SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 13
เท โ โ ย าส เท
                                คนล ส ร น ศ
                              เทคโนโลยี
                                     ีี
                              สารสนเทศ




คอมพิ ว เตอร์ เ บื ้ อ งต้ น
                      สุ ว รรณา อรรถชิ ต วาทิ น
                                   1 ( ครู ไ นซ์ )
คอมพิ ว เตอร์ เ บื ้ อ งต้ น

1 ความรู ้ เ บื ้ อ งต้ น เกี ่ ย วกั บ คอมพิ ว เตอร์

2    คุ ณ สมบั ต ิ ข องคอมพิ ว เตอร์


3 ผลกระทบจากคอมพิ ว เตอร์ ต ่ อ สั ง คม


4 วิ ว ั ฒ นาการของคอมพิ ว เตอร์




                                                        2
ความรู ้ เ บื ้ อ งต้ น เกี ่ ย วกั บ
                          คอมพิ ว เตอร์

คอมพิวเตอร์ คือ ?
   Computer มาจากภาษาละตินว่า “Computare”
          หมายถึง การนับ หรือ การคำานวณ
     พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ . ศ .
               2525 ให้ความหมายของ
      คอมพิวเตอร์ไว้ว่า “เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบ
    อัตโนมัติ ทำาหน้าที่เหมือนสมองกลใช้สำาหรับแก้
        ปัญหาต่างๆ ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทาง
     คณิตศาสตร์” ซึ่งมนุษย์นำามาใช้เป็นเครื่องมือ
     ช่วยในการจัดการข้อมูลที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร
      หรือสัญลักษณ์อื่นที่ใช้แทนความหมายในสิ่ง      3
ขั ้ น ตอนการทำ า งานของ
                                  คอมพิ ว เตอร์
               วงจรการทำางานพื้นฐาน                            (Storage)
                     4 อย่าง
       (Input)    (IPOS cycle)                                   4. ทำาการเก็บ
                                                                ผลลัพธ์จากการ
                                           (Output)             ประมวลผลไว้ใน
1. ทำาการ รับข้อมูล
                                                                หน่วย เก็บข้อมูล
จากหน่วยรับข้อมูล
                                                               เพื่อให้สามารถนำา
(Input unit) เช่น
                                                                มาใช้ใหม่ได้ใน
คีย์บอร์ดหรือเมาส์    (Processing)           3. ทำาการ แสดงผล
                                                                     อนาคต
                                            ลัพธ์จากการประมวล
                                             ผลออกมายังหน่วย
                                                แสดงผลลัพธ์
                       2. ทำาการ ประมวล     (Output unit) เช่น
                        ผล กับข้อมูล เพื่อ       จอภาพหรือ
                        แปลงให้อยู่ในรูป         เครื่องพิมพ์
                        แบบอื่น ๆ ตามที่                                       4

                            ต้องการ
คุ ณ สมบั ต ิ ข องคอมพิ ว เตอร์
1. หน่วยเก็บ                                      2. ความเร็ว
(Storage)                                         (Speed)
        ความสามารถในการ                                 ความสามารถในการ
เก็บข้อมูลจำานวนมากและ                                 ประมวลผลข้อมูล
เป็นเวลานาน นับเป็น จุด                              (Processing Speed)
  เด่นทางโครงสร้างและ                             โดยใช้เวลาน้อย เป็นจุด
เป็นหัวใจของการทำางาน                             เด่นทางโครงสร้างที่ผู้ใช้
 แบบอัตโนมัติของเครื่อง                           ทั่วไปมีส่วนเกี่ยวข้องน้อย
คอมพิวเตอร์ ทั้งเป็นตัวบ่ง
    ชีประสิทธิภาพของ
      ้
                             มีจุดเด่น 4 ประการ        ที่สุด เป็นตัวบ่งชี้
                                                   ประสิทธิภาพของเครื่อง
 คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง
            ด้วย
                                (4 S special)     คอมพิวเตอร์ที่สำาคัญส่วน
                                                          หนึ่งเช่นกัน

                                                  4. ความน่าเชื่อ
3. ความเป็น
                                                  ถือ (Sure)
อัตโนมัติ (Self
                                                        ความสามารถในการ
Acting)                                           ประมวลผลให้เกิดผลลัพธ์
     ความสามารถในการ                              ที่ถกต้อง ความน่าเชื่อถือ
                                                      ู
   ประมวลผลข้อมูลตาม                               นับเป็นสิ่งสำาคัญที่สุดใน
ลำาดับขั้นตอนได้อย่างถูก                             การทำางานของเครื่อง
  ต้องและต่อเนื่องอย่าง                            คอมพิวเตอร์ โดยมนุษย์
                                                                               5
  อัตโนมัติ โดยมนุษย์มี                           เป็นผู้กำาหนดโปรแกรมคำา
ส่วนเกี่ยวข้องเฉพาะในขั้น                         สั่งและข้อมูลให้กับเครื่อง
ผลกระทบจากคอมพิ ว เตอร์ ต ่ อ
                    สั ง คม
ในแง่บวก           ในแง่บวก (+)       ในแง่ลบ
  (+)                                   (-)
สามารถทำางาน                      โรงงานผลิต
ต่างๆ ได้อย่าง                    อุปกรณ์ของ
รวดเร็วขึน
         ้                        เครื่อง
    การจัดเก็บ                   คอมพิวเตอร์นั้น
     เอกสาร                       ต้องใช้สารเคมี
    การพิมพ์                     เป็นจำานวนมาก
    จดหมาย                        ซึ่งจะทำาให้เกิด
    การจัดทำา                    มลพิษต่าง ๆ
หนังสือพิมพ์และ                   มากมาย
                                  ผู้ใช้อาจมีการ
   วารสารต่างๆ
 การฝาก-ถอน                      เจ็บป่วยที่เกิด
 เงินในธนาคาร                     จากการทำางาน
การจ่ายเงินซื้อ                  กับเครื่อง
       สินค้า                     คอมพิวเตอร์เป็น
 ตรวจความผิด                     เวลานานๆ
ปกติของทารกใน       ในแง่ลบ (-)   หากเครื่อง

                                  คอมพิวเตอร์
   ครรภ์และใน
 ทางการแพทย์                      ทำางานผิดพลาด
อื่นๆ อีกมากมาย                   ในระบบที่มีความ
                                                     6
                                  สำาคัญมาก ๆ อาจ
                                  เป็นอันตรายกับ
วิ ว ั ฒ นาการของคอมพิ ว เตอร์

ยุคของ
                                    ยุคที่หนึ่ง
คอมพิวเตอร์                    (พ.ศ. 2494- 2501)                    ยุคที่สอง
                                   สุญญากาศ                    (พ.ศ. 2502 - 2507)
                                                                  ทรานซิสเตอร์



          ยุคที่ห้า
   (พ.ศ. 2524 – ปัจจุบัน)
    คอมพิวเตอร์อัจฉริยะ
                             (Computer
                            Generations)
                                               ยุคที่สาม
                                          (พ.ศ. 2508 - 2513)
                     ยุคที่สี่               วงจรรวม IC
              (พ.ศ. 2514 - 2523)
               ไมโครโปรเซสเซอร์




                                                                                    7
( C o mp u te r
                 G e n e r a t io n s )

   ยุคที่หนึง (พ.ศ. 2494-
            ่
      2501) สุญญากาศ

         ยุคนี้ใช้หลอดสุญญากาศเป็นวงจร
 อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีข้อเสียหลายอย่าง คือ
 ต้องใช้หลอดสุญญากาศจำานวนมาก ทำาให้
เครื่องมีขนาดใหญ่ การทำางานต้องใช้กระแส
ไฟฟ้าจำานวนมาก ทำาให้เครืองเกิดความร้อน
                             ่
สูงและมักเกิดข้อผิดพลาดได้ง่าย และหลอด
 สุญญากาศยังมีอายุการใช้งานตำ่า ตัวอย่าง
คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ เช่น UNIVAC I เป็นต้น
                                             8
( C o mp u te r
                  G e n e r a t io n s )

    ยุคที่สอง (พ.ศ. 2502 –
       2507)ทรานซิสเตอร์
            ยุคนีใช้ทรานซิสเตอร์ เป็นวงจร
                 ้
    อิเล็กทรอนิกส์ ทำาให้เครื่องมีขนาดเล็กลง
 ความเร็วในการทำางานสูง ใช้กระแสไฟฟ้าน้อย
 ลง ต้นทุนที่ใช้ในการผลิตลดลง ได้ข้อมูลที่ถูก
ต้องมากกว่า ยุคนีใช้วงแหวนแม่เหล็กเป็นหน่วย
                   ้
 ความจำาหลักและตอนปลายยุคใช้จานแม่เหล็ก
 เป็นหน่วยความจำาสำารอง เริ่มใช้ชุดคำาสั่งภาษา
  ระดับสูง เช่น ภาษาโคบอล ภาษาฟอร์แทรน
ภาษาอัลกอล ตัวอย่างคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้แก่
                                                 9
              IBM 1620 เป็นต้น
( C o mp u te r
                G e n e r a t io n s )

   ยุคที่สาม (พ.ศ. 2508 -
      2513) วงจรรวม IC
       ยุคนีใช้วงจรไอซี ซึ่งเป็นสารกึ่งตัวนำาที่
            ้
สามารถบรรจุวงจรกึ่งตัวนำาเอาไว้มาก แล้ว
พิมพ์บนแผ่นซิลิคอน เรียกว่า "ชิป" (Chip)
ซึ่งมีขนาดเล็กมาก จึงทำาให้เครื่องในยุคนี้มี
ขนาดเล็กลง เขียนชุดคำาสั่งด้วยภาษาระดับ
    สูง และเริ่มมีโปรแกรมสำาเร็จรูปใช้งาน
   ตัวอย่างเครืองในยุคนี้ ได้แก่ IBM360
                ่

                                                   10
( C o mp u te r
                    G e n e r a t io n s )

   ยุคที่สี่ (พ.ศ. 2514 – 2523)
            ไมโครโปรเซสเซอร์
              ยุคนี้ใช้วงจร LSI (Large-Scale
Integrated Circuit) คือ การใช้เทคโนโลยีใหม่ โดย
   รวมวงจรไอซีจำานวนมากลงในแผ่นซิลิคอนชิป 1
 แผ่น ซึงทำาให้เล็กลงไปอีกมาก ทำาให้เกิดแนวคิด
           ่
 ในการบรรจุวงจรที่สำาคัญสำาหรับการทำางานพื้นฐาน
  ของคอมพิวเตอร์ลงในชิปตัวเดียว นั่นคือส่วนของ
CPU (Central Processing Unit) อยูบนชิปตัวเดียว
                                     ่
เรียกว่า "ไมโครโปรเซสเซอร์" ตัวอย่างเครื่องในยุคนี้
  ได้แก่ IBM 370 ซึ่งเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาด
 ใหญ่ และไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลก คือ         11

         Altair 8800 , aApple II เป็นต้น
( C o mp u te r
                        G e n e r a t io n s )

    ยุคที่ห้า (พ.ศ. 2524 – ปัจจุบัน)
             คอมพิวเตอร์อัจฉริยะ

         ยุคนี้จนถึงปัจจุบัน ใช้วงจร VLSI (Very Large
 -Scale Integrated Circuit)          ซึงสามารถบรรจุวงจร
                                       ่
 ได้มากกว่า 1 ล้านวงจร เป็นช่วงที่กำาลังพัฒนา "ไมโคร
 โปรเซสเซอร์" ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึน ทั้งทางด้าน
                                            ้
เทคโนโลยี ทางสถาปัตยกรรมโครงสร้าง และการพัฒนา
  ภาษาที่ใช้กบระบบซอฟท์แวร์เพื่อให้รับรู้ภาษาพูดของ
               ั
  มนุษย์โดยตรง มีหน่วยความจำาขนาดมหึมาพอกับการ
จัดการระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ได้อย่างเพียงพอ ซึงต่อ   ่
 ไปเครื่องคอมพิวเตอร์จะมีระบบแก้ไขข้อขัดข้องภายใน
   ตัวมันเอง และมีความสามารถสูงพอที่จะรับคำาสั่งจาก
  ภาษาพูดของมนุษย์ได้ จนถือว่าเป็นเครื่องมือเครื่องใช้    12

                 จำาเป็นอย่างหนึ่งภายในบ้าน
ยสารสนเ ทศ
เทคโนโลเทคโนโลยี
       สารสนเทศ
       ีี




 สุ ว รรณา อรรถชิ ต วาทิ น
             13 ( ครู ไ นซ์ )

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
yawamon boonwang
 
ข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
ข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
ข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
Marr Ps
 
Computer
ComputerComputer
Computer
nuting
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
Jakarin Damrak
 
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
kanlayarat
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
NOiy Ka
 
3 ca-computer system structure
3 ca-computer system structure3 ca-computer system structure
3 ca-computer system structure
krissapat
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
pui3327
 

La actualidad más candente (18)

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Ch1 com tech
Ch1 com techCh1 com tech
Ch1 com tech
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
ข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
ข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
ข้อสอบปรนัย 40 ข้อ เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นนักเรียนนายสิบตำรวจ
 
computer
computercomputer
computer
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ
 
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
1 ระบบคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Learnning01
Learnning01Learnning01
Learnning01
 
Computer system
Computer systemComputer system
Computer system
 
Comandtechno1
Comandtechno1Comandtechno1
Comandtechno1
 
Operating System Chapter 4
Operating System Chapter 4Operating System Chapter 4
Operating System Chapter 4
 
3 ca-computer system structure
3 ca-computer system structure3 ca-computer system structure
3 ca-computer system structure
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Destacado (8)

Holy Calendars
Holy CalendarsHoly Calendars
Holy Calendars
 
Tetw 2011 2
Tetw 2011 2Tetw 2011 2
Tetw 2011 2
 
Faktor penyebab kekerasan di lingkungan sekolah 2003
Faktor penyebab kekerasan di lingkungan sekolah 2003Faktor penyebab kekerasan di lingkungan sekolah 2003
Faktor penyebab kekerasan di lingkungan sekolah 2003
 
Origi nof numbers_0_9_
Origi nof numbers_0_9_Origi nof numbers_0_9_
Origi nof numbers_0_9_
 
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Accessory com
Accessory comAccessory com
Accessory com
 
บทที่2 ข้อมูล สารสนเทศและความรู้
บทที่2 ข้อมูล สารสนเทศและความรู้บทที่2 ข้อมูล สารสนเทศและความรู้
บทที่2 ข้อมูล สารสนเทศและความรู้
 
幸運的方法
幸運的方法幸運的方法
幸運的方法
 

Similar a คอมพิวเตอรเบื้องต้น

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
Da Arsisa
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Sukanya Burana
 

Similar a คอมพิวเตอรเบื้องต้น (20)

หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
Chepter1
Chepter1Chepter1
Chepter1
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
Basic1
Basic1Basic1
Basic1
 
Learnning02
Learnning02Learnning02
Learnning02
 
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
แผนคอมพิวเตอร์เพื่องานอาชีพ1
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
computer
computercomputer
computer
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 
Week01
Week01Week01
Week01
 

คอมพิวเตอรเบื้องต้น

  • 1. เท โ โ ย าส เท คนล ส ร น ศ เทคโนโลยี ีี สารสนเทศ คอมพิ ว เตอร์ เ บื ้ อ งต้ น สุ ว รรณา อรรถชิ ต วาทิ น 1 ( ครู ไ นซ์ )
  • 2. คอมพิ ว เตอร์ เ บื ้ อ งต้ น 1 ความรู ้ เ บื ้ อ งต้ น เกี ่ ย วกั บ คอมพิ ว เตอร์ 2 คุ ณ สมบั ต ิ ข องคอมพิ ว เตอร์ 3 ผลกระทบจากคอมพิ ว เตอร์ ต ่ อ สั ง คม 4 วิ ว ั ฒ นาการของคอมพิ ว เตอร์ 2
  • 3. ความรู ้ เ บื ้ อ งต้ น เกี ่ ย วกั บ คอมพิ ว เตอร์ คอมพิวเตอร์ คือ ?  Computer มาจากภาษาละตินว่า “Computare” หมายถึง การนับ หรือ การคำานวณ  พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ . ศ . 2525 ให้ความหมายของ คอมพิวเตอร์ไว้ว่า “เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบ อัตโนมัติ ทำาหน้าที่เหมือนสมองกลใช้สำาหรับแก้ ปัญหาต่างๆ ที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทาง คณิตศาสตร์” ซึ่งมนุษย์นำามาใช้เป็นเครื่องมือ ช่วยในการจัดการข้อมูลที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์อื่นที่ใช้แทนความหมายในสิ่ง 3
  • 4. ขั ้ น ตอนการทำ า งานของ คอมพิ ว เตอร์ วงจรการทำางานพื้นฐาน (Storage) 4 อย่าง (Input) (IPOS cycle) 4. ทำาการเก็บ ผลลัพธ์จากการ (Output) ประมวลผลไว้ใน 1. ทำาการ รับข้อมูล หน่วย เก็บข้อมูล จากหน่วยรับข้อมูล เพื่อให้สามารถนำา (Input unit) เช่น มาใช้ใหม่ได้ใน คีย์บอร์ดหรือเมาส์ (Processing) 3. ทำาการ แสดงผล อนาคต ลัพธ์จากการประมวล ผลออกมายังหน่วย แสดงผลลัพธ์ 2. ทำาการ ประมวล (Output unit) เช่น ผล กับข้อมูล เพื่อ จอภาพหรือ แปลงให้อยู่ในรูป เครื่องพิมพ์ แบบอื่น ๆ ตามที่ 4 ต้องการ
  • 5. คุ ณ สมบั ต ิ ข องคอมพิ ว เตอร์ 1. หน่วยเก็บ 2. ความเร็ว (Storage) (Speed) ความสามารถในการ ความสามารถในการ เก็บข้อมูลจำานวนมากและ ประมวลผลข้อมูล เป็นเวลานาน นับเป็น จุด (Processing Speed) เด่นทางโครงสร้างและ โดยใช้เวลาน้อย เป็นจุด เป็นหัวใจของการทำางาน เด่นทางโครงสร้างที่ผู้ใช้ แบบอัตโนมัติของเครื่อง ทั่วไปมีส่วนเกี่ยวข้องน้อย คอมพิวเตอร์ ทั้งเป็นตัวบ่ง ชีประสิทธิภาพของ ้ มีจุดเด่น 4 ประการ ที่สุด เป็นตัวบ่งชี้ ประสิทธิภาพของเครื่อง คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ด้วย (4 S special) คอมพิวเตอร์ที่สำาคัญส่วน หนึ่งเช่นกัน 4. ความน่าเชื่อ 3. ความเป็น ถือ (Sure) อัตโนมัติ (Self ความสามารถในการ Acting) ประมวลผลให้เกิดผลลัพธ์ ความสามารถในการ ที่ถกต้อง ความน่าเชื่อถือ ู ประมวลผลข้อมูลตาม นับเป็นสิ่งสำาคัญที่สุดใน ลำาดับขั้นตอนได้อย่างถูก การทำางานของเครื่อง ต้องและต่อเนื่องอย่าง คอมพิวเตอร์ โดยมนุษย์ 5 อัตโนมัติ โดยมนุษย์มี เป็นผู้กำาหนดโปรแกรมคำา ส่วนเกี่ยวข้องเฉพาะในขั้น สั่งและข้อมูลให้กับเครื่อง
  • 6. ผลกระทบจากคอมพิ ว เตอร์ ต ่ อ สั ง คม ในแง่บวก ในแง่บวก (+) ในแง่ลบ (+) (-) สามารถทำางาน โรงงานผลิต ต่างๆ ได้อย่าง อุปกรณ์ของ รวดเร็วขึน ้ เครื่อง  การจัดเก็บ คอมพิวเตอร์นั้น เอกสาร ต้องใช้สารเคมี การพิมพ์ เป็นจำานวนมาก จดหมาย ซึ่งจะทำาให้เกิด การจัดทำา มลพิษต่าง ๆ หนังสือพิมพ์และ มากมาย ผู้ใช้อาจมีการ วารสารต่างๆ การฝาก-ถอน เจ็บป่วยที่เกิด เงินในธนาคาร จากการทำางาน การจ่ายเงินซื้อ กับเครื่อง สินค้า คอมพิวเตอร์เป็น ตรวจความผิด เวลานานๆ ปกติของทารกใน ในแง่ลบ (-) หากเครื่อง คอมพิวเตอร์ ครรภ์และใน ทางการแพทย์ ทำางานผิดพลาด อื่นๆ อีกมากมาย ในระบบที่มีความ 6 สำาคัญมาก ๆ อาจ เป็นอันตรายกับ
  • 7. วิ ว ั ฒ นาการของคอมพิ ว เตอร์ ยุคของ ยุคที่หนึ่ง คอมพิวเตอร์ (พ.ศ. 2494- 2501) ยุคที่สอง สุญญากาศ (พ.ศ. 2502 - 2507) ทรานซิสเตอร์ ยุคที่ห้า (พ.ศ. 2524 – ปัจจุบัน) คอมพิวเตอร์อัจฉริยะ (Computer Generations) ยุคที่สาม (พ.ศ. 2508 - 2513) ยุคที่สี่ วงจรรวม IC (พ.ศ. 2514 - 2523) ไมโครโปรเซสเซอร์ 7
  • 8. ( C o mp u te r G e n e r a t io n s ) ยุคที่หนึง (พ.ศ. 2494- ่ 2501) สุญญากาศ ยุคนี้ใช้หลอดสุญญากาศเป็นวงจร อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีข้อเสียหลายอย่าง คือ ต้องใช้หลอดสุญญากาศจำานวนมาก ทำาให้ เครื่องมีขนาดใหญ่ การทำางานต้องใช้กระแส ไฟฟ้าจำานวนมาก ทำาให้เครืองเกิดความร้อน ่ สูงและมักเกิดข้อผิดพลาดได้ง่าย และหลอด สุญญากาศยังมีอายุการใช้งานตำ่า ตัวอย่าง คอมพิวเตอร์ในยุคนี้ เช่น UNIVAC I เป็นต้น 8
  • 9. ( C o mp u te r G e n e r a t io n s ) ยุคที่สอง (พ.ศ. 2502 – 2507)ทรานซิสเตอร์ ยุคนีใช้ทรานซิสเตอร์ เป็นวงจร ้ อิเล็กทรอนิกส์ ทำาให้เครื่องมีขนาดเล็กลง ความเร็วในการทำางานสูง ใช้กระแสไฟฟ้าน้อย ลง ต้นทุนที่ใช้ในการผลิตลดลง ได้ข้อมูลที่ถูก ต้องมากกว่า ยุคนีใช้วงแหวนแม่เหล็กเป็นหน่วย ้ ความจำาหลักและตอนปลายยุคใช้จานแม่เหล็ก เป็นหน่วยความจำาสำารอง เริ่มใช้ชุดคำาสั่งภาษา ระดับสูง เช่น ภาษาโคบอล ภาษาฟอร์แทรน ภาษาอัลกอล ตัวอย่างคอมพิวเตอร์ในยุคนี้ได้แก่ 9 IBM 1620 เป็นต้น
  • 10. ( C o mp u te r G e n e r a t io n s ) ยุคที่สาม (พ.ศ. 2508 - 2513) วงจรรวม IC ยุคนีใช้วงจรไอซี ซึ่งเป็นสารกึ่งตัวนำาที่ ้ สามารถบรรจุวงจรกึ่งตัวนำาเอาไว้มาก แล้ว พิมพ์บนแผ่นซิลิคอน เรียกว่า "ชิป" (Chip) ซึ่งมีขนาดเล็กมาก จึงทำาให้เครื่องในยุคนี้มี ขนาดเล็กลง เขียนชุดคำาสั่งด้วยภาษาระดับ สูง และเริ่มมีโปรแกรมสำาเร็จรูปใช้งาน ตัวอย่างเครืองในยุคนี้ ได้แก่ IBM360 ่ 10
  • 11. ( C o mp u te r G e n e r a t io n s ) ยุคที่สี่ (พ.ศ. 2514 – 2523) ไมโครโปรเซสเซอร์ ยุคนี้ใช้วงจร LSI (Large-Scale Integrated Circuit) คือ การใช้เทคโนโลยีใหม่ โดย รวมวงจรไอซีจำานวนมากลงในแผ่นซิลิคอนชิป 1 แผ่น ซึงทำาให้เล็กลงไปอีกมาก ทำาให้เกิดแนวคิด ่ ในการบรรจุวงจรที่สำาคัญสำาหรับการทำางานพื้นฐาน ของคอมพิวเตอร์ลงในชิปตัวเดียว นั่นคือส่วนของ CPU (Central Processing Unit) อยูบนชิปตัวเดียว ่ เรียกว่า "ไมโครโปรเซสเซอร์" ตัวอย่างเครื่องในยุคนี้ ได้แก่ IBM 370 ซึ่งเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาด ใหญ่ และไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของโลก คือ 11 Altair 8800 , aApple II เป็นต้น
  • 12. ( C o mp u te r G e n e r a t io n s ) ยุคที่ห้า (พ.ศ. 2524 – ปัจจุบัน) คอมพิวเตอร์อัจฉริยะ ยุคนี้จนถึงปัจจุบัน ใช้วงจร VLSI (Very Large -Scale Integrated Circuit) ซึงสามารถบรรจุวงจร ่ ได้มากกว่า 1 ล้านวงจร เป็นช่วงที่กำาลังพัฒนา "ไมโคร โปรเซสเซอร์" ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึน ทั้งทางด้าน ้ เทคโนโลยี ทางสถาปัตยกรรมโครงสร้าง และการพัฒนา ภาษาที่ใช้กบระบบซอฟท์แวร์เพื่อให้รับรู้ภาษาพูดของ ั มนุษย์โดยตรง มีหน่วยความจำาขนาดมหึมาพอกับการ จัดการระบบฐานข้อมูลขนาดใหญ่ได้อย่างเพียงพอ ซึงต่อ ่ ไปเครื่องคอมพิวเตอร์จะมีระบบแก้ไขข้อขัดข้องภายใน ตัวมันเอง และมีความสามารถสูงพอที่จะรับคำาสั่งจาก ภาษาพูดของมนุษย์ได้ จนถือว่าเป็นเครื่องมือเครื่องใช้ 12 จำาเป็นอย่างหนึ่งภายในบ้าน
  • 13. ยสารสนเ ทศ เทคโนโลเทคโนโลยี สารสนเทศ ีี สุ ว รรณา อรรถชิ ต วาทิ น 13 ( ครู ไ นซ์ )