SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 17
Descargar para leer sin conexión
Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 1 จาก 17
สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc
Aging and Androgen Augmentation Therapy
พ.อ. ผ.ศ. ธนบูรณ จุลยามิตรพร
หนวยชวยการเจริญพันธ
กองสูตินรีเวชกรรม ร.พ. พระมงกุฎเกลา
1. บทนํา
กอนที่จะกลาวถึงการใชฮอรโมนเทสทอสเตอโรนทดแทนชนิดใหมในผูชายวัยทองตามที่ไดรับมอบ
หมายมาใหบรรยายครั้งนี้ ผูเขียนจะกลาวถึงความสําคัญและความรูพื้นฐานที่จะดูแลผูชายวัยทอง เพราะ
ขณะนี้ในประเทศไทยยังมีแพทยที่สนใจและติดตามความรูการดูแลผูชายวัยทองยังนอยอยู ในทางตรงกัน
ขามแพทยบางทานไดใหฮอรโมนทดแทนมากจนเกินความจําเปน ผูเขียนจึงอยากใหมีผูที่หันมาสนใจผูชาย
เหลานี้กันบาง เพราะเขาผูนั้นอาจเปน ทาน หรือคูสมรสของทาน หรือญาติของทานเองก็ได
มีเทพนิยายที่จะนํามาเปนอุทาหรณถึงความทุกขของชายวัยทองและคูสมรส ดังนี้ คือ “ทิโธนัส เปนคูรัก
ที่เสียชีวิตไปของเทพธิดา ออโรรา (ซึ่งเปนเทพแหงรุงอรณ) ออโรราเสียใจมาก จึงไปทูลขอพระบิดาคือ ซีอุส
ใหชุบชีวิต ทิโธนัส แตเธอลืมขอความเปนหนุมมาใหเขา เปนเหตุให ทิโธนัส ออนแอ กะปลกกะเปลี้ย หมด
สมรรถภาพทางเพศ ทําให ออโรรา รําคาญจนตองสาปใหเปนตั๊กแตน และเนรเทศไปในหองที่ไกลที่สุดของ
ปราสาท”1
เทพนิยายกรีกนี้แสดงใหเห็นลักษณะบางประการของชายที่สูงอายุ ดังนั้น Walker ไดแนะนําวา
นาจะเรียกการเสื่อมของผูชายวัยสูงอายุวา Tithonusism การมีชีวิตเปนอมตะแตมีสุขภาพที่ออนแอดังกลาวนี้
คงไมเปนที่ปารถณาของทุกทานหรือของสมาชิกในครอบครัว เปนแนแท
ผูที่อยูในสภาวะคลายกับที่ทิโธนัสและออโรราประสบอยูนาจะมีไมใชนอย ทั้งนี้เนื่องจาก พบวาอายุขัย
เฉลี่ยของประชาการในปจจุบันสูงขึ้น แต “อายุขัยเฉลี่ยที่ปลอดความพิการ หรือ disability-free life
expectancy หรือ health expectancy” ยังไมมากขึ้น และ จํานวน “ปที่พิการ หรือ disability” ไมนอยลง ใน
หลายประเทส จากรายงานของสหประชาชาติในป 2542 พบวา ประเทศไทย มีอายุขัยเฉลี่ย 68.2 ป อายุขัย
เฉลี่ยที่ปลอดความพิการ 60.2 ป และปที่พิการเทากับ 8 ป2
การดูแลใหผูสูงอายุมีอายุขัยเฉลี่ยที่ปลอดความ
พิการเพิ่มขึ้นและมีปที่พิการลดลงจึงเปนสิ่งสําคัญ รวมทั้งใหมีสุขภาพที่ดีทั้งกาย ใจ จิตวิญญาณ และสังคม
ควรมีการตระเตรียมสุขภาพดานตางๆ
ปญหาทางสุขภาพจํานวนมาก สามารถจะตรวจพบและรักษาไดในระยะเริ่มตน ทําใหลดความทุกข
ทรมานของผูปวย ซึ่งเปนตามวัตถุประสงคของหลักประกันสุขภาพ อีกทั้งยังลดคาใชจายในการรักษาได แต
มักจะพบวาผูชายไดเขาหาบริการทางการแพทยนอยกวาสตรี สตรีมักจะมาพบแพทยเพื่อปองกัน เสริมสราง
สุขภาพ แตผูชายมักจะมาเพื่อซอมสุขภาพ ในที่นี้จึงขอกลาวถึงเฉพาะการตระเตรียมเพื่อสุขภาพในวัยสูงอายุ
เพศชายดวยการใหเทสทอสเตอโรนทดแทน
Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 2 จาก 17
สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc
2. คําจํากัดความ
การเปลี่ยนแปลงของสุขภาพ หรือ ความชราภาพนั้นไมอาจจะใชตัวเลขของอายุมาเปนขอกําหนด ดังนั้น
จึงไมสามารถใชอายุมาเปนเกณฑในการวินิจฉัย “ภาวะชายวัยทอง”ได คําวา “ชายวัยทอง” หรือบางทานตั้ง
ชื่อวา “ชายวัยเงิน” เปนการตั้งชื่อเลียนแบบกับ “สตรีวัยทอง” ซึ่งเปนสตรีวัยหมดประจําเดือน หรือภาวะที่รัง
ไขไมสามารถสรางฮอรโมนเพศหญิงได โดยภาวะดังกลาวจะมีผลตอสุขภาพและคุณภาพชีวิตของสตรี แต
ในผูชายนั้นจะมีความแตกตางจากสตรีอยูบาง เนื่องมาจากอัณฑะจะมีการคอยๆ ลดการทํางานลงชาๆ เมื่อ
อายุคอยสูงขึ้น3;4
ดังนั้นนาหมายถึงชายที่มีปญหาพรองฮอรโมนเพศชายเมื่อสูงอายุ หรือ Partial Androgen
Deficiency in Aging Male (PADAM) ตอมาภายหลังเรียกสั้นลงวา Androgen Deficiency in Aging Male
(ADAM ซึ่งมีเสียงพองกับชื่อของมนุษยผูชายคนแรกของโลก) และในภายหลัง The International Society
for The Study of the Aging Male (ISSAM) ไดใหชื่อวา late-onset hypogonadism in males5
โดยชื่อที่กลาว
มาเหลานี้นาจะถูกตองมากกวาชื่อวา ชายวัยหมดฮอรโมนเพศชาย (andropause) หรือ penopause หรือ ชายวัย
เปลี่ยน (male climateric) แตก็ยังมีคนจํานวนมากยังคงนิยมเรียกวา andropause
นอกจากนี้ยังมีผูใหคําจํากัดความอื่นอีก เชน อ.หะทัย เทพพิสัย ไดเคยแนะนําวานาจะใชคําวา “Multiple
Endocrine Deficiency in Aging Male (MEDAM)6
หรือ “Partial Endocrine Deficiency in Aging Male
(PEDAM)7
เพราะวาผูชายในกลุมนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงฮอรโมนหลายชนิดดวยกัน สวนกรมอนามัย
กระทรวงสาธารณสุขนั้นไดกําหนดใหมีการดูแลชายวัยทองเอาไวใหอยูในกลุมวัยทํางาน โดยกําหนดเพื่อให
เริ่มดูแลตั้งแตอายุ 40-60 ป8
โดยมีเหตุผล 2 ประการคือ เพื่อใหมีการดูแลตอเนื่องตอไปยังวัยชราซึ่งกําหนด
เอาไววามีอายุ 60 ป และ ผูชายที่พรองฮอรโมนบางรายอาจเริ่มตนตั้งแตอายุ 40 ป9
ความหมายของชายวัยทองหรือ LOH ตามคําแนะนําของ ISA, ISSAM, EUA คือ กลุมอาการทางคลินิก
และชีวเคมีที่เกี่ยวของกับการสูงอายุ ซึ่งลักษณะของอาการที่ชัดเจนรวมกับมีการระดับฮอรโมนเทสทอสเตอ
โรนในเลือดต่ํา อันอาจจะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงตอคุณภาพชีวิตที่เสื่อมลงอยางมีนัยสําคัญ รวมทั้งการ
ทํางานผิดปกติของอวัยวะหลายระบบ10
3. ความชุก
ตวามชุกของชายวัยทอง (ตามความหมายขางตน) นั้นจะมีความแตกตางกันไปแลวแตกลุมประชากร
รวมทั้งวิธีของการวินิจฉัย โดยทั่วไปจะพบวา คาเฉลี่ยของเทสทอสเตอโรนจะเริ่มลดลงหลังจากอายุ 50 ป11, 12
อยางไรก็ตามระดับของฮอรโมนจะมีความแตกตางกันมากระหวางบุคคลตอบุคคล โดยพบวา เมื่อใชวิธีการ
ตรวจระดับเทสทอสเตอโรนรวม (total testosterone) จะพบวาผูชายที่มีปญหาพรองฮอรโมนเพศชายต่ําได
รอยละ 7 เมื่ออายุระหวาง 40-60 ป พบไดรอยละ 20 เมื่ออายุ 60-80 ป พบไดถึงรอยละ 35 เมื่ออายุมากวา 80
ป9
อีกการศึกษา Baltimore Longitudinal Study on Aging จะพบวามีอุบัติการของผูที่ขาดฮอรโมนเพศดวย
การตรวจเทศทอสเตอโรนรวมได รอยละ 20 ในชายอายุมากวา 60 ป รอยละ 30 เมื่ออายุมากกวา 70 ป และ
รอยละ 50 เมื่ออายุมากกวา 80 ป13
ขอมูลดังกลาวอาจพบวาอุบัติการณดูจะไมมากนัก แตในผูที่มีอายุมากขึ้น
จะมี Sex hormone binding globulin (SHBG) เพิ่มสูงขึ้น ทําใหระดับของ bioavailable testosterone (เทากับ
Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 3 จาก 17
สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc
free testosterone รวมกับ albumine-bound testosterone) ลดลง ดังนั้นหากวินิจฉัยดวยการใช bioavailable
testosterone จะพบวา รอยละ 25 ของผูชายแคนาดาที่มีอายุระหวาง 40-62 ป จะอยูในภาวะพรองฮอรโมน14
ดังนั้นจะเห็นวาผูชายที่มีภาวะพรองฮอรโมนเทสทอสเตอโรน ซึ่งมีความจําเปนจะตองไดรับการให
ฮอรโมนเทสทอสเตอโรนทดแทนนั้น มีอยูจํานวนหนึ่งในชายผูสูงอายุ จึงไมมีความจําเปนที่จะตองให
ฮอรโมนเทสทอสเตอโรนทดแทนในชายสูงอายุทุกราย ดังนั้นการพิจารณาใหฮอรโมนเทสทอสเตอโรนทด
แทนในชายสูงอายุในโครงการหลักประกันสุขภาพอาจไมมากเทาที่คิด
4. อาการ และอาการแสดง
ผูชายที่สูงอายุนั้นจะมีปญหาทางสุขภาพหลายดาน5,15
ทําใหมีอาการแสดงไดหลายดานดวยกัน ณ ที่นี้จะ
ขอกลาวเปนหัวขอกวางๆ เอาไว (เพราะจะทําใหบทความนี้ยาวเกินไป และมีกลาวในรายละเอียดอยูใน
หนังสือ Aging Male ที่ไดจัดทําขึ้นในการประชุมวิชาการชายวัยทองของรพ. พระมงกุฎเกลา) ไดแก
1) โรคหัวใจและหลอดเลือด
2) มะเร็ง ตางๆ ในวัยสูงอายุ รวมทั้งมะเร็งของตอมลูกหมากที่เฉพาะในผูชายสูงอายุ
3) Chronic obstructive pulmonary disease
4) Degenerative และ metabolic diseases (ขออักเสบ, เบาหวาน, กระดูกพรุน)
5) การมองเห็นที่ลดลง (macular degeneration, ตอกระจก)
6) การไดยินที่ลดลง
7) เครียด ซึมเศรา นอนไมหลับ
8) ความผิดปกติ และการเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ การแข็งตัวของอวัยวะเพศ
9) ปญหาสมองเสื่อมชนิดตางๆ เชน Alzheimer’s เปนตน
10) ความผิกปกติเกี่ยวกับฮอรโมน มีการลดลงของ testosterone, dehydroepiandrosterone (DHEA),
dehydroepiandrosterone sulfate (DHEAS), GH, insulin-like growth factor I, และ melatonin ใน
ขณะเดียวกันจะมี FSH, LH, Sex hormone binding globulin (SHBG) ที่เพิ่มขึ้น การเปลี่ยแปลงของสาร
ตางๆ จะมีการเปลี่ยนแปลงตางๆ10,16
ซึ่งไดรับการพิสูจนวามีการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นได (ขอแนะนําให
อานเพิ่มเติมจากบทความทบทวนการวิจัยจํานวนมากจาก ISA, ISSAM and EAU recommendations for
the investigation, treatment and monitoring of late-onset hypogonadism in males: Scientific
background and rationale16
ดังนี้
10.1) ความรูสึกและความพึงพอใจทางเพศ การแข็งตัวของอวัยวะเพศ ความถี่ของการแข็งตัวของ
อวัยวะเพศ โดยเฉพาะกลางคืน
10.2) มีการเปลี่ยนแปลงของอารมณ รวมกับการลดลงของสติปญญา ความจํา มีอาการออนเพลีย
อารมณซึมเศรา และหงุดหงิดงาย
10.3) ปญหาการนอนหลับ
10.4) การลดลงของมวลกลามเนื้อ รวมทั้งความแข็งแรงของกลามเนื้อลดลง
Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 4 จาก 17
สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc
10.5) ไขมันที่อวัยวะภายใน (visceral fat) เพิ่มขึ้น
10.6) มีขนตามตัวลดลง และมีการเปลี่ยนแปลงของผิวหนัง
10.7) มวลกระดูกลดลง เปนผลใหเกิดกระดูกบาง กระดูกพรุน และเพิ่มความเสี่ยงตอการดูกหัก
10.8) ปริมาณของเม็ดเลือดแดงลดลง
ปญหาหลายประการที่กลาวมาขางตนจะเหมือนกับที่พบในสตรีวัยทอง ดังนั้นผูที่สนใจการดูแลสตรีวัย
ทองแบบองครวม นาจะเขาใจและดูแลผูชายวัยทองไดไมยากนัก
4. การวินิจฉัย
การวินิจฉัยนี้เปนสิ่งสําคัญ เนื่องจากผูชายไมไดมีประจําเดือนเหมือนอยางในสตรี จึงเปนการยากที่
วินิจฉัยถึงภาวะการพรองฮอรโมนในผูชาย ซึ่งไมไดขึ้นอยูกับอายุ มีความแตกตางของฮอรโมนเพศในผูชาย
แตละคน และผูชายไมไดมีประจําเดือนอยางในสตรี การวินิจฉัยอาจอาศัยหลักเกณฑ 2 ประการดวย กัน คือ
หลักเกณฑ ทางคลิกนิก และการตรวจทางหองปฎิบัติการ
4.1. หลักเกณฑทางคลินิก เนื่องจากผูชายพรองฮอรโมนมีอาการหลายอยาง จึงไดมีการนําเอา อาการมา
เปนตัวประเมินออกมาหลายชนิดดวยกัน ไดแก
แบบสอบถาม PADAM score (ดังตารางที่ 1) ที่คิดโดย Psychology Department of Bophorus
University, Istanbul, Turkey โดยใชคะแนนที่ไดจากอาการทางคลินิก 4 หัวขอ ไดแก อาการ
ทางดานรางกาย (physical) อาการทางระบบประสาทและการไหลเวียนโลหิต (vasomotor) อาการ
ทางจิตใจ (psychological) และปญหาทางเพศ (sexual problem) หรือ
แบบสอบถาม ADAM score ของมหาวิทยาลัย Saint Louis (ดังตารางที่ 2) ซึ่งใชไดงายกวา
รวมทั้งมีความไวและความจําเพาะถึงรอยละ 88 และรอยละ 60 ตามลําดับในกลุมประชากรใน
ประเทศแคนาดา14
หรือ
แบบสอบถาม Aging Male Symptoms (AMS) Scale ซึ่งเปนแบบสอบถามคุณภาพชีวิตที่
เกี่ยวของกับสุขภาพ (health related quality of life: HRQoL) นําเสนอโดย Heinemann และคณะ17
เปนแบบสอบถามจํานวน 17 ขอ โดยครอบคลุมอาการ 3 กลุม คือ กลุมอาการทางจิต กลุมอาการทาง
รางกาย กลุมอาการทางเพศ AMS scale นี้ไดรับการแปลเปนภาษาไทย (ดังตารางที่ 3) ซึ่งไดมีการ
ทดสอบความเชื่อมั่น (reliability) ของแบบสอบถามพบวาคอนขางดี18
แตมีการศึกษาทั้งที่พบวามี
ความสัมพันธกับระดับเทสทอสเตอโรน19
และพบไมมีความสัมพันธ20
ดังกลาว
จากที่กลาวมาแลวขางตน ไมวาจะเปนแบบสอบถามใดก็ตามก็มิไดเปนเครื่องมือที่ใชในการ
วินิจฉัยได แตมีคาใชจายต่ํา จึงมีประโยชนในการคัดกรอง ติดตามการรักษา รวมทั้งการประเมิน
คุณภาพชีวิต สวนการวินิจฉัยควรจะตองใชการตรวจทางชีวเคมีรวมดวย
4.2. หลักเกณฑทางหองปฎิบัติการ
อาการของการพรองฮอรโมน ปริมาณฮอรโมน การลดระดับของฮอรโมนในผูชายแตละคนจะมี
ความแตกตางกัน รวมทั้ง SHBG คอยๆ เพิ่มขึ้น ทําให free และ bioavailable testosterone ลดลง การ
ใชคา total testosterone จะไมคอยดีนัก เนื่องจาก free และ bioavailable testosterone เทานั้นที่
Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 5 จาก 17
สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc
สามารถออกฤทธิ์ตอเซลล การตรวจ free testosterone โดยตรงดวยวิธี dialysis นั้นทําไดยาก แต
สามารถคํานวณไดผลใกลเคียง โดยอาศัย total testosterone และ SHBG ที่เจาะตรวจ ระหวางเวลา
07.00 – 11.00 น. แลวนํามาคํานวณตามวิธีของ Vermeulen และคณะ21
สูตรการคํานวณคอนขาง
ยุงยาก แตสามารถคํานวณหาคาไดโดยอาศัย website ของ The International Society for The Study
of the Aging Male (ISSAM) คือ www.issam.ch/freetesto.htm
ในขณะนี้ยังไมมีคาที่ยอมรับโดยทั่วไปวาเปนคาต่ําสุดของคาปกติของ อีกทั้งยังไมเปนที่แนชัด
วามีความแตกตางตามภูมิศาสตรหรือเชื้อชาติ แตเปนที่ยอมรับโดยทั่วไปวา เมื่อคา total testosterone
มากกวา 12 nmol/L (346 ng/dL) หรือ free testosterone มากกวา 250 pmol/L (72 pg/mL) นั้นไมมี
ความจําเปนที่จะตองใหฮอรโมนทดแทน จากขอมูลที่ไดจากคาฮอรโมนของชายวัยหนุมสรุปวา คา
total testosterone ที่นอยกวา 8 nmol/L (231 ng/dL) หรือ free testosterone ที่นอยกวา 180 pmol/L
(52 pg/mL) ควรไดรับฮอรโมนทดแทน ในกรณีที่ระดับ total testosterone ระหวาง 12 กับ 8 nmol/L
รวมกับมีอาการของการขาดฮอรโมน โดยปราศจากสาเหตุอื่นก็อาจจะลองใหฮอรโมนทดแทน10
โดยจะมีแผนภูมิการวินิจฉัยและการดูแลชายวัยทอง ดังแผนภูมิที่ 116
ในกรณีที่พบวาคาเทสทอสเตอโรน ต่ํากวาเกณฑของคาปกติ หรือคาระดับต่ําของคาปกติควร
ไดรับการตรวจหาสาเหตุ ดวยการตรวจเลือดหารระดับ LH, Prolactin10
อยางไรก็ตาม นอกจากระดับของ free และ bioavailable testosterone จะสงผลตอสุขภาพแลว
ปจจัยที่ยังมีผลอีก คือ การตอบสนองตอฮอรโมนของอวัยวะไมเทากัน และยังมีผลมาจากความ
ผิดปกติของฮอรโมนชนิดอื่นอีก เชน เอสโตรเจน22
(เกิดจากการเปลี่ยนแปลงมาจากฮอรโมนเพศชาย
ในรางกาย) เปนตน ซึ่งจะมีผลตอผูปวยที่เปนมะเร็งเตานมมากอนได
Symptoms of hypogonadism (physical examination, history &
Measure total testosterone
Low (<8 nmol/L, 231 ng/dl) borderline Normal (>12 nmol/L, 346 ng/dL)
Elevated LH, Calculate free testosterone Seek other causes
Exclude
contraindication
for testosterone
Exclude pituitary
& other causes
Low (<180 pmol/L, 52 pg/mL) normal
Seek other causes
Trial of testosterone
Monitor respose
แผนภูมิที่ 1 แผนภูมิการวินิจฉัยและการดูแลชายวัยทอง
Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 6 จาก 17
สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc
5. หลักการดูแล
Johann Wolfgang von Goethe ไดกลาวเอาไววา “Aging no physician can stop. But he can if he is good
do a lot to reduce the suffering and aches of aging” ก็เชนเดียวกันกับวัตถุประสงคในการดูแลผูชายวัยทอง
คือ ไมไดเพื่อหยุดการชราภาพ เพื่อลดความทุกขความเจ็บปวดของความชราภาพ หรือ อีกนัยหนึ่งก็คือ การ
ปองกันภาวะที่ปองกันได ประวิงเวลาของภาวะที่ปองกันไมได เพื่อใหมีสุขภาพดีเหมาะสมทั้ง รางกาย จิตใจ
สังคม และจิตวิญญาณ ซึ่งควรจะครอบคลุมถึง
1) การสงเสริมสุขภาพ ควรมีการแนะนําใหมีพฤติกรรมที่พัฒนาใหมีผลดีตอสุขภาพในปจจุบัน เชน
การออกกําลังกายที่เหมาะสมทําใหกลามเนื้อมีความแข็งแรง
2) การปองกันโรค ควรมีการแนะนําใหมีพฤติกรรมที่จะทําใหไมใหเกิดโรคหรือความไมสบายใน
อนาคต โดยการงดพฤติกรรมที่กอใหเกิดโรค เชน การงดการสูบบุหรี่ การดื่มสุรา งดอาหารที่มี
ไขมันจากสัตว เปนตน เพิ่มพฤติกรรมที่ดี เชน การออกกําลังกายที่เหมาะสม (เพื่อปองกันโรคหัวใจ)
มีงานอดิเรก รับประทานอาหารที่มีสารอาหาร ใยอาหาร และ แคลเซี่ยมที่เหมาะสม
3) การตรวจคัดกรองโรคที่พบบอยในวัยกลางคนจนถึงวัยสูงอายุ และการรักษาในตั้งแตระยะเริ่มตน
เชน โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานไขมันในเลือดผิดปกติ โรคหัวใจ โรคตับ โรคไต ภาวะ
กระดูกพรุน ตอมลูกหมากโต มะเร็งตอมลูกหมาก มะเร็งปอด มะเร็งลําไส
4) การรักษาโรคที่ตรวจพบ ทั้งที่เปนโรคที่ตรวจคัดกรองหรือไม
5) การฟนฟูสมรรถภาพ ในกรณีที่เกิดโรคที่ไดรับการรักษาอยู และโรคจากความเสื่อมที่ไมอาจรักษา
ได เชน โรคขอเสื่อม หรือขอติด เปนตน
ในเวชศาสตรการปองกัน จะแบงการปองกันไดเปน 3 ระดับ23
ไดแก การปองกันปฐมภูมิ ฑุติยภูมิ และต
ติภูมิ การปองกันปฐมภูมิหมายถึงการปองกันไมใหเกิดโรคในขณะที่ยังไมเกิดโรค ซึ่งเปนการดูแลในหัวขอ
การสงเสริมสุขภาพและการปองกันโรค การปองกันฑุติยภูมิเปนการตรวจหาพยาธิสภาพที่เริ่มตนของโรคที่
มีความชุกมาก เพื่อทําใหกลับสูสุขภาพที่ดีเหมือนเดิม หรือใหชะลอความรุนแรง หรือทําใหการพยากรณดี
ขึ้น ซึ่งไดแกการดูแลในหัวขอการตรวจคัดกรองโรคที่พบบอย สวนหัวขอการรักษาโรคและการฟนฟู
สมรรถภาพนั้น เปนการปองกันชนิดตติยภูมิเพื่อลดผลเสียที่จะเกิดขึ้นในอนาคตของโรคที่เปนอยูในปจจุบัน
นอกจากนี้ในการดูแลประชากรกลุมนี้จึงจําเปนตองดูแลหลายระบบ ดูแลอยางองครวม ในรพ.ที่มีแพทย
หลายสาขาควรจะมีการดูแลรวมกัน จําเปนมีตองมีการใหสุขศึกษาในดานตาง ๆ ตองมีการประเมินสุขภาพ
เพื่อที่จะไดใหการดูแลรักษาไดอยางถูกตอง การประเมินนั้นจะประกอบดวย
1) การประเมินภาวะเสี่ยงตอการเกิดโรคที่พบบอยทางอายุรกรรม (รวมทั้งความอวน) และเสี่ยงตอการ
ขาดฮอรโมนเทสทอสเตอโรน
2) การประเมินโรคที่พบบอยทางอายุรกรรม
3) การประเมินโรคตอมลูกหมากโต เปนปญหาที่พบไดเฉพาะใหชายวัยสูงอายุ
Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 7 จาก 17
สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc
4) การประเมินอาการพรองเทสทอสเตอโรน เพราะ สรีรวิทยาของการเปลี่ยนแปลงฮอรโมนในผูชาย
นั้นจะมีความแตกตางจากสตรีที่ฮอรโมนเพศนั้นคอยๆ ลดลง ดังที่ไดกลาวมาแลวในหัวขอการ
วินิจฉัย
5) การประเมินขอบงหามของการใหเทสทอสเตอโรน10
5.1) Absolute contraindication
5.1.1) เมื่อสงสัยหรือวินิจฉัยวาเปนมะเร็งของตอมลูกหมาก เพราะ ฮอรโมนนี้จะมีทําใหมะเร็ง
ตอมลูกหมากลุกลามมากขึ้น แมวายังไมมีหลักฐานที่ฮอรโมนนี้จะทําใหเพิ่มอุบัติการ
ของมะเร็งตอมลูกหมาก
5.1.2) เมื่อสงสัยหรือวินิจฉัยวาเปนมะเร็งของเตานม เพราะเทสทอสเตอโรนสามารถ
เปลี่ยนเปนเอสโตรเจนได
5.1.3) polycythemia
5.1.4) sleep apnea ที่ยังไมไดรับการรักษา
5.1.5) หัวใจลมเหลวอยางรุนแรง
5.1.6) ตอมลูกหมากโตจนเกิดกลุมอาการของการอุดตันทางเดินปสสาวะสวนลางที่รุนแรง ซึ่ง
ประเมินจาก IPSS (Internation Prostate Symptome Score)24
ที่มีคะแนนสูง ดังแบบ
ประเมินในตารางที่ 4 หรืออาการทางคลินิกที่บงถึงการอุดตันการไหลของปสสาวะ
โดยพบวามีการเพิ่มขึ้นของ post-micturation residual volume การลดลงของ peak
urinary flow ความผิดปกติของ pressure flow-studies ในกรณีที่การอุดตันไดรับการ
รักษาแลว ก็ไมเปนขอบงหามอีกตอไป
5.1.7) แพฮอรโมนเพศชาย
5.2) Relatively contraindication ไดแก กลุมอาการของการอุดตันทางเดินปสสาวะสวนลางระดับ
ปานกลาง
6. วิธีการใหเทสทอสเตอโรนทดแทน
ในปจจุบันมีฮอรโมนเทสทอสเตอโรนทั้งชนิดธรรมชาติและแบบสังเคราะห อยูหลายชนิด ทั้งที่ใชฉีด
เขากลาม ชนิดรับประทาน ชนิดอมในกระพุงแกม ชนิดที่ใชผานทางผิวนังทั้งที่เปนแผนแปะหรือเจลทา และ
ชนิดฝงใตผิวหนัง ดังแสดงตัวอยางในตารางที่ 55,16,25,26
แมวาฮอรโมนชนิดธรรมชาติจะเปนฮอรโมนที่ดี แต
การดูดซึมผานระบบทางเดินอาหารไมดี จึงมีการทําเปนรูปแบบที่ผานทางผิวหนังและฝงใตผิวหนังซึ่งยังไมมี
ใชในประเทศไทยขณะนี้ นอกจากนี้ยังมีการวิจัยฮอรโมนชนิดอมใตลิ้น อมในกระพุงแกม27
Dihydrotestosterone ชนิดทาผิวหนัง ยาตานเอ็นซัมย aromatase28
และจากสมุนไพร
ในปจจุบันไดมีการนํายา testosterone undecanoate in oil suspension (Nebido®
) ฉีดเขากลามชนิดใหม
เขามาในประเทศไทยที่ออกฤทธิ์คอนขางสม่ําเสมอในระดับสรีระวิทยา และออกฤทธิ์ยาวนานถึง 10-14
สัปดาหเพื่อสะดวกตอผูปวย
Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 8 จาก 17
สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc
คําแนะนําสําคัญเกี่ยวกับหลักการใชฮอรโมนเพศชายทดแทนที่ Bhasin และคณะ29
กลาวไวยังใชไดอยูใน
ปจจุบัน คือ
1) ควรใชเทสทอสเตอโรนธรรมชาติ
2) เปาหมายของการใชคือ ทําใหระดับของเทสทอสเตอโรนในเลือดอยูในระดับสรีระ หรือระดับปกติ
3) สามารถที่จะหยุดยาหรือนํายาออกจากรางกายไดเมื่อจําเปน
มีขอพึงระวังอยูบางประการ คือ
ประการที่ 1 การรักษาดวยเทสทอสเตอโรนควรใหเฉพาะในชายที่ขาดฮอรโมนเทานั้น โดยชายผูนั้นมี
อาการทางคลินิกชัดเจน รวมกับมีการตรวจพบวามีฮอรโมนในกระแสเลือดต่ําดวยวิธีการที่แมนยําและมีการ
ตรวจซ้ํา30
ประการที่ 2 ควรใหฮอรโมนที่อยูในระดับปกติ เพราะถาระดับเทสทอสเตอโรนมากเกินไปจะมีผลเสีย
ในหลายๆ ระบบ30
ไดแก ตอมลูกหมาก ความผิดปกติของไขมันเลือด โรคหัวใจและหลอดเลือด ความเขมขน
ของเลือดมากขึ้น ความแข็งแรงของเอ็นลดลง31
ดังนั้นการใหยาชนิดฉีดชนิดดั้งเดิมที่จะมีระดับยาสูงในระยะ
ที่เริ่มฉีดใหมๆ แมวายาชนิดฉีดจะมีขอดีในดานการดูดซึมและราคาไมแพง
ประการที่ 3 ฮอรโมนชนิดรับประทานชนิดที่เปน 17α-alkylated steroids เชน methyl testosterone,
fluoxy-mesterone จะเปนพิษตอตับ จึงไมแนะนําใหใช5,30
ประการที่ 4 การเลือกใชยา ควรจะเปนการตัดสินใจรวมกันระหวางผูรับบริการและแพทย10
ประการที่ 5 ยังไมมีหลักฐานเพียงพอที่แนะนําใหใชฮอรโมนทดแทนในชายวัยทองดวย DHT, DHEA,
DHEA-S, androstenediol, androstenedione และ hCG10
7. การตรวจติดตาม
7.1 ในผูที่ไมไดรับฮอรโมนทดแทนและไมมีความเจ็บปวยใดๆ ก็อาจจะมีการตรวจสุขภาพใหมทุกๆ 1
ป
7.2 ในผูที่มีโรคหรืออาการเจ็บปวยควรไดรับการดูแล ติดตาม และตรวจทางหองปฎิบัติการตามโรคที่
เปน
7.3 ในผูที่ไดรับเทสทอสเตอโรนทดแทน จะตองไดรับการติดตามการรักษา ทุก 1- 3 เดือน5,25,26
โดย
7.3.1. ชั่งน้ําหนัก วัดความดันโลหิต
7.3.2. ประเมินอาการการขาดฮอรโมน เพื่อเปรียบเทียบผลในการรักษา (โดยปกติจะมีอาการ
เปลี่ยนแปลงในระยะเวลาคอนขางชา)
7.3.3. เฝาตรวจภาวะแทรกซอนจากเทสทอสเตอโรนไดแก
7.3.3.1. ความเขมขนของเม็ดเลือดแดง ถาอยูระหวางรอยละ 51 - 53 vol.% ควรลดเทสทอส
เตอโรนลงและแนะนําใหบริจาคโลหิต ในกรณีที่มากกวารอยละ 54 ควรใหหยุด
เทสทอสเตอโรน
Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 9 จาก 17
สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc
7.3.3.2. ตรวจ PSA และ ตรวจตอมลูกหมากดวยการคลํา (digital rectal examination; DRE)
ควรตรวจในผูชายอายุตั้งแต 45 ป10
สวนผูที่ไดรับเทสทอสเตอโรนทดแทนจะตอง
ไดรับการติดตามทุก 3 เดือนในระยะ 12 เดือนแรก ถาเพิ่มขึ้น 2 นาโนกรัมตอ
มิลลิลิตร หรือ อัตราการเพิ่มขึ้นของ PSA ตอป (PSA velocity) มากกวา 0.75 นาโน
กรัมตอมิลลิลิตรตอป เปนเวลา 2 ป ถากรณีที่คา PSA เริ่มตน มากกวา 4.0 นาโน
กรัมตอมิลลิลิตร แลวมีการเพิ่มขึ้นมากกวา 0.4 นาโนกรัมตอมิลลิลิตรตอป ควร
ไดรับการสงตอให ศัลยแพทยทางเดินปสสาวะตรวจและตัดเนื้อตอมลูกหมาก
ตรวจ32
อยางไรก็ตามผูเขียนมีความเห็นวา ถาคา PSA ครั้งแรก มากกวา 4.0 นาโน
กรัมตอมิลลิลิตร หรือพบวา DRE ผิดปกติ จะตองไมควรใหเทสทอสเตอโรนและ
สงปรึกษาศัลยแพทยทางเดินปสสาวะเพื่อ ตัดเนื้อตอมลูกหมากสงตรวจดวย
อัลตราซาวดทางทวารหนัก
7.3.4. เมื่อครบ 1 ปควรไดรับการตรวจสุขภาพใหมทั้งหมด
8. การใหคําแนะนํา สุขศึกษา เพื่อใหมีการปรับเปลี่ยนใหมีพฤติกรรมที่ดีตอสุขภาพ ซึ่งเปนสิ่งที่สําคัญ
ประการหนึ่งในการดูแลผูชายและสตรีวัยทอง ในที่นี้จะไมขอกลาวถึง เพราะทานสมารถจะหาอานจาก
บทความอื่นได และบทความรวมทั้งแผนพับสําหรับประชาชน 9 อ.ที่ผูเขียนเคยเขียนไว
โดยสรุปแลวการดูแลผูชายวัยกลางคนและวัยสูงอายุมีความจําเปนที่จะตองทั้งการเฝาระวังโรค การ
สรางเสริมสุขภาพ และการซอมสุขภาพ การใชเทสทอสเตอโรนทดแทนในรายที่มีการขาดฮอรโมนเทสทอส
เตอโรน รวมทั้งตองมีการดูแลอยางองครวม จากผูเชี่ยวชาญหลายสาขา อีกทั้งควรมีการใหความรูแก
ผูรับบริการใหสามารถดูแลสุขภาพตนเอง และถาเปนไปไดควรไดรับความรวมมือจากชุมชน
Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 10 จาก 17
สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc
ตาราง 1 การวินิจฉัยภาวะฮอรโมนเพศชายบกพรอง โดยอาการทางคลินิก
(สม่ําเสมอ = 3, บอยครั้ง = 2, นาน ๆ ครั้ง = 1, ไมเคย = 0)
วัน/เดือน/ป
อาการทางรางกาย (Physical)
1. ไมมีเรี่ยวแรง
2. นอนไมคอยหลับ หรือตื่นกลางดึกแลว
3. เบื่ออาหาร
4. ปวดเมื่อยตามกระดูกและขอ
อากาารทางระบบประสาทและไหลเวียน (Vasomotor)
5. รอนวูบวาบตามรางกาย
6. มีเหงื่อออกมาก
7. หัวใจเตนเร็วหรือใจสั่น
รวมคะแนนอาการทางรางกาย + ระบบ
ไอาการทางจิตใจ (Psychological)
8. หลงลืมมากขึ้น
9. ไมมีสมาธิ
10. กลัว ตกใจอยางไมมีเหตุผล
11. หงุดหงิด
12. ไมสนใจในสิ่งตางๆ
รวมคะแนนอาการทางจิต
ปญหาทางเพศ (Sexual)
13. ขาดความสนใจทางเพศ
14. ขาดความตื่นเตนทางเพศ
15. องคชาตไมแข็งตัวขณะตื่นนอนเชา
16. ลมเหลวในกิจกรรมทางเพศ
17. องคชาตออนตัวขณะมีเพศสัมพันธ
รวมคะแนนปญหาทางเพศ
การแปลผล: เปนภาวะฮอรโมนเพศชายบกพรอง (PADAM) ถา
• คะแนนรวมอาการทางรางกาย + อาการทางระบบไหลเวียนโลหิต ≥ 5
• คะแนนรวมอาการทางจิต ≥ 4
• คะแนนรวมปญหาทางเพศ ≥ 8
Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 11 จาก 17
สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc
ตาราง 2 แบบสอบถาม ADAM ของมหาวิทยาลัย Saint Louis
กรุณาตอบคําถามตอไปนี้
1. คุณมีความตองการทางเพศลดลงหรือไม
2. คุณมีความกระตือรือรน, ความแข็งขัน, กระปรี้กระเปรา ลดลงหรือไม
3. คุณมีพละกําลัง/ความอดทนลดลงหรือไม
4. ความสูงของคุณลดลงหรือไม
5. คุณรูสึกวาความสุข(สนุกสนาน) ในชีวิตลดลงหรือไม
6. คุณรูสึกเศรา หรือหดหูหรือไม
7. การแข็งตัวของอวัยวะเพศของคุณลดลงหรือไม
8. คุณรูสึกวาความสามารถทางการกีฬาของคุณลดลงหรือไม
9. คุณเคยเผลอหลับหลังอาหารเย็นหรือไม
10. ความสามารถทางการทํางานของคุณลดลงหรือไม
วินิจฉัยวาเปนภาวะพรองฮอรโมนเทสทอสเตอโรนเมื่อ ตอบแบบสอบถามวาใชในขอ 1 หรือ 7ขอ
ใดขอหนึ่ง หรือ ขออื่นรวม 3 ขอ
Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 12 จาก 17
สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc
ตาราง 3 Aging male symptoms (AMS) scale ฉบับภาษาไทย
อาการดังตอไปนี้ขอใดที่เขากันไดกับทานในขณะนี้ โปรดทําเครื่องหมายลงในชองที่เหมาะสมสําหรับแตละอาการ ถาอาการขอไหนไมเขา
กันเลยใหทําเครื่องหมายในชอง “ไมมีอาการ”
ระดับความรุนแรงของอาการ (คะแนน)
อาการ
ไมมี
อาการ
(1)
นอย
(2)
ปานกลาง
(3)
รุนแรง
(4)
รุนแรง
มาก
(5)
1. ความรูสึกเกี่ยวกับความเปนอยูที่ดีทั่วๆไปของทานลดลง
(ภาวะสุขภาพทั่วๆ ไป, ความรูสึกของตัวทานเอง)
2. ปวดตามขอและปวดกลามเนื้อ
(ปวดหลังสวนลาง, ปวดขอ, ปวดตามแขนขา, ปวดเมื่อยหลังทั่วไป)
3. เหงื่อออกมากกวาปกติ (มีเหงื่อออกมากแบบทันทีทันใด/ไมคาดคิดมากอน,
รูสึกรอนวูบวาบโดยไมมีความเครียด)
4. มีปญหาการนอนหลับ (นอนหลับยาก, นอนหลับๆ ตื่นๆ, ตื่นเชากวาปกติ
และรูสึกเหนื่อย นอนหลับไมสนิท)
5. ตองการที่จะนอนมากขึ้น
รูสึกเหนื่อยเพลียบอยๆ
6. หงุดหงิดงาย
(รูสึกกาวราว, โมโหงายแมแตเรื่องเล็กๆ นอยๆ, อารมณเปลี่ยนงาย)
7. ประสาทเครียด
(มีความตึงเครียดอยูในใจ, กระสับกระสาย, รูสึกกระวนกระวาย)
8. รูสึกวิตกกังวล
(รูสึกตกใจกลัวงาย)
9. รูสึกหมดแรง/ไมมีชีวิตชีวา (ประสิทธิภาพการทํางานโดยทั่วไปลดลง, ทํา
กิจกรรมตางๆ ลดลง, หมดความสนใจในกิจกรรมพักผอนหยอนใจ, รูสึกวา
ทําอะไรไดเสร็จนอยลงและสําเร็จนอยลง, รูสึกวาตองบังคับตนเองใหทํา
กิจกรรมตางๆ)
10. ความแข็งแรงของกลามเนื้อลดลง
(รูสึกออนแรง)
11. มีอารมณซึมเศรา (รูสึกตกต่ํา, ซึมเศรา, อยากรองไห, ไมมีแรงดลใจ อารมณ
แปรปรวน, รูสึกวาอะไรก็ไมมีประโยชน)
12. รูสึกวาตนเองไดผานชวงที่ดีที่สุดของชีวิตไปแลว
13. รูสึกหมดไฟ, เหมือนชีวิตอยูจุดต่ําสุด
14. หนวดเคราขึ้นชาลง
15. ความสามารถและความถี่ในการมีเพศสัมพันธลดลง
16. จํานวนครั้งของการแข็งตัวขององคชาตตอนเชาลดลง
17. ความตองการทางเพศลดลง (ความพึงพอใจในการมีเพศสัมพันธลดลง, ขาด
ความปรารถนาที่จะมีเพศสัมพันธ)
ทานมีอาการที่สําคัญอื่นๆ อีกหรือไม มี ไมมี
ถามีกรุณาอธิบาย..................................................................................................................................................................................................
ขอขอบพระคุณเปนอยางสูงสําหรับความรวมมือของทาน
คะแนนที่ได ความรุนแรงของภาวะพรองฮอรโมนเพศชาย
นอยกวา หรือ เทากับ 26 ไมมี
27 - 36 เล็กนอย
37 - 49 ปานกลาง
มากกวา หรือ เทากับ 50 มาก
Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 13 จาก 17
สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc
ตาราง 4 แบบการประเมินการถายปสสาวะเพื่อวินิจฉัยความรุนแรงของตอมลูกหมากโต (International
Prostate Symptom Score)
จํานวนครั้งของอาการตอการปสสาวะ 10 ครั้ง
ลักษณะการ
ปสสาวะ
ไมมีอาการ
เลย
นอยกวา 2
ครั้ง(นานๆ
ครั้ง)
นอยกวา 5
ครั้ง(ปาน
กลาง)
5 ครั้ง
(บอยครั้ง)
มากกวา 5
ครั้ง
(บอยมาก)
เกือบทุกครั้ง
(บอยที่สุด)
ปสสาวะไมสุดหรือ
เหลือคางหลัง
ปสสาวะ
0 1 2 3 4 5
ปสสาวะบอยหรือ
หางกันไมเกิน 2
ชั่วโมง
0 1 2 3 4 5
เมื่อปวดปสสาวะ
แลวกลั้นไมอยู
0 1 2 3 4 5
ลําปสสาวะไมพุง 0 1 2 3 4 5
ตองเบงหรือรอ
นานกวาจะ
ปสสาวะออกมาได
0 1 2 3 4 5
จํานวนครั้งการ
ปสสาวะระหวาง
นอนหลับ
0 ครั้ง 1 ครั้ง 2 ครั้ง 3 ครั้ง 4 ครั้ง 5 ครั้ง
คะแนนรวม
คะแนนรวมทั้ง 7 ขอ คะแนน
การแปลผล
คะแนน ความรุนแรงของตอมลูกหมากโต (BPH)
1 - 7 เล็กนอย (mild)
8 - 19 ปานกลาง (moderate)
20 -35 รุนแรง (severe)
ตาราง 5 ตัวอยางชนิดของเทสทอสเตอโรนทดแทน
Administration Available formulation Dose
Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 14 จาก 17
สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc
Injectable testosterone in solution 10-50 mg i.m. every 2 days
testosterone cypionate (in oil suspension) 50-250 mg i.m. every 2 weeks
testosterone propionate (in oil suspension) 10-25 mg i.m. twice a week
testosterone enanthate (in oil suspension) 50-250 mg i.m. every 2 weeks
testosterone undecanoate (in oil suspension) 1000 mg every 10-14 weeks
Oral testosterone undecanoate capsules (in oleic acid) 80-200 mg/day
testosterone undecanoate capsules (in a mixture of
castor oil & propylene glycol laurate)
initially: 120-160 mg/day for 2-3
weeks, then 40-120 mg/day
fluoxymesterone* 2.5-20 mg/day
methyltestosterone* 10-20 mg/day
mesterolone 75-150 mg/day
buccal testosterone buccal system 30 mg/twice a day
transdermal testosterone patch 5 mg/day
testosterone gel 5 g of 1% testosterone gel
subcutanous pellets of crystalline testosterone 600 mg every 4-6 months
* หามใชเพราะมีพิษตอตับ
Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 15 จาก 17
สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc
Reference List
1. Walker RF. Is aging a disease? A review of the Serono Symposia Workshop held under the auspices of the 3rd
World Congress on the Aging Male. February 9, 2002, Berlin, Germany. Aging Male 2002;5:147-69.
2. United Nations. World Population Prospects, The 1998 Revision. 1999. New York, United Nations.
3. ธนบูรณ จุลยามิตรพร, สายัณห สวัสดิ์ศรี, บัณฑิต จันทะยานี. เทสทอสเตอโรนกับชายวัยทอง. In:
บัณฑิต จันทะยานี, สายัณห สวัสดิ์ศรี, ธนบูรณ จุลยามิตรพร, บัณฑิต กาญจนพยัฆ, อยุทธินี สิงหโก
วินท, เจษฎา อุดมมงคล, editors. Aging male: men's health through the ages. กรุงเทพฯ: บียอนด เอ็นเทอร
ไพรช; 2544. หนา66-74.
4. Kaufman J. Hypothalamic-pituitary-gonadal function in aging men. Aging Male 1999;2:157.
5. Morales A, Lunenfeld B. Investigation, treatment and monitoring of late-onset hypogonadism in males. Official
recommendations of ISSAM. International Society for the Study of the Aging Male. Aging Male. 2002;5:74-86.
6. หะทัย เทพพิสัย. Overview ADAM vs PADAM in Thailand. In: บัณฑิต จันทะยานี, สายัณห สวัสดิ์ศรี, ธน
บูรณ จุลยามิตรพร, บัณฑิต กาญจนพยัฆ, อยุทธินี สิงหโกวินท, เจษฎา อุดมมงคล, editors. Aging male:
men's health through the ages. กรุงเทพฯ: บียอนด เอ็นเทอรไพรช; 2544. หนา66-74.
7. Lunenfeld B. Hormone replacement therapy in the aging male. Aging Male 1999;2:1-5.
8. ภักดี โพธิศิริ. Policies issues for the aging male in Thailand. In: สายัณห สวัสดิ์ศรี, บัณฑิต จันทะยานี,
บัณฑิต กาญจนพยั, ธนบูรณ จุลยามิตรพร, ชาติวุฒิ ค้ําชู, อยุธินี สิงหโกวินท et al, editors. Aging male II:
problems practice promotion prevention postpone productivity. กรุงเทพฯ: บียอนด เอ็นเทอรไพรช; 2545.
หนา3-12.
9. Vermeulen A, Kaufman JM. Aging of the hypothalamopituitary-testicular axis in men. Horm Res 1995;43:25-28.
10. Nieschlag E, Swerdloff R, Behre HM, Gooren LJ, Kaufman JM, Legros JJ et al. Investigation, treatment and
monitoring of late-onset hypogonadism in males. Aging male. 2005; 8:56-8.
11. Vermeulen A, Rubens R, Verdonck L. Testosterone secretion and metabolism in male senescence. J Clinic
Endocrinol Metab 1972;34:730-35.
12. Stearns EL, MacDonnell JA, Kaufman BJ, Padua R, Lucman TS, Winter JS et al. Declining testicular function
with age. Hormonal and clinical correlates. Am J Med 1974;57:761-66.
Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 16 จาก 17
สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc
13. Harman SM, Metter EJ, Tobin JD, Pearson J, Blackman MR. Longitudinal effects of aging on serum total and free
testosterone levels in healthy men. Baltimore Longitudinal Study of Aging. J Clin Endocrinol Metab 2001;86:724-
31.
14. Morley JE, Charlton E, Patrick P, Kaiser FE, Cadeau P, McCready D et al. Validation of a screening questionnaire
for androgen deficiency in aging males. Metabolism 2000;49:1239-42.
15. Lunenfeld B. Aging men--challenges ahead. Asian J.Androl 2001;3:161-68.
16. Lunenfeld B, Saad F, Hoesl CE. ISA, ISSAM and EAU recommendations for the investigation, treatment and
monitoring of late-onset hypogonadism in males: scientific background and rationale. Aging male 2005;8:59-74.
17. Heinemann, L. J., Zimmermann, T., Vermeulen, A., Thiel, C., and Hummel, W. A new aging males symptoms
rating scale. The Aging Male 2, 105-114. 1999.
18. Daig I, Heinemann LA, Kim S, Leungwattanakij S, Badia X, Myon E et al. The Aging Males' Symptoms (AMS)
scale: review of its methodological characteristics. Health Qual.Life Outcomes. 2003;1:77.
19. Kratzik CW, Reiter WJ, Riedl AM, Lunglmayr G, Brandstätter N, Rücklinger E, Metka M, Huber J. Hormone
profiles, body mass index and Aging Male Symptoms results of the Androx Vienna Municipality study. Aging
Male 2004;7:188-96.
20. T’Sjoen G, Feyen E, Kuyper P, Comhaire F, Kaufman JM. Self-referred patients in an aging male clinic: much
more than androgen deficiency alone. Aging Male 2003;6:157-65.
21. Vermeulen A, Verdonck L, Kaufman JM. A critical evaluation of simple methods for the estimation of free
testosterone in serum. J Clin Endocrinol Metab 1999;84:3666-72.
22. Oettel M. Is there a role for estrogens in the maintenance of men's health? Aging Male 2002;5:248-57.
23. Gooren L, Lunenfeld B. Screening of the aging male. In: Lunenfeld B, Gooren L, editors. Textbook of Men's
Health. New York: The Parthenon Publishing Group; 2002. p. 15-43.
24. Abrams P, Blaivas J, Griffiths D. The Objective evaluation of bladder outlet obstruction (urodynamics). In:
Cockett A, Houry S, Aso Y, et al, editors. The second International Consultation on Benign Prostate Hyperplasia
(BPH). Channel Islands: Scientific Communications International; 1993. p. 115.
25. Kim YC. Hormonal replacement therapy and aging: Asian practical recommendations on testosterone
supplementation. Asian J.Androl 2003;5:339-44.
26. Handelsman DJ, Zajac JD. Androgen deficiency and replacement therapy in men. Med.J.Aust. 2004;180:529-35.
Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 17 จาก 17
สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc
27. Wang C, Swerdloff R, Kipnes M, Matsumoto AM, Dobs AS, Cunningham G et al. New testosterone buccal system
(Striant) delivers physiological testosterone levels: pharmacokinetics study in hypogonadal men.
J.Clin.Endocrinol.Metab 2004;89:3821-29.
28. Leder BZ, Rohrer JL, Rubin SD, Gallo J, Longcope C. Effects of aromatase inhibition in elderly men with low or
borderline-low serum testosterone levels. J.Clin.Endocrinol.Metab 2004;89:1174-80.
29. Bhasin S, Bagatell CJ, Bremner WJ, Plymate SR, Tenover JL, Korenman SG et al. Issues in testosterone
replacement in older men. J Clin Endocrinol Metab 1998;83:3435-48.
30. Oettel M. Testosterone metabolism, dose-response relationships and receptor polymorphisms: selected
pharmacological/toxicological considerations on benefits versus risks of testosterone therapy in men. Aging Male
2003;6:230-56.
31. Laseter JT, Russel JA. Anaboloic steroid-induced tendon pathology: a review literature. Med Sci Sports Exerc
1991;23:1-3.
32. Snyder PJ. Delvelopment of criteria to monitor the occurrence of prostate cancer in testosterone clinical trial. In:
Bhasin S, Gabelnick HL, Swoerdloff RS, Wang C, editors. Pharmacology, Biology, and Clinical Applications of
Androgens. New York: Wiley-Liss; 1996. p. 143-50.

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 592.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59Nickson Butsriwong
 
TAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine EmergencyTAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine Emergencytaem
 
A Study of Digital Competency Components of Thai Professional Nurses
A Study of Digital Competency Components of Thai Professional NursesA Study of Digital Competency Components of Thai Professional Nurses
A Study of Digital Competency Components of Thai Professional NursesToomTam Nurse
 
คู่มือสำหรับประชาชนในการช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นด้วยเค...
คู่มือสำหรับประชาชนในการช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน  ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นด้วยเค...คู่มือสำหรับประชาชนในการช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน  ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นด้วยเค...
คู่มือสำหรับประชาชนในการช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นด้วยเค...Utai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)Aphisit Aunbusdumberdor
 
แนวทางการบำบัดทดแทนไต
แนวทางการบำบัดทดแทนไตแนวทางการบำบัดทดแทนไต
แนวทางการบำบัดทดแทนไตCAPD AngThong
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57Sirinoot Jantharangkul
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด Utai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...maxx061
 
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - NurseTAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - Nursetaem
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist Utai Sukviwatsirikul
 
Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisBow Aya
 

La actualidad más candente (20)

2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 592.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
TAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine EmergencyTAEM10: Endocrine Emergency
TAEM10: Endocrine Emergency
 
Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
A Study of Digital Competency Components of Thai Professional Nurses
A Study of Digital Competency Components of Thai Professional NursesA Study of Digital Competency Components of Thai Professional Nurses
A Study of Digital Competency Components of Thai Professional Nurses
 
คู่มือสำหรับประชาชนในการช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นด้วยเค...
คู่มือสำหรับประชาชนในการช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน  ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นด้วยเค...คู่มือสำหรับประชาชนในการช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน  ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นด้วยเค...
คู่มือสำหรับประชาชนในการช่วยชีวิตผู้ป่วยฉุกเฉิน ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นด้วยเค...
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
แนวทางการบำบัดทดแทนไต
แนวทางการบำบัดทดแทนไตแนวทางการบำบัดทดแทนไต
แนวทางการบำบัดทดแทนไต
 
Diabetic ketoacidosis
Diabetic ketoacidosisDiabetic ketoacidosis
Diabetic ketoacidosis
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
การพยาบาลแบบองค์รวมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพสำหรับบุคคลวัยเด็ก วัยรุ่นวัยผู้ใหญ่แ...
 
Cpg anemia
Cpg anemiaCpg anemia
Cpg anemia
 
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - NurseTAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
วิธีการตรวจโรคเบื้องต้น การประชุม family pharmacist
 
Trầm cảm và yếu tố liên quan ở bệnh nhân đái tháo đường týp 2
Trầm cảm và yếu tố liên quan ở bệnh nhân đái tháo đường týp 2Trầm cảm và yếu tố liên quan ở bệnh nhân đái tháo đường týp 2
Trầm cảm và yếu tố liên quan ở bệnh nhân đái tháo đường týp 2
 
Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitis
 

Destacado

ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...
ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...
ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...Utai Sukviwatsirikul
 
Integumentary, Intro to Skeletal and Axial PP
Integumentary, Intro to Skeletal and Axial PP Integumentary, Intro to Skeletal and Axial PP
Integumentary, Intro to Skeletal and Axial PP Mary Walker
 
ปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิก
ปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิกปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิก
ปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิกjyotismo
 
NCD for Golden Jubilee Medical Center
NCD for Golden Jubilee Medical CenterNCD for Golden Jubilee Medical Center
NCD for Golden Jubilee Medical CenterSoranit Siltharm
 
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysisSani Satjachaliao
 
ระบบประสาท Nervous system
ระบบประสาท Nervous systemระบบประสาท Nervous system
ระบบประสาท Nervous systemPat Pataranutaporn
 
การกำหนดตำแหน่งวิชาการ
การกำหนดตำแหน่งวิชาการการกำหนดตำแหน่งวิชาการ
การกำหนดตำแหน่งวิชาการPrachyanun Nilsook
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพUtai Sukviwatsirikul
 
Sport injury การบาดเจ็บ ที่เกิดจากการเล่นกีฬา
Sport injury การบาดเจ็บ ที่เกิดจากการเล่นกีฬาSport injury การบาดเจ็บ ที่เกิดจากการเล่นกีฬา
Sport injury การบาดเจ็บ ที่เกิดจากการเล่นกีฬาUtai Sukviwatsirikul
 
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพรปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพรUtai Sukviwatsirikul
 

Destacado (20)

ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...
ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...
ประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยาเม็ดเมลาโทนินชนิดออกฤทธ์ยาว ต่อการรักษาอาการนอน...
 
Integumentary, Intro to Skeletal and Axial PP
Integumentary, Intro to Skeletal and Axial PP Integumentary, Intro to Skeletal and Axial PP
Integumentary, Intro to Skeletal and Axial PP
 
PHYSIOLOGY Chap3
PHYSIOLOGY Chap3PHYSIOLOGY Chap3
PHYSIOLOGY Chap3
 
PHYSIOLOGY Chap4
PHYSIOLOGY Chap4PHYSIOLOGY Chap4
PHYSIOLOGY Chap4
 
ปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิก
ปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิกปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิก
ปวดหลัง, ปวดคอ, ปวดขา, ไคโรแพรคติก คลินิก
 
Lab 1
Lab 1Lab 1
Lab 1
 
Hyperbaric oxygen therapy
Hyperbaric oxygen therapyHyperbaric oxygen therapy
Hyperbaric oxygen therapy
 
NGHU_1512_parallel
NGHU_1512_parallelNGHU_1512_parallel
NGHU_1512_parallel
 
Lab Tissue
Lab Tissue Lab Tissue
Lab Tissue
 
Flexibility theory
Flexibility theoryFlexibility theory
Flexibility theory
 
NCD for Golden Jubilee Medical Center
NCD for Golden Jubilee Medical CenterNCD for Golden Jubilee Medical Center
NCD for Golden Jubilee Medical Center
 
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis427 305  สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
427 305 สัปดาห์ที่ 16 correlational analysis
 
Lab 2
Lab 2Lab 2
Lab 2
 
ระบบประสาท Nervous system
ระบบประสาท Nervous systemระบบประสาท Nervous system
ระบบประสาท Nervous system
 
PHYSIOLOGY Chap2
PHYSIOLOGY Chap2PHYSIOLOGY Chap2
PHYSIOLOGY Chap2
 
การกำหนดตำแหน่งวิชาการ
การกำหนดตำแหน่งวิชาการการกำหนดตำแหน่งวิชาการ
การกำหนดตำแหน่งวิชาการ
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
 
PHYSIOLOGY Chap8
PHYSIOLOGY Chap8PHYSIOLOGY Chap8
PHYSIOLOGY Chap8
 
Sport injury การบาดเจ็บ ที่เกิดจากการเล่นกีฬา
Sport injury การบาดเจ็บ ที่เกิดจากการเล่นกีฬาSport injury การบาดเจ็บ ที่เกิดจากการเล่นกีฬา
Sport injury การบาดเจ็บ ที่เกิดจากการเล่นกีฬา
 
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพรปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูป จากสมุนไพร
 

Similar a Aging and androgen augmentation therapy

สเต็มเซลล์บำบัด
สเต็มเซลล์บำบัดสเต็มเซลล์บำบัด
สเต็มเซลล์บำบัดUtai Sukviwatsirikul
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก Utai Sukviwatsirikul
 
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงามนวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงามIsyapatr
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2Kobchai Khamboonruang
 
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189Raveewin Bannsuan
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ssuser48f3f3
 
2007821172158 466 6438_1
2007821172158 466 6438_12007821172158 466 6438_1
2007821172158 466 6438_1New Srsn
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemsupreechafkk
 
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2Kobchai Khamboonruang
 
Polyphamacy in elderly Suratthani Geriatric Care
Polyphamacy in elderly Suratthani Geriatric CarePolyphamacy in elderly Suratthani Geriatric Care
Polyphamacy in elderly Suratthani Geriatric Carekridauakridathikarn
 
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘Fah Chimchaiyaphum
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อฟลุ๊ค ลำพูน
 

Similar a Aging and androgen augmentation therapy (20)

สเต็มเซลล์บำบัด
สเต็มเซลล์บำบัดสเต็มเซลล์บำบัด
สเต็มเซลล์บำบัด
 
155344bayer329
155344bayer329155344bayer329
155344bayer329
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก
 
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงามนวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
นวัตกรรมเพื่อสุขภาพและความงาม
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
 
Health
HealthHealth
Health
 
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
2007821172158 466 6438_1
2007821172158 466 6438_12007821172158 466 6438_1
2007821172158 466 6438_1
 
Detail2
Detail2Detail2
Detail2
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
 
แนวข้อสอบ Pisa
แนวข้อสอบ Pisaแนวข้อสอบ Pisa
แนวข้อสอบ Pisa
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
Hormone
HormoneHormone
Hormone
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
 
การรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับการรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับ
 
Polyphamacy in elderly Suratthani Geriatric Care
Polyphamacy in elderly Suratthani Geriatric CarePolyphamacy in elderly Suratthani Geriatric Care
Polyphamacy in elderly Suratthani Geriatric Care
 
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 

Más de Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Más de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

Aging and androgen augmentation therapy

  • 1. Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 1 จาก 17 สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc Aging and Androgen Augmentation Therapy พ.อ. ผ.ศ. ธนบูรณ จุลยามิตรพร หนวยชวยการเจริญพันธ กองสูตินรีเวชกรรม ร.พ. พระมงกุฎเกลา 1. บทนํา กอนที่จะกลาวถึงการใชฮอรโมนเทสทอสเตอโรนทดแทนชนิดใหมในผูชายวัยทองตามที่ไดรับมอบ หมายมาใหบรรยายครั้งนี้ ผูเขียนจะกลาวถึงความสําคัญและความรูพื้นฐานที่จะดูแลผูชายวัยทอง เพราะ ขณะนี้ในประเทศไทยยังมีแพทยที่สนใจและติดตามความรูการดูแลผูชายวัยทองยังนอยอยู ในทางตรงกัน ขามแพทยบางทานไดใหฮอรโมนทดแทนมากจนเกินความจําเปน ผูเขียนจึงอยากใหมีผูที่หันมาสนใจผูชาย เหลานี้กันบาง เพราะเขาผูนั้นอาจเปน ทาน หรือคูสมรสของทาน หรือญาติของทานเองก็ได มีเทพนิยายที่จะนํามาเปนอุทาหรณถึงความทุกขของชายวัยทองและคูสมรส ดังนี้ คือ “ทิโธนัส เปนคูรัก ที่เสียชีวิตไปของเทพธิดา ออโรรา (ซึ่งเปนเทพแหงรุงอรณ) ออโรราเสียใจมาก จึงไปทูลขอพระบิดาคือ ซีอุส ใหชุบชีวิต ทิโธนัส แตเธอลืมขอความเปนหนุมมาใหเขา เปนเหตุให ทิโธนัส ออนแอ กะปลกกะเปลี้ย หมด สมรรถภาพทางเพศ ทําให ออโรรา รําคาญจนตองสาปใหเปนตั๊กแตน และเนรเทศไปในหองที่ไกลที่สุดของ ปราสาท”1 เทพนิยายกรีกนี้แสดงใหเห็นลักษณะบางประการของชายที่สูงอายุ ดังนั้น Walker ไดแนะนําวา นาจะเรียกการเสื่อมของผูชายวัยสูงอายุวา Tithonusism การมีชีวิตเปนอมตะแตมีสุขภาพที่ออนแอดังกลาวนี้ คงไมเปนที่ปารถณาของทุกทานหรือของสมาชิกในครอบครัว เปนแนแท ผูที่อยูในสภาวะคลายกับที่ทิโธนัสและออโรราประสบอยูนาจะมีไมใชนอย ทั้งนี้เนื่องจาก พบวาอายุขัย เฉลี่ยของประชาการในปจจุบันสูงขึ้น แต “อายุขัยเฉลี่ยที่ปลอดความพิการ หรือ disability-free life expectancy หรือ health expectancy” ยังไมมากขึ้น และ จํานวน “ปที่พิการ หรือ disability” ไมนอยลง ใน หลายประเทส จากรายงานของสหประชาชาติในป 2542 พบวา ประเทศไทย มีอายุขัยเฉลี่ย 68.2 ป อายุขัย เฉลี่ยที่ปลอดความพิการ 60.2 ป และปที่พิการเทากับ 8 ป2 การดูแลใหผูสูงอายุมีอายุขัยเฉลี่ยที่ปลอดความ พิการเพิ่มขึ้นและมีปที่พิการลดลงจึงเปนสิ่งสําคัญ รวมทั้งใหมีสุขภาพที่ดีทั้งกาย ใจ จิตวิญญาณ และสังคม ควรมีการตระเตรียมสุขภาพดานตางๆ ปญหาทางสุขภาพจํานวนมาก สามารถจะตรวจพบและรักษาไดในระยะเริ่มตน ทําใหลดความทุกข ทรมานของผูปวย ซึ่งเปนตามวัตถุประสงคของหลักประกันสุขภาพ อีกทั้งยังลดคาใชจายในการรักษาได แต มักจะพบวาผูชายไดเขาหาบริการทางการแพทยนอยกวาสตรี สตรีมักจะมาพบแพทยเพื่อปองกัน เสริมสราง สุขภาพ แตผูชายมักจะมาเพื่อซอมสุขภาพ ในที่นี้จึงขอกลาวถึงเฉพาะการตระเตรียมเพื่อสุขภาพในวัยสูงอายุ เพศชายดวยการใหเทสทอสเตอโรนทดแทน
  • 2. Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 2 จาก 17 สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc 2. คําจํากัดความ การเปลี่ยนแปลงของสุขภาพ หรือ ความชราภาพนั้นไมอาจจะใชตัวเลขของอายุมาเปนขอกําหนด ดังนั้น จึงไมสามารถใชอายุมาเปนเกณฑในการวินิจฉัย “ภาวะชายวัยทอง”ได คําวา “ชายวัยทอง” หรือบางทานตั้ง ชื่อวา “ชายวัยเงิน” เปนการตั้งชื่อเลียนแบบกับ “สตรีวัยทอง” ซึ่งเปนสตรีวัยหมดประจําเดือน หรือภาวะที่รัง ไขไมสามารถสรางฮอรโมนเพศหญิงได โดยภาวะดังกลาวจะมีผลตอสุขภาพและคุณภาพชีวิตของสตรี แต ในผูชายนั้นจะมีความแตกตางจากสตรีอยูบาง เนื่องมาจากอัณฑะจะมีการคอยๆ ลดการทํางานลงชาๆ เมื่อ อายุคอยสูงขึ้น3;4 ดังนั้นนาหมายถึงชายที่มีปญหาพรองฮอรโมนเพศชายเมื่อสูงอายุ หรือ Partial Androgen Deficiency in Aging Male (PADAM) ตอมาภายหลังเรียกสั้นลงวา Androgen Deficiency in Aging Male (ADAM ซึ่งมีเสียงพองกับชื่อของมนุษยผูชายคนแรกของโลก) และในภายหลัง The International Society for The Study of the Aging Male (ISSAM) ไดใหชื่อวา late-onset hypogonadism in males5 โดยชื่อที่กลาว มาเหลานี้นาจะถูกตองมากกวาชื่อวา ชายวัยหมดฮอรโมนเพศชาย (andropause) หรือ penopause หรือ ชายวัย เปลี่ยน (male climateric) แตก็ยังมีคนจํานวนมากยังคงนิยมเรียกวา andropause นอกจากนี้ยังมีผูใหคําจํากัดความอื่นอีก เชน อ.หะทัย เทพพิสัย ไดเคยแนะนําวานาจะใชคําวา “Multiple Endocrine Deficiency in Aging Male (MEDAM)6 หรือ “Partial Endocrine Deficiency in Aging Male (PEDAM)7 เพราะวาผูชายในกลุมนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงฮอรโมนหลายชนิดดวยกัน สวนกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขนั้นไดกําหนดใหมีการดูแลชายวัยทองเอาไวใหอยูในกลุมวัยทํางาน โดยกําหนดเพื่อให เริ่มดูแลตั้งแตอายุ 40-60 ป8 โดยมีเหตุผล 2 ประการคือ เพื่อใหมีการดูแลตอเนื่องตอไปยังวัยชราซึ่งกําหนด เอาไววามีอายุ 60 ป และ ผูชายที่พรองฮอรโมนบางรายอาจเริ่มตนตั้งแตอายุ 40 ป9 ความหมายของชายวัยทองหรือ LOH ตามคําแนะนําของ ISA, ISSAM, EUA คือ กลุมอาการทางคลินิก และชีวเคมีที่เกี่ยวของกับการสูงอายุ ซึ่งลักษณะของอาการที่ชัดเจนรวมกับมีการระดับฮอรโมนเทสทอสเตอ โรนในเลือดต่ํา อันอาจจะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงตอคุณภาพชีวิตที่เสื่อมลงอยางมีนัยสําคัญ รวมทั้งการ ทํางานผิดปกติของอวัยวะหลายระบบ10 3. ความชุก ตวามชุกของชายวัยทอง (ตามความหมายขางตน) นั้นจะมีความแตกตางกันไปแลวแตกลุมประชากร รวมทั้งวิธีของการวินิจฉัย โดยทั่วไปจะพบวา คาเฉลี่ยของเทสทอสเตอโรนจะเริ่มลดลงหลังจากอายุ 50 ป11, 12 อยางไรก็ตามระดับของฮอรโมนจะมีความแตกตางกันมากระหวางบุคคลตอบุคคล โดยพบวา เมื่อใชวิธีการ ตรวจระดับเทสทอสเตอโรนรวม (total testosterone) จะพบวาผูชายที่มีปญหาพรองฮอรโมนเพศชายต่ําได รอยละ 7 เมื่ออายุระหวาง 40-60 ป พบไดรอยละ 20 เมื่ออายุ 60-80 ป พบไดถึงรอยละ 35 เมื่ออายุมากวา 80 ป9 อีกการศึกษา Baltimore Longitudinal Study on Aging จะพบวามีอุบัติการของผูที่ขาดฮอรโมนเพศดวย การตรวจเทศทอสเตอโรนรวมได รอยละ 20 ในชายอายุมากวา 60 ป รอยละ 30 เมื่ออายุมากกวา 70 ป และ รอยละ 50 เมื่ออายุมากกวา 80 ป13 ขอมูลดังกลาวอาจพบวาอุบัติการณดูจะไมมากนัก แตในผูที่มีอายุมากขึ้น จะมี Sex hormone binding globulin (SHBG) เพิ่มสูงขึ้น ทําใหระดับของ bioavailable testosterone (เทากับ
  • 3. Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 3 จาก 17 สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc free testosterone รวมกับ albumine-bound testosterone) ลดลง ดังนั้นหากวินิจฉัยดวยการใช bioavailable testosterone จะพบวา รอยละ 25 ของผูชายแคนาดาที่มีอายุระหวาง 40-62 ป จะอยูในภาวะพรองฮอรโมน14 ดังนั้นจะเห็นวาผูชายที่มีภาวะพรองฮอรโมนเทสทอสเตอโรน ซึ่งมีความจําเปนจะตองไดรับการให ฮอรโมนเทสทอสเตอโรนทดแทนนั้น มีอยูจํานวนหนึ่งในชายผูสูงอายุ จึงไมมีความจําเปนที่จะตองให ฮอรโมนเทสทอสเตอโรนทดแทนในชายสูงอายุทุกราย ดังนั้นการพิจารณาใหฮอรโมนเทสทอสเตอโรนทด แทนในชายสูงอายุในโครงการหลักประกันสุขภาพอาจไมมากเทาที่คิด 4. อาการ และอาการแสดง ผูชายที่สูงอายุนั้นจะมีปญหาทางสุขภาพหลายดาน5,15 ทําใหมีอาการแสดงไดหลายดานดวยกัน ณ ที่นี้จะ ขอกลาวเปนหัวขอกวางๆ เอาไว (เพราะจะทําใหบทความนี้ยาวเกินไป และมีกลาวในรายละเอียดอยูใน หนังสือ Aging Male ที่ไดจัดทําขึ้นในการประชุมวิชาการชายวัยทองของรพ. พระมงกุฎเกลา) ไดแก 1) โรคหัวใจและหลอดเลือด 2) มะเร็ง ตางๆ ในวัยสูงอายุ รวมทั้งมะเร็งของตอมลูกหมากที่เฉพาะในผูชายสูงอายุ 3) Chronic obstructive pulmonary disease 4) Degenerative และ metabolic diseases (ขออักเสบ, เบาหวาน, กระดูกพรุน) 5) การมองเห็นที่ลดลง (macular degeneration, ตอกระจก) 6) การไดยินที่ลดลง 7) เครียด ซึมเศรา นอนไมหลับ 8) ความผิดปกติ และการเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ การแข็งตัวของอวัยวะเพศ 9) ปญหาสมองเสื่อมชนิดตางๆ เชน Alzheimer’s เปนตน 10) ความผิกปกติเกี่ยวกับฮอรโมน มีการลดลงของ testosterone, dehydroepiandrosterone (DHEA), dehydroepiandrosterone sulfate (DHEAS), GH, insulin-like growth factor I, และ melatonin ใน ขณะเดียวกันจะมี FSH, LH, Sex hormone binding globulin (SHBG) ที่เพิ่มขึ้น การเปลี่ยแปลงของสาร ตางๆ จะมีการเปลี่ยนแปลงตางๆ10,16 ซึ่งไดรับการพิสูจนวามีการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นได (ขอแนะนําให อานเพิ่มเติมจากบทความทบทวนการวิจัยจํานวนมากจาก ISA, ISSAM and EAU recommendations for the investigation, treatment and monitoring of late-onset hypogonadism in males: Scientific background and rationale16 ดังนี้ 10.1) ความรูสึกและความพึงพอใจทางเพศ การแข็งตัวของอวัยวะเพศ ความถี่ของการแข็งตัวของ อวัยวะเพศ โดยเฉพาะกลางคืน 10.2) มีการเปลี่ยนแปลงของอารมณ รวมกับการลดลงของสติปญญา ความจํา มีอาการออนเพลีย อารมณซึมเศรา และหงุดหงิดงาย 10.3) ปญหาการนอนหลับ 10.4) การลดลงของมวลกลามเนื้อ รวมทั้งความแข็งแรงของกลามเนื้อลดลง
  • 4. Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 4 จาก 17 สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc 10.5) ไขมันที่อวัยวะภายใน (visceral fat) เพิ่มขึ้น 10.6) มีขนตามตัวลดลง และมีการเปลี่ยนแปลงของผิวหนัง 10.7) มวลกระดูกลดลง เปนผลใหเกิดกระดูกบาง กระดูกพรุน และเพิ่มความเสี่ยงตอการดูกหัก 10.8) ปริมาณของเม็ดเลือดแดงลดลง ปญหาหลายประการที่กลาวมาขางตนจะเหมือนกับที่พบในสตรีวัยทอง ดังนั้นผูที่สนใจการดูแลสตรีวัย ทองแบบองครวม นาจะเขาใจและดูแลผูชายวัยทองไดไมยากนัก 4. การวินิจฉัย การวินิจฉัยนี้เปนสิ่งสําคัญ เนื่องจากผูชายไมไดมีประจําเดือนเหมือนอยางในสตรี จึงเปนการยากที่ วินิจฉัยถึงภาวะการพรองฮอรโมนในผูชาย ซึ่งไมไดขึ้นอยูกับอายุ มีความแตกตางของฮอรโมนเพศในผูชาย แตละคน และผูชายไมไดมีประจําเดือนอยางในสตรี การวินิจฉัยอาจอาศัยหลักเกณฑ 2 ประการดวย กัน คือ หลักเกณฑ ทางคลิกนิก และการตรวจทางหองปฎิบัติการ 4.1. หลักเกณฑทางคลินิก เนื่องจากผูชายพรองฮอรโมนมีอาการหลายอยาง จึงไดมีการนําเอา อาการมา เปนตัวประเมินออกมาหลายชนิดดวยกัน ไดแก แบบสอบถาม PADAM score (ดังตารางที่ 1) ที่คิดโดย Psychology Department of Bophorus University, Istanbul, Turkey โดยใชคะแนนที่ไดจากอาการทางคลินิก 4 หัวขอ ไดแก อาการ ทางดานรางกาย (physical) อาการทางระบบประสาทและการไหลเวียนโลหิต (vasomotor) อาการ ทางจิตใจ (psychological) และปญหาทางเพศ (sexual problem) หรือ แบบสอบถาม ADAM score ของมหาวิทยาลัย Saint Louis (ดังตารางที่ 2) ซึ่งใชไดงายกวา รวมทั้งมีความไวและความจําเพาะถึงรอยละ 88 และรอยละ 60 ตามลําดับในกลุมประชากรใน ประเทศแคนาดา14 หรือ แบบสอบถาม Aging Male Symptoms (AMS) Scale ซึ่งเปนแบบสอบถามคุณภาพชีวิตที่ เกี่ยวของกับสุขภาพ (health related quality of life: HRQoL) นําเสนอโดย Heinemann และคณะ17 เปนแบบสอบถามจํานวน 17 ขอ โดยครอบคลุมอาการ 3 กลุม คือ กลุมอาการทางจิต กลุมอาการทาง รางกาย กลุมอาการทางเพศ AMS scale นี้ไดรับการแปลเปนภาษาไทย (ดังตารางที่ 3) ซึ่งไดมีการ ทดสอบความเชื่อมั่น (reliability) ของแบบสอบถามพบวาคอนขางดี18 แตมีการศึกษาทั้งที่พบวามี ความสัมพันธกับระดับเทสทอสเตอโรน19 และพบไมมีความสัมพันธ20 ดังกลาว จากที่กลาวมาแลวขางตน ไมวาจะเปนแบบสอบถามใดก็ตามก็มิไดเปนเครื่องมือที่ใชในการ วินิจฉัยได แตมีคาใชจายต่ํา จึงมีประโยชนในการคัดกรอง ติดตามการรักษา รวมทั้งการประเมิน คุณภาพชีวิต สวนการวินิจฉัยควรจะตองใชการตรวจทางชีวเคมีรวมดวย 4.2. หลักเกณฑทางหองปฎิบัติการ อาการของการพรองฮอรโมน ปริมาณฮอรโมน การลดระดับของฮอรโมนในผูชายแตละคนจะมี ความแตกตางกัน รวมทั้ง SHBG คอยๆ เพิ่มขึ้น ทําให free และ bioavailable testosterone ลดลง การ ใชคา total testosterone จะไมคอยดีนัก เนื่องจาก free และ bioavailable testosterone เทานั้นที่
  • 5. Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 5 จาก 17 สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc สามารถออกฤทธิ์ตอเซลล การตรวจ free testosterone โดยตรงดวยวิธี dialysis นั้นทําไดยาก แต สามารถคํานวณไดผลใกลเคียง โดยอาศัย total testosterone และ SHBG ที่เจาะตรวจ ระหวางเวลา 07.00 – 11.00 น. แลวนํามาคํานวณตามวิธีของ Vermeulen และคณะ21 สูตรการคํานวณคอนขาง ยุงยาก แตสามารถคํานวณหาคาไดโดยอาศัย website ของ The International Society for The Study of the Aging Male (ISSAM) คือ www.issam.ch/freetesto.htm ในขณะนี้ยังไมมีคาที่ยอมรับโดยทั่วไปวาเปนคาต่ําสุดของคาปกติของ อีกทั้งยังไมเปนที่แนชัด วามีความแตกตางตามภูมิศาสตรหรือเชื้อชาติ แตเปนที่ยอมรับโดยทั่วไปวา เมื่อคา total testosterone มากกวา 12 nmol/L (346 ng/dL) หรือ free testosterone มากกวา 250 pmol/L (72 pg/mL) นั้นไมมี ความจําเปนที่จะตองใหฮอรโมนทดแทน จากขอมูลที่ไดจากคาฮอรโมนของชายวัยหนุมสรุปวา คา total testosterone ที่นอยกวา 8 nmol/L (231 ng/dL) หรือ free testosterone ที่นอยกวา 180 pmol/L (52 pg/mL) ควรไดรับฮอรโมนทดแทน ในกรณีที่ระดับ total testosterone ระหวาง 12 กับ 8 nmol/L รวมกับมีอาการของการขาดฮอรโมน โดยปราศจากสาเหตุอื่นก็อาจจะลองใหฮอรโมนทดแทน10 โดยจะมีแผนภูมิการวินิจฉัยและการดูแลชายวัยทอง ดังแผนภูมิที่ 116 ในกรณีที่พบวาคาเทสทอสเตอโรน ต่ํากวาเกณฑของคาปกติ หรือคาระดับต่ําของคาปกติควร ไดรับการตรวจหาสาเหตุ ดวยการตรวจเลือดหารระดับ LH, Prolactin10 อยางไรก็ตาม นอกจากระดับของ free และ bioavailable testosterone จะสงผลตอสุขภาพแลว ปจจัยที่ยังมีผลอีก คือ การตอบสนองตอฮอรโมนของอวัยวะไมเทากัน และยังมีผลมาจากความ ผิดปกติของฮอรโมนชนิดอื่นอีก เชน เอสโตรเจน22 (เกิดจากการเปลี่ยนแปลงมาจากฮอรโมนเพศชาย ในรางกาย) เปนตน ซึ่งจะมีผลตอผูปวยที่เปนมะเร็งเตานมมากอนได Symptoms of hypogonadism (physical examination, history & Measure total testosterone Low (<8 nmol/L, 231 ng/dl) borderline Normal (>12 nmol/L, 346 ng/dL) Elevated LH, Calculate free testosterone Seek other causes Exclude contraindication for testosterone Exclude pituitary & other causes Low (<180 pmol/L, 52 pg/mL) normal Seek other causes Trial of testosterone Monitor respose แผนภูมิที่ 1 แผนภูมิการวินิจฉัยและการดูแลชายวัยทอง
  • 6. Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 6 จาก 17 สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc 5. หลักการดูแล Johann Wolfgang von Goethe ไดกลาวเอาไววา “Aging no physician can stop. But he can if he is good do a lot to reduce the suffering and aches of aging” ก็เชนเดียวกันกับวัตถุประสงคในการดูแลผูชายวัยทอง คือ ไมไดเพื่อหยุดการชราภาพ เพื่อลดความทุกขความเจ็บปวดของความชราภาพ หรือ อีกนัยหนึ่งก็คือ การ ปองกันภาวะที่ปองกันได ประวิงเวลาของภาวะที่ปองกันไมได เพื่อใหมีสุขภาพดีเหมาะสมทั้ง รางกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ ซึ่งควรจะครอบคลุมถึง 1) การสงเสริมสุขภาพ ควรมีการแนะนําใหมีพฤติกรรมที่พัฒนาใหมีผลดีตอสุขภาพในปจจุบัน เชน การออกกําลังกายที่เหมาะสมทําใหกลามเนื้อมีความแข็งแรง 2) การปองกันโรค ควรมีการแนะนําใหมีพฤติกรรมที่จะทําใหไมใหเกิดโรคหรือความไมสบายใน อนาคต โดยการงดพฤติกรรมที่กอใหเกิดโรค เชน การงดการสูบบุหรี่ การดื่มสุรา งดอาหารที่มี ไขมันจากสัตว เปนตน เพิ่มพฤติกรรมที่ดี เชน การออกกําลังกายที่เหมาะสม (เพื่อปองกันโรคหัวใจ) มีงานอดิเรก รับประทานอาหารที่มีสารอาหาร ใยอาหาร และ แคลเซี่ยมที่เหมาะสม 3) การตรวจคัดกรองโรคที่พบบอยในวัยกลางคนจนถึงวัยสูงอายุ และการรักษาในตั้งแตระยะเริ่มตน เชน โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวานไขมันในเลือดผิดปกติ โรคหัวใจ โรคตับ โรคไต ภาวะ กระดูกพรุน ตอมลูกหมากโต มะเร็งตอมลูกหมาก มะเร็งปอด มะเร็งลําไส 4) การรักษาโรคที่ตรวจพบ ทั้งที่เปนโรคที่ตรวจคัดกรองหรือไม 5) การฟนฟูสมรรถภาพ ในกรณีที่เกิดโรคที่ไดรับการรักษาอยู และโรคจากความเสื่อมที่ไมอาจรักษา ได เชน โรคขอเสื่อม หรือขอติด เปนตน ในเวชศาสตรการปองกัน จะแบงการปองกันไดเปน 3 ระดับ23 ไดแก การปองกันปฐมภูมิ ฑุติยภูมิ และต ติภูมิ การปองกันปฐมภูมิหมายถึงการปองกันไมใหเกิดโรคในขณะที่ยังไมเกิดโรค ซึ่งเปนการดูแลในหัวขอ การสงเสริมสุขภาพและการปองกันโรค การปองกันฑุติยภูมิเปนการตรวจหาพยาธิสภาพที่เริ่มตนของโรคที่ มีความชุกมาก เพื่อทําใหกลับสูสุขภาพที่ดีเหมือนเดิม หรือใหชะลอความรุนแรง หรือทําใหการพยากรณดี ขึ้น ซึ่งไดแกการดูแลในหัวขอการตรวจคัดกรองโรคที่พบบอย สวนหัวขอการรักษาโรคและการฟนฟู สมรรถภาพนั้น เปนการปองกันชนิดตติยภูมิเพื่อลดผลเสียที่จะเกิดขึ้นในอนาคตของโรคที่เปนอยูในปจจุบัน นอกจากนี้ในการดูแลประชากรกลุมนี้จึงจําเปนตองดูแลหลายระบบ ดูแลอยางองครวม ในรพ.ที่มีแพทย หลายสาขาควรจะมีการดูแลรวมกัน จําเปนมีตองมีการใหสุขศึกษาในดานตาง ๆ ตองมีการประเมินสุขภาพ เพื่อที่จะไดใหการดูแลรักษาไดอยางถูกตอง การประเมินนั้นจะประกอบดวย 1) การประเมินภาวะเสี่ยงตอการเกิดโรคที่พบบอยทางอายุรกรรม (รวมทั้งความอวน) และเสี่ยงตอการ ขาดฮอรโมนเทสทอสเตอโรน 2) การประเมินโรคที่พบบอยทางอายุรกรรม 3) การประเมินโรคตอมลูกหมากโต เปนปญหาที่พบไดเฉพาะใหชายวัยสูงอายุ
  • 7. Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 7 จาก 17 สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc 4) การประเมินอาการพรองเทสทอสเตอโรน เพราะ สรีรวิทยาของการเปลี่ยนแปลงฮอรโมนในผูชาย นั้นจะมีความแตกตางจากสตรีที่ฮอรโมนเพศนั้นคอยๆ ลดลง ดังที่ไดกลาวมาแลวในหัวขอการ วินิจฉัย 5) การประเมินขอบงหามของการใหเทสทอสเตอโรน10 5.1) Absolute contraindication 5.1.1) เมื่อสงสัยหรือวินิจฉัยวาเปนมะเร็งของตอมลูกหมาก เพราะ ฮอรโมนนี้จะมีทําใหมะเร็ง ตอมลูกหมากลุกลามมากขึ้น แมวายังไมมีหลักฐานที่ฮอรโมนนี้จะทําใหเพิ่มอุบัติการ ของมะเร็งตอมลูกหมาก 5.1.2) เมื่อสงสัยหรือวินิจฉัยวาเปนมะเร็งของเตานม เพราะเทสทอสเตอโรนสามารถ เปลี่ยนเปนเอสโตรเจนได 5.1.3) polycythemia 5.1.4) sleep apnea ที่ยังไมไดรับการรักษา 5.1.5) หัวใจลมเหลวอยางรุนแรง 5.1.6) ตอมลูกหมากโตจนเกิดกลุมอาการของการอุดตันทางเดินปสสาวะสวนลางที่รุนแรง ซึ่ง ประเมินจาก IPSS (Internation Prostate Symptome Score)24 ที่มีคะแนนสูง ดังแบบ ประเมินในตารางที่ 4 หรืออาการทางคลินิกที่บงถึงการอุดตันการไหลของปสสาวะ โดยพบวามีการเพิ่มขึ้นของ post-micturation residual volume การลดลงของ peak urinary flow ความผิดปกติของ pressure flow-studies ในกรณีที่การอุดตันไดรับการ รักษาแลว ก็ไมเปนขอบงหามอีกตอไป 5.1.7) แพฮอรโมนเพศชาย 5.2) Relatively contraindication ไดแก กลุมอาการของการอุดตันทางเดินปสสาวะสวนลางระดับ ปานกลาง 6. วิธีการใหเทสทอสเตอโรนทดแทน ในปจจุบันมีฮอรโมนเทสทอสเตอโรนทั้งชนิดธรรมชาติและแบบสังเคราะห อยูหลายชนิด ทั้งที่ใชฉีด เขากลาม ชนิดรับประทาน ชนิดอมในกระพุงแกม ชนิดที่ใชผานทางผิวนังทั้งที่เปนแผนแปะหรือเจลทา และ ชนิดฝงใตผิวหนัง ดังแสดงตัวอยางในตารางที่ 55,16,25,26 แมวาฮอรโมนชนิดธรรมชาติจะเปนฮอรโมนที่ดี แต การดูดซึมผานระบบทางเดินอาหารไมดี จึงมีการทําเปนรูปแบบที่ผานทางผิวหนังและฝงใตผิวหนังซึ่งยังไมมี ใชในประเทศไทยขณะนี้ นอกจากนี้ยังมีการวิจัยฮอรโมนชนิดอมใตลิ้น อมในกระพุงแกม27 Dihydrotestosterone ชนิดทาผิวหนัง ยาตานเอ็นซัมย aromatase28 และจากสมุนไพร ในปจจุบันไดมีการนํายา testosterone undecanoate in oil suspension (Nebido® ) ฉีดเขากลามชนิดใหม เขามาในประเทศไทยที่ออกฤทธิ์คอนขางสม่ําเสมอในระดับสรีระวิทยา และออกฤทธิ์ยาวนานถึง 10-14 สัปดาหเพื่อสะดวกตอผูปวย
  • 8. Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 8 จาก 17 สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc คําแนะนําสําคัญเกี่ยวกับหลักการใชฮอรโมนเพศชายทดแทนที่ Bhasin และคณะ29 กลาวไวยังใชไดอยูใน ปจจุบัน คือ 1) ควรใชเทสทอสเตอโรนธรรมชาติ 2) เปาหมายของการใชคือ ทําใหระดับของเทสทอสเตอโรนในเลือดอยูในระดับสรีระ หรือระดับปกติ 3) สามารถที่จะหยุดยาหรือนํายาออกจากรางกายไดเมื่อจําเปน มีขอพึงระวังอยูบางประการ คือ ประการที่ 1 การรักษาดวยเทสทอสเตอโรนควรใหเฉพาะในชายที่ขาดฮอรโมนเทานั้น โดยชายผูนั้นมี อาการทางคลินิกชัดเจน รวมกับมีการตรวจพบวามีฮอรโมนในกระแสเลือดต่ําดวยวิธีการที่แมนยําและมีการ ตรวจซ้ํา30 ประการที่ 2 ควรใหฮอรโมนที่อยูในระดับปกติ เพราะถาระดับเทสทอสเตอโรนมากเกินไปจะมีผลเสีย ในหลายๆ ระบบ30 ไดแก ตอมลูกหมาก ความผิดปกติของไขมันเลือด โรคหัวใจและหลอดเลือด ความเขมขน ของเลือดมากขึ้น ความแข็งแรงของเอ็นลดลง31 ดังนั้นการใหยาชนิดฉีดชนิดดั้งเดิมที่จะมีระดับยาสูงในระยะ ที่เริ่มฉีดใหมๆ แมวายาชนิดฉีดจะมีขอดีในดานการดูดซึมและราคาไมแพง ประการที่ 3 ฮอรโมนชนิดรับประทานชนิดที่เปน 17α-alkylated steroids เชน methyl testosterone, fluoxy-mesterone จะเปนพิษตอตับ จึงไมแนะนําใหใช5,30 ประการที่ 4 การเลือกใชยา ควรจะเปนการตัดสินใจรวมกันระหวางผูรับบริการและแพทย10 ประการที่ 5 ยังไมมีหลักฐานเพียงพอที่แนะนําใหใชฮอรโมนทดแทนในชายวัยทองดวย DHT, DHEA, DHEA-S, androstenediol, androstenedione และ hCG10 7. การตรวจติดตาม 7.1 ในผูที่ไมไดรับฮอรโมนทดแทนและไมมีความเจ็บปวยใดๆ ก็อาจจะมีการตรวจสุขภาพใหมทุกๆ 1 ป 7.2 ในผูที่มีโรคหรืออาการเจ็บปวยควรไดรับการดูแล ติดตาม และตรวจทางหองปฎิบัติการตามโรคที่ เปน 7.3 ในผูที่ไดรับเทสทอสเตอโรนทดแทน จะตองไดรับการติดตามการรักษา ทุก 1- 3 เดือน5,25,26 โดย 7.3.1. ชั่งน้ําหนัก วัดความดันโลหิต 7.3.2. ประเมินอาการการขาดฮอรโมน เพื่อเปรียบเทียบผลในการรักษา (โดยปกติจะมีอาการ เปลี่ยนแปลงในระยะเวลาคอนขางชา) 7.3.3. เฝาตรวจภาวะแทรกซอนจากเทสทอสเตอโรนไดแก 7.3.3.1. ความเขมขนของเม็ดเลือดแดง ถาอยูระหวางรอยละ 51 - 53 vol.% ควรลดเทสทอส เตอโรนลงและแนะนําใหบริจาคโลหิต ในกรณีที่มากกวารอยละ 54 ควรใหหยุด เทสทอสเตอโรน
  • 9. Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 9 จาก 17 สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc 7.3.3.2. ตรวจ PSA และ ตรวจตอมลูกหมากดวยการคลํา (digital rectal examination; DRE) ควรตรวจในผูชายอายุตั้งแต 45 ป10 สวนผูที่ไดรับเทสทอสเตอโรนทดแทนจะตอง ไดรับการติดตามทุก 3 เดือนในระยะ 12 เดือนแรก ถาเพิ่มขึ้น 2 นาโนกรัมตอ มิลลิลิตร หรือ อัตราการเพิ่มขึ้นของ PSA ตอป (PSA velocity) มากกวา 0.75 นาโน กรัมตอมิลลิลิตรตอป เปนเวลา 2 ป ถากรณีที่คา PSA เริ่มตน มากกวา 4.0 นาโน กรัมตอมิลลิลิตร แลวมีการเพิ่มขึ้นมากกวา 0.4 นาโนกรัมตอมิลลิลิตรตอป ควร ไดรับการสงตอให ศัลยแพทยทางเดินปสสาวะตรวจและตัดเนื้อตอมลูกหมาก ตรวจ32 อยางไรก็ตามผูเขียนมีความเห็นวา ถาคา PSA ครั้งแรก มากกวา 4.0 นาโน กรัมตอมิลลิลิตร หรือพบวา DRE ผิดปกติ จะตองไมควรใหเทสทอสเตอโรนและ สงปรึกษาศัลยแพทยทางเดินปสสาวะเพื่อ ตัดเนื้อตอมลูกหมากสงตรวจดวย อัลตราซาวดทางทวารหนัก 7.3.4. เมื่อครบ 1 ปควรไดรับการตรวจสุขภาพใหมทั้งหมด 8. การใหคําแนะนํา สุขศึกษา เพื่อใหมีการปรับเปลี่ยนใหมีพฤติกรรมที่ดีตอสุขภาพ ซึ่งเปนสิ่งที่สําคัญ ประการหนึ่งในการดูแลผูชายและสตรีวัยทอง ในที่นี้จะไมขอกลาวถึง เพราะทานสมารถจะหาอานจาก บทความอื่นได และบทความรวมทั้งแผนพับสําหรับประชาชน 9 อ.ที่ผูเขียนเคยเขียนไว โดยสรุปแลวการดูแลผูชายวัยกลางคนและวัยสูงอายุมีความจําเปนที่จะตองทั้งการเฝาระวังโรค การ สรางเสริมสุขภาพ และการซอมสุขภาพ การใชเทสทอสเตอโรนทดแทนในรายที่มีการขาดฮอรโมนเทสทอส เตอโรน รวมทั้งตองมีการดูแลอยางองครวม จากผูเชี่ยวชาญหลายสาขา อีกทั้งควรมีการใหความรูแก ผูรับบริการใหสามารถดูแลสุขภาพตนเอง และถาเปนไปไดควรไดรับความรวมมือจากชุมชน
  • 10. Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 10 จาก 17 สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc ตาราง 1 การวินิจฉัยภาวะฮอรโมนเพศชายบกพรอง โดยอาการทางคลินิก (สม่ําเสมอ = 3, บอยครั้ง = 2, นาน ๆ ครั้ง = 1, ไมเคย = 0) วัน/เดือน/ป อาการทางรางกาย (Physical) 1. ไมมีเรี่ยวแรง 2. นอนไมคอยหลับ หรือตื่นกลางดึกแลว 3. เบื่ออาหาร 4. ปวดเมื่อยตามกระดูกและขอ อากาารทางระบบประสาทและไหลเวียน (Vasomotor) 5. รอนวูบวาบตามรางกาย 6. มีเหงื่อออกมาก 7. หัวใจเตนเร็วหรือใจสั่น รวมคะแนนอาการทางรางกาย + ระบบ ไอาการทางจิตใจ (Psychological) 8. หลงลืมมากขึ้น 9. ไมมีสมาธิ 10. กลัว ตกใจอยางไมมีเหตุผล 11. หงุดหงิด 12. ไมสนใจในสิ่งตางๆ รวมคะแนนอาการทางจิต ปญหาทางเพศ (Sexual) 13. ขาดความสนใจทางเพศ 14. ขาดความตื่นเตนทางเพศ 15. องคชาตไมแข็งตัวขณะตื่นนอนเชา 16. ลมเหลวในกิจกรรมทางเพศ 17. องคชาตออนตัวขณะมีเพศสัมพันธ รวมคะแนนปญหาทางเพศ การแปลผล: เปนภาวะฮอรโมนเพศชายบกพรอง (PADAM) ถา • คะแนนรวมอาการทางรางกาย + อาการทางระบบไหลเวียนโลหิต ≥ 5 • คะแนนรวมอาการทางจิต ≥ 4 • คะแนนรวมปญหาทางเพศ ≥ 8
  • 11. Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 11 จาก 17 สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc ตาราง 2 แบบสอบถาม ADAM ของมหาวิทยาลัย Saint Louis กรุณาตอบคําถามตอไปนี้ 1. คุณมีความตองการทางเพศลดลงหรือไม 2. คุณมีความกระตือรือรน, ความแข็งขัน, กระปรี้กระเปรา ลดลงหรือไม 3. คุณมีพละกําลัง/ความอดทนลดลงหรือไม 4. ความสูงของคุณลดลงหรือไม 5. คุณรูสึกวาความสุข(สนุกสนาน) ในชีวิตลดลงหรือไม 6. คุณรูสึกเศรา หรือหดหูหรือไม 7. การแข็งตัวของอวัยวะเพศของคุณลดลงหรือไม 8. คุณรูสึกวาความสามารถทางการกีฬาของคุณลดลงหรือไม 9. คุณเคยเผลอหลับหลังอาหารเย็นหรือไม 10. ความสามารถทางการทํางานของคุณลดลงหรือไม วินิจฉัยวาเปนภาวะพรองฮอรโมนเทสทอสเตอโรนเมื่อ ตอบแบบสอบถามวาใชในขอ 1 หรือ 7ขอ ใดขอหนึ่ง หรือ ขออื่นรวม 3 ขอ
  • 12. Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 12 จาก 17 สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc ตาราง 3 Aging male symptoms (AMS) scale ฉบับภาษาไทย อาการดังตอไปนี้ขอใดที่เขากันไดกับทานในขณะนี้ โปรดทําเครื่องหมายลงในชองที่เหมาะสมสําหรับแตละอาการ ถาอาการขอไหนไมเขา กันเลยใหทําเครื่องหมายในชอง “ไมมีอาการ” ระดับความรุนแรงของอาการ (คะแนน) อาการ ไมมี อาการ (1) นอย (2) ปานกลาง (3) รุนแรง (4) รุนแรง มาก (5) 1. ความรูสึกเกี่ยวกับความเปนอยูที่ดีทั่วๆไปของทานลดลง (ภาวะสุขภาพทั่วๆ ไป, ความรูสึกของตัวทานเอง) 2. ปวดตามขอและปวดกลามเนื้อ (ปวดหลังสวนลาง, ปวดขอ, ปวดตามแขนขา, ปวดเมื่อยหลังทั่วไป) 3. เหงื่อออกมากกวาปกติ (มีเหงื่อออกมากแบบทันทีทันใด/ไมคาดคิดมากอน, รูสึกรอนวูบวาบโดยไมมีความเครียด) 4. มีปญหาการนอนหลับ (นอนหลับยาก, นอนหลับๆ ตื่นๆ, ตื่นเชากวาปกติ และรูสึกเหนื่อย นอนหลับไมสนิท) 5. ตองการที่จะนอนมากขึ้น รูสึกเหนื่อยเพลียบอยๆ 6. หงุดหงิดงาย (รูสึกกาวราว, โมโหงายแมแตเรื่องเล็กๆ นอยๆ, อารมณเปลี่ยนงาย) 7. ประสาทเครียด (มีความตึงเครียดอยูในใจ, กระสับกระสาย, รูสึกกระวนกระวาย) 8. รูสึกวิตกกังวล (รูสึกตกใจกลัวงาย) 9. รูสึกหมดแรง/ไมมีชีวิตชีวา (ประสิทธิภาพการทํางานโดยทั่วไปลดลง, ทํา กิจกรรมตางๆ ลดลง, หมดความสนใจในกิจกรรมพักผอนหยอนใจ, รูสึกวา ทําอะไรไดเสร็จนอยลงและสําเร็จนอยลง, รูสึกวาตองบังคับตนเองใหทํา กิจกรรมตางๆ) 10. ความแข็งแรงของกลามเนื้อลดลง (รูสึกออนแรง) 11. มีอารมณซึมเศรา (รูสึกตกต่ํา, ซึมเศรา, อยากรองไห, ไมมีแรงดลใจ อารมณ แปรปรวน, รูสึกวาอะไรก็ไมมีประโยชน) 12. รูสึกวาตนเองไดผานชวงที่ดีที่สุดของชีวิตไปแลว 13. รูสึกหมดไฟ, เหมือนชีวิตอยูจุดต่ําสุด 14. หนวดเคราขึ้นชาลง 15. ความสามารถและความถี่ในการมีเพศสัมพันธลดลง 16. จํานวนครั้งของการแข็งตัวขององคชาตตอนเชาลดลง 17. ความตองการทางเพศลดลง (ความพึงพอใจในการมีเพศสัมพันธลดลง, ขาด ความปรารถนาที่จะมีเพศสัมพันธ) ทานมีอาการที่สําคัญอื่นๆ อีกหรือไม มี ไมมี ถามีกรุณาอธิบาย.................................................................................................................................................................................................. ขอขอบพระคุณเปนอยางสูงสําหรับความรวมมือของทาน คะแนนที่ได ความรุนแรงของภาวะพรองฮอรโมนเพศชาย นอยกวา หรือ เทากับ 26 ไมมี 27 - 36 เล็กนอย 37 - 49 ปานกลาง มากกวา หรือ เทากับ 50 มาก
  • 13. Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 13 จาก 17 สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc ตาราง 4 แบบการประเมินการถายปสสาวะเพื่อวินิจฉัยความรุนแรงของตอมลูกหมากโต (International Prostate Symptom Score) จํานวนครั้งของอาการตอการปสสาวะ 10 ครั้ง ลักษณะการ ปสสาวะ ไมมีอาการ เลย นอยกวา 2 ครั้ง(นานๆ ครั้ง) นอยกวา 5 ครั้ง(ปาน กลาง) 5 ครั้ง (บอยครั้ง) มากกวา 5 ครั้ง (บอยมาก) เกือบทุกครั้ง (บอยที่สุด) ปสสาวะไมสุดหรือ เหลือคางหลัง ปสสาวะ 0 1 2 3 4 5 ปสสาวะบอยหรือ หางกันไมเกิน 2 ชั่วโมง 0 1 2 3 4 5 เมื่อปวดปสสาวะ แลวกลั้นไมอยู 0 1 2 3 4 5 ลําปสสาวะไมพุง 0 1 2 3 4 5 ตองเบงหรือรอ นานกวาจะ ปสสาวะออกมาได 0 1 2 3 4 5 จํานวนครั้งการ ปสสาวะระหวาง นอนหลับ 0 ครั้ง 1 ครั้ง 2 ครั้ง 3 ครั้ง 4 ครั้ง 5 ครั้ง คะแนนรวม คะแนนรวมทั้ง 7 ขอ คะแนน การแปลผล คะแนน ความรุนแรงของตอมลูกหมากโต (BPH) 1 - 7 เล็กนอย (mild) 8 - 19 ปานกลาง (moderate) 20 -35 รุนแรง (severe) ตาราง 5 ตัวอยางชนิดของเทสทอสเตอโรนทดแทน Administration Available formulation Dose
  • 14. Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 14 จาก 17 สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc Injectable testosterone in solution 10-50 mg i.m. every 2 days testosterone cypionate (in oil suspension) 50-250 mg i.m. every 2 weeks testosterone propionate (in oil suspension) 10-25 mg i.m. twice a week testosterone enanthate (in oil suspension) 50-250 mg i.m. every 2 weeks testosterone undecanoate (in oil suspension) 1000 mg every 10-14 weeks Oral testosterone undecanoate capsules (in oleic acid) 80-200 mg/day testosterone undecanoate capsules (in a mixture of castor oil & propylene glycol laurate) initially: 120-160 mg/day for 2-3 weeks, then 40-120 mg/day fluoxymesterone* 2.5-20 mg/day methyltestosterone* 10-20 mg/day mesterolone 75-150 mg/day buccal testosterone buccal system 30 mg/twice a day transdermal testosterone patch 5 mg/day testosterone gel 5 g of 1% testosterone gel subcutanous pellets of crystalline testosterone 600 mg every 4-6 months * หามใชเพราะมีพิษตอตับ
  • 15. Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 15 จาก 17 สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc Reference List 1. Walker RF. Is aging a disease? A review of the Serono Symposia Workshop held under the auspices of the 3rd World Congress on the Aging Male. February 9, 2002, Berlin, Germany. Aging Male 2002;5:147-69. 2. United Nations. World Population Prospects, The 1998 Revision. 1999. New York, United Nations. 3. ธนบูรณ จุลยามิตรพร, สายัณห สวัสดิ์ศรี, บัณฑิต จันทะยานี. เทสทอสเตอโรนกับชายวัยทอง. In: บัณฑิต จันทะยานี, สายัณห สวัสดิ์ศรี, ธนบูรณ จุลยามิตรพร, บัณฑิต กาญจนพยัฆ, อยุทธินี สิงหโก วินท, เจษฎา อุดมมงคล, editors. Aging male: men's health through the ages. กรุงเทพฯ: บียอนด เอ็นเทอร ไพรช; 2544. หนา66-74. 4. Kaufman J. Hypothalamic-pituitary-gonadal function in aging men. Aging Male 1999;2:157. 5. Morales A, Lunenfeld B. Investigation, treatment and monitoring of late-onset hypogonadism in males. Official recommendations of ISSAM. International Society for the Study of the Aging Male. Aging Male. 2002;5:74-86. 6. หะทัย เทพพิสัย. Overview ADAM vs PADAM in Thailand. In: บัณฑิต จันทะยานี, สายัณห สวัสดิ์ศรี, ธน บูรณ จุลยามิตรพร, บัณฑิต กาญจนพยัฆ, อยุทธินี สิงหโกวินท, เจษฎา อุดมมงคล, editors. Aging male: men's health through the ages. กรุงเทพฯ: บียอนด เอ็นเทอรไพรช; 2544. หนา66-74. 7. Lunenfeld B. Hormone replacement therapy in the aging male. Aging Male 1999;2:1-5. 8. ภักดี โพธิศิริ. Policies issues for the aging male in Thailand. In: สายัณห สวัสดิ์ศรี, บัณฑิต จันทะยานี, บัณฑิต กาญจนพยั, ธนบูรณ จุลยามิตรพร, ชาติวุฒิ ค้ําชู, อยุธินี สิงหโกวินท et al, editors. Aging male II: problems practice promotion prevention postpone productivity. กรุงเทพฯ: บียอนด เอ็นเทอรไพรช; 2545. หนา3-12. 9. Vermeulen A, Kaufman JM. Aging of the hypothalamopituitary-testicular axis in men. Horm Res 1995;43:25-28. 10. Nieschlag E, Swerdloff R, Behre HM, Gooren LJ, Kaufman JM, Legros JJ et al. Investigation, treatment and monitoring of late-onset hypogonadism in males. Aging male. 2005; 8:56-8. 11. Vermeulen A, Rubens R, Verdonck L. Testosterone secretion and metabolism in male senescence. J Clinic Endocrinol Metab 1972;34:730-35. 12. Stearns EL, MacDonnell JA, Kaufman BJ, Padua R, Lucman TS, Winter JS et al. Declining testicular function with age. Hormonal and clinical correlates. Am J Med 1974;57:761-66.
  • 16. Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 16 จาก 17 สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc 13. Harman SM, Metter EJ, Tobin JD, Pearson J, Blackman MR. Longitudinal effects of aging on serum total and free testosterone levels in healthy men. Baltimore Longitudinal Study of Aging. J Clin Endocrinol Metab 2001;86:724- 31. 14. Morley JE, Charlton E, Patrick P, Kaiser FE, Cadeau P, McCready D et al. Validation of a screening questionnaire for androgen deficiency in aging males. Metabolism 2000;49:1239-42. 15. Lunenfeld B. Aging men--challenges ahead. Asian J.Androl 2001;3:161-68. 16. Lunenfeld B, Saad F, Hoesl CE. ISA, ISSAM and EAU recommendations for the investigation, treatment and monitoring of late-onset hypogonadism in males: scientific background and rationale. Aging male 2005;8:59-74. 17. Heinemann, L. J., Zimmermann, T., Vermeulen, A., Thiel, C., and Hummel, W. A new aging males symptoms rating scale. The Aging Male 2, 105-114. 1999. 18. Daig I, Heinemann LA, Kim S, Leungwattanakij S, Badia X, Myon E et al. The Aging Males' Symptoms (AMS) scale: review of its methodological characteristics. Health Qual.Life Outcomes. 2003;1:77. 19. Kratzik CW, Reiter WJ, Riedl AM, Lunglmayr G, Brandstätter N, Rücklinger E, Metka M, Huber J. Hormone profiles, body mass index and Aging Male Symptoms results of the Androx Vienna Municipality study. Aging Male 2004;7:188-96. 20. T’Sjoen G, Feyen E, Kuyper P, Comhaire F, Kaufman JM. Self-referred patients in an aging male clinic: much more than androgen deficiency alone. Aging Male 2003;6:157-65. 21. Vermeulen A, Verdonck L, Kaufman JM. A critical evaluation of simple methods for the estimation of free testosterone in serum. J Clin Endocrinol Metab 1999;84:3666-72. 22. Oettel M. Is there a role for estrogens in the maintenance of men's health? Aging Male 2002;5:248-57. 23. Gooren L, Lunenfeld B. Screening of the aging male. In: Lunenfeld B, Gooren L, editors. Textbook of Men's Health. New York: The Parthenon Publishing Group; 2002. p. 15-43. 24. Abrams P, Blaivas J, Griffiths D. The Objective evaluation of bladder outlet obstruction (urodynamics). In: Cockett A, Houry S, Aso Y, et al, editors. The second International Consultation on Benign Prostate Hyperplasia (BPH). Channel Islands: Scientific Communications International; 1993. p. 115. 25. Kim YC. Hormonal replacement therapy and aging: Asian practical recommendations on testosterone supplementation. Asian J.Androl 2003;5:339-44. 26. Handelsman DJ, Zajac JD. Androgen deficiency and replacement therapy in men. Med.J.Aust. 2004;180:529-35.
  • 17. Aging and Androgen Augmentation Therapy หนา 17 จาก 17 สรางโดย Thanaboon Chulyamitporn D:andropauseLOHcarePMK21-07-2006.doc 27. Wang C, Swerdloff R, Kipnes M, Matsumoto AM, Dobs AS, Cunningham G et al. New testosterone buccal system (Striant) delivers physiological testosterone levels: pharmacokinetics study in hypogonadal men. J.Clin.Endocrinol.Metab 2004;89:3821-29. 28. Leder BZ, Rohrer JL, Rubin SD, Gallo J, Longcope C. Effects of aromatase inhibition in elderly men with low or borderline-low serum testosterone levels. J.Clin.Endocrinol.Metab 2004;89:1174-80. 29. Bhasin S, Bagatell CJ, Bremner WJ, Plymate SR, Tenover JL, Korenman SG et al. Issues in testosterone replacement in older men. J Clin Endocrinol Metab 1998;83:3435-48. 30. Oettel M. Testosterone metabolism, dose-response relationships and receptor polymorphisms: selected pharmacological/toxicological considerations on benefits versus risks of testosterone therapy in men. Aging Male 2003;6:230-56. 31. Laseter JT, Russel JA. Anaboloic steroid-induced tendon pathology: a review literature. Med Sci Sports Exerc 1991;23:1-3. 32. Snyder PJ. Delvelopment of criteria to monitor the occurrence of prostate cancer in testosterone clinical trial. In: Bhasin S, Gabelnick HL, Swoerdloff RS, Wang C, editors. Pharmacology, Biology, and Clinical Applications of Androgens. New York: Wiley-Liss; 1996. p. 143-50.