ถูกใช้งำนบ่อย ๆ มำแสดง ทูลบาร์ สามารถแบ่ งออกได้ เป็ น 4 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ 1. Standard Toolbars เป็ นทูลบำร์มำตรฐำนประกอบด้วยคำสั่งที่เกี่ยวกับกำรจัดกำร Project 2. Edit Toolbars เป็ นทูลบำร์ที่ประกอบไปด้วยคำสั่งที่ใช้สำหรับช่วยในกำรเขียนโค้ดใน code editor 3. Debug Toolbars เป็ นทูลบำร์ที่ประกอบไปด้วยคำสั่งที่ใช้สำหรับตรวจสอบกำรทำงำนกำร ประมวลผลโปรแกรม 4. Form Editor Toolbars เป็ นทูลบำร์ที่ประกอบไปด้วยคำสังที่ใช้สำหรับช่วยในกำรปรับ ่ ่ ขนำด, ย้ำย, เปลี่ยนตำแหน่งคอนโทรลต่ำง ๆ ที่อยูบนฟอร์ม ไอคอน ชื่อ รายละเอียดการใช้ งาน Add Standard ใช้สำหรับเปิ ด Project ใหม่ เพื่อออกแบบ Program ตำมที่ EXE Project ต้องกำร ใช้ในกำรเพิ่ม Form เข้ำไปไว้ใน Project ที่มีกำรใช้งำน Add Form มำกกว่ำหนึ่ง Form ใช้เรี ยก Menu Editor ซึ่งเป็ นเครื่ องที่ใช้ในกำรสร้ำง Menu Menu Editor ั ให้กบ Form Open ใช้สำหรับเรี ยก Project งำนที่ได้บนทึกมำก่อนหน้ำแล้ว ั Save ใช้ในกำรบันทึก Project ที่ได้สร้ำงขึ้นมำ ่ ใช้สำหรับตัด Object ต่ำง ๆ ที่อยูบน Form เพื่อนำไปใช้งำน Cut ตำมที่ตองกำร ้ Copy ใช้สำหรับ Copy Object บน Form Paste ใช้สำหรับ Paste Object ที่ได้ทำกำร Cut หรื อ Copy ไว้
  • 3. ใช้สำหรับค้นหำคำใน Editor ซึ่งใช้ในกรณี ที่มีกำรเขียนคำสั่ง Find ใน Form Editor Undo Typing ใช้สำหรับยกเลิกคำที่พิมพ์ใน Editor ใน Form Editor Redo Typing ใช้สำหรับทำซ้ ำคำที่พิมพ์ใน Editor ใช้สำหรับ Run Project ที่ได้จดทำขึ้น เพื่อดูผลลัพธ์ก่อนกำร ั Start นำไปใช้งำนต่อไป Break ใช้สำหรับหยุดกำรทำงำน Project ชัวครำว ่ End ใช้สำหรับหยุดหรื อยกเลิกกำร Run Project ใช้แสดงคุณสมบัติหรื อว่ำรำยละเอียดของ Project ว่ำ Project Explorer ประกอบไปด้วย Form หรื อว่ำ Module ใดบ้ำง Project Window ใช้สำหรับกำหนดคุณสมบัติของ Project และ Form Form Layout ใช้สำหรับเรี ยกจอภำพ Form Layout ซึ่งใช้แสดงตำแหน่ง window ของ Form บนหน้ำจอ ใช้สำหรับเรี ยกจอภำพ Object Browser ซึ่งใช้แสดง Class Object Browser และสมำชิกของแต่ละ Class Tool Box ใช้สำหรับเรี ยก Tool Boxขึ้ นมำบนจอภำพ ตำแหน่งของ ใช้บอกตำแหน่งในแกน x และ y ของ Form Form ขนำดของ Form ใช้บอกถึงขนำดของ Form ตำมแนวแกน x และ y
  • 4. Toolbox คือ แถบสัญลักษณ์ Controls ต่ำง ๆ ที่ใช้สำหรับพัฒนำโปรแกรมประยุกต์ แบ่ง เป็ น 2 กลุ่ม คือ 1. คอนโทรลภายใน (Intrinsic controls) เป็ นชุดคอนโทรลมำตรฐำนของ Visual Basic ทุก ๆ ครั้งที่มีกำรเรี ยกใช้ Form เพื่อสร้ำงโปรแกรมประยุกต์ คอลโทรลชุดนี้จะถูกเรี ยกขึ้นมำอัตโนมัติ สำมำรถเลือกใช้งำนคอลโทรลกลุ่มนี้ได้ทนที ั ไอคอน ชื่อตัว Control ชื่อ Class คาอธิบาย Check box CheckBox ั ใช้กบกำรเลือกแบบ ถูก/ผิด ( True/False, Yes/No) Combo box ComboBox เป็ นตัว control เป็ นกำรผสมระหว่ำง Text box กับ List box ซึ่งจะปรำกฏรำยกำร เมื่อมีกำรคลิก ลูกศร และ Combo box ไม่สนับสนุนกำรเลือก แบบหลำยค่ำ Command button CommandButton ปุ่ มคำสั่งเป็ นตัว control ทีใช้ในทุกฟอร์ม ตำมปกติจะเขียนคำสั่งใน Click event procedure ของตัว control นี้
  • 5. Data Data เป็ นตัว control ที่สำมำรถรวมข้อมูลกับฐำนข้อมูล ได้ และเป็ นส่ วนที่ Visual Basic ให้ผใช้สำมำรถ ู้ ติดต่อระหว่ำงตัว control บนฟอร์มกับฟิ ลด์ใน table ของฐำนข้อมูล โดย Data จะทำงำนกับ Database Jet ของฐำนข้อมูล แต่ไม่สำมำรถ ทำงำนกับ ActiveX Data Object (ADO) ได้ Directory List DirListBox เป็ น List box แบบหนึ่ง ที่แสดงไดเรคทอรี และ box พำร์ทที่เลือก Drive List box DriveListBox คล้ำยกับ Combo box ที่ใช้เลือกชื่อของไดร์ฟใน ระบบ File list box FileListBox เป็ น List box ชนิดพิเศษที่ใช้แสดงชื่อไฟล์ใน ไดเรคทอรี Frame Frame สำมำรถใช้เป็ น container สำหรับตัว control อื่น Horizontal และ HScrollBar และ ใช้เป็ นแถบเลื่อนแบบ stand-alone แต่มกจะไม่ ั Vertical Scroll VScrollBar ค่อยมีกำรใช้ เพรำะตัว control อื่น ๆ ส่ วนใหญ่ Bar จะมีแถบเลื่อนของตัวเอง Image Image เป็ นตัว control ใช้เก็บภำพคล้ำยกับ Picture box แต่ไม่สำมำรถทำงำนแบบ container ได้ Image มี ข้อดีที่ใช้ทรัพยำกรของระบบน้อยกว่ำ Picture box Label Label เป็ นตัว control ที่ใช้แสดงข้อควำม หรื อป้ ำยชื่อ Line Line เป็ นตัว control ใช้สำหรับกำรตกแต่งด้ำน กรำฟฟิ ก List box ListBox เป็ นตัว control ที่เก็บรำยกำรของค่ำ และให้ผใช้ ู้ เลือก ซึ่งสำมำรถเป็ นกำรเลือกค่ำเดียวหรื อหลำย ค่ำ ขึ้นกับกำรกำหนดคุณสมบัติ MultiSelect OLE container OLE เป็ นตัว control ที่สำมำรถเป็ น Host window
  • 6. ให้กบโปรแกรมภำยนอก เช่น Microsoft Excel หรื ออำจจะกล่ำวว่ำเป็ นกำรสร้ำง window ให้กบ ั โปรแกรมอื่นบนโปรแกรมประยุกต์ Visual Basic Option button OptionButton เป็ นตัว control ใช้กบกลุ่มตัว control โดยให้ ั เลือกได้เพียงตัว control เดียวต่อครั้งหนึ่ง เมื่อมี กำรเลือกตัว control ในกลุ่มแล้ว ตัว control อื่น ในกลุ่มจะเปลี่ยนจำกกำรเลือกโดยอัตโนมัติ Picture box PictureBox ใช้แสดงภำพในฟอร์แมต BMP, DIB (bitmap), ไอคอน (ico), WMF (metafile), GIF และ JPEG เป็ นต้น Shape Shape เป็ นตัว control ใช้สำหรับกำรตกแต่งด้ำน กรำฟฟิ ก Text box TextBox เป็ นตัว control ที่เป็ นฟิ ลด์ ใช้เก็บตัวอักษรที่ สำมำรถแก้ไขโดยผูใช้ได้ และได้รับกำรใช้งำน ้ มำก Timer Timer เป็ นตัว control พิเศษที่ไม่เห็นเมื่อเวลำเรี ยกใช้ เป็ นตัวจัดกำรและควบคุมที่เกี่ยวกับเวลำ 2. คอนโทรล ActiveX (ActiveX controls) เป็ นชุดคอนโทรลเพิ่มเติมที่ไมโครซอฟท์จดเตรี ยม ั ไว้ เพื่อเพิมขีดควำมสำมำรถในกำรพัฒนำโปรแกรมประยุกต์ กำรเพิมคอนโทรลกลุ่มนี้เข้ำมำใน ่ ่ ทูลบ๊อกซ์ทำโดยเลือกเมนู Project/Components
  • 7. Form Designer เป็ นส่ วนที่ใช้ออกแบบกำรแสดงผลส่ วนที่ใช้ติดต่อกับผูใช้ ฟอร์มเป็ นออบเจ็กต์แรกที่ถูกเตรี ยม ้ ไว้ให้ใช้งำน คอลโทรลทุกตัวที่ตองกำรใช้งำนจะต้องนำไปบรรจุไว้ในฟอร์ม นำคอลโทรลมำ ้ ประกอบกันขึ้นเป็ นโปรแกรมประยุกต์ ทุกครั้งที่เปิ ด Visual Basic ขึ้นมำ หรื อ สร้ำง Project ใหม่จะมีฟอร์มว่ำง 1 ฟอร์มถูกสร้ำงเตรี ยมไว้เสมอ Project Explorer Project Explorer ใช้สำหรับบริ หำรและจัดกำรโปรเจ็กซ์ โดยจะแสดงองค์ประกอบของแต่ละ โปรเจ็กต์แบบโครงร่ ำงต้นไม้ (tree-view)ตัวโปรเจ็กตจะหมำยถึงโปรแกรมประยุกต์ซ่ ึ งจะอยู่ ส่ วนบนสุ ด ถัดมำ จะแสดงส่ วนประกอบต่ำง ๆ ของโปรเจ็กต์น้ น ๆ ว่ำประกอบด้วยอะไรบ้ำง ั เช่น ฟอร์มโมดูล รำยงำน เป็ นต้น ถ้ำมี 2 โปรเจ็กต์ข้ ึนไป ก็จะแสดงแยกออกเป็ นส่ วนต่ำงหำก อีกโปรเจ็กต์ ถ้ำต้องกำรใช้งำนส่ วนใด ของโปรเจ็กต์ไหนก็สำมำรถคลิ๊กเลือกได้ทนที ั
  • 8. Project Explorer แบบโปรเจ็กต์เดียว และ แบบหลำยโปรเจ็กต์ ส่ วนประกอบของโปรเจ็กต์ คือโปรแกรมประยุกต์ที่พฒนำอยู่ มีนำมสกุล .vbp ั Project (n) ่ เป็ นฟอร์มที่มีอยูในโปรเจ็กต์น้ น ๆ ใน 1 โปรเจ็กต์อำจมีมำกกว่ำ 1 ฟอร์มก็ ั Form (n) .frm ได้ มีนำมสกุล เป็ นที่เก็บชุดคำสั่งที่คุณเขียนขึ้นมำ โดยจะเก็บชุดคำสั่งที่ใช้บ่อย ๆมี Modules นำมสกุล .bas เป็ นโมดูลชนิดพิเศษที่มีลกษณะเป็ นอ๊อบเจ็กต์ ที่สำมำรถสร้ำงขึ้นมำได้ จะ ั Class Modules มีนำมสกุล .cls User controls เป็ นส่ วนที่เก็บคอนโทรล ActiveX ที่คุณสร้ำงขึ้นมำ มีนำมสกุล .ctl Designers เป็ นส่ วนของรำยงำนที่ถูกสร้ำงขึ้นมีนำมสกุลเป็ น .dsr Properties Window หน้ำต่ำงคุณสมบัติเป็ นส่ วนที่ใช้กำหนดคุณสมบัติของออบเจ็กต์ที่ถูกเลือก (adtive) หรื อได้รับ ่ ควำมสนใจ (focus) อยูขณะนั้น ซึ่งสำมำรถที่จะปรับเปลี่ยนค่ำต่ำง ๆ ของคอลโทรลเพื่อให้เกิด ควำมเหมำะสมและตรงกับควำมต้องกำรใช้งำนได้ทนที ั
  • 9. ในหน้ำต่ำงคุณสมบัติ จะประกอบไปด้วยแท็ป 2 แท็ป คือ 1. แท็ป Alphabetic เป็ นแท็ปที่แสดงรำยกำรคุณสมบัติ เรี ยงตำมตัวอักษรในภำษำอังกฤษ 2. แท็ป Categorized เป็ นแท็ปที่แสดงรำยกำรคุณสมบัติ โดยกำรจัดกลุ่มของคุณสมบัติที่มีหน้ำที่ คล้ำยกัน หน้ าต่ าง Form Layout เป็ นส่ วนที่แสดงให้เห็นตำแหน่งของฟอร์ม และสำมำรถกำหนดตำแหน่งของฟอร์ม ที่ปรำกฎ ่ บนจอภำพในขณะประมวลผลได้ โดยกำรเคลื่อนย้ำยฟอร์มจำลอง ที่อยูในจอภำพจำลองด้วยกำร drag เมำส์ ไปยังตำแหน่งทีคุณต้องกำร โดยจะมีผลในขณะประมวลผลเท่ำนั้น Immediate Window เป็ นหน้ำต่ำงที่ให้ประโยชน์ ในกรณี ทีคุณต้องกำรทรำบผล กำรประมวลผลโดยทันที เช่น กำร ทดสอบโปรแกรมย่อยต่ำง ๆ เป็ นต้น เมื่อคุณสั่งประมวลผลโปรเจ็กต์ หน้ำต่ำงนี้จะปรำกฎขึ้น โดยอัตโนมัติ
  • 10. หน้ าต่ าง New Project หน้ำต่ำง New Project จะปรำกฎขึ้นมำเมื่อเลือกเมนู File/New Project กรอบโต้ตอบนี้ จะแสดง ชนิดของโปรแกรมประยุกต์ ที่คุณต้องกำรพัฒนำ ซึ่งจะคล้ำยกับตอนที่เปิ ดโปรแกรม Visual Basic ขึ้นมำครั้งแรก หน้ าต่ าง Code Editor เป็ นส่ วนที่ใช้ในกำรเขียนชุดคำสังสำหรับกำรประมวลผล และควบคุมกำรทำงำนของคอล ่ โทรล ต่ำง ๆ