SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 60
Descargar para leer sin conexión
ฉบับเรียบเรียงครั้งที่ 2 พ.ศ. 2551
ISBN 978-974-422-483-5
แนวทางเวชปฏิบัติ
โรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
(Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke)
แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก
สำหรับแพทย
(Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke)
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทย
วิทยาลัยประสาทศัลยแพทยแหงประเทศไทย
สมาคมประสาทวิทยาแหงประเทศไทย
สมาคมโรคหลอดเลือดสมองไทย
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
กรมแพทยทหารบก
สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย
2 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
แนวทางเวชปฏิบัตินี้ เปนเครื่องมือสำหรับแพทยทุกสาขาในทุกโรงพยาบาล เพื่อสงเสริมคุณภาพของ
การบริการดานสุขภาพที่เหมาะสมกับทรัพยากรและเงื่อนไขสังคมไทย โดยหวังผลในการสรางเสริมและแกไข
ปญหาสุขภาพของคนไทยอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา ขอแนะนำตาง ๆ ในแนวทางเวชปฏิบัตินี้ไมใช
ขอบังคับของการปฏิบัติ ผูใชสามารถปฏิบัติแตกตางไปจากขอแนะนำได ในกรณีที่สถานการณแตกตาง
ออกไปหรือมีเหตุผลที่สมควร โดยใชวิจารณญาณที่เปนที่ยอมรับในสังคม
แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
คำนิยม
แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
ภาวะ Stroke หรือ “โรคหลอดเลือดสมอง” ในคนไทยจะชินกับคำวา“อัมพาตอัมพฤกษ” หรือ
“อัมพฤกษ อัมพาต” มากกวา ซึ่งเปนโรคที่พบบอยขึ้นอยางตอเนื่อง ดวยสาเหตุหลายอยาง เชน อายุขัย
คนไทยยืนยาวขึ้น มีการดำรงชีวิตที่เพิ่มปจจัยเสี่ยงมากขึ้น ทำใหโรคนี้เปนสาเหตุการเสียชีวิตใน
อันดับตนๆ สาเหตุที่พบแบงออกเปนสองสาเหตุ คือ เนื่องจากหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน ซึ่งไดมี
แนวทางฯ ไวตางหาก และเนื่องจากหลอดเลือดสมองแตก ทำใหมีเลือดออกภายในกะโหลกศีรษะ
ซึ่งเปนสาระสำคัญในแนวทางฯ ฉบับนี้
เนื่องจาก สมองมีกายวิภาค และหนาที่การทำงานที่สลับซับซอน แบงหนาที่กันไปตามสวนยอย
ตางๆ อยางละเอียด การมีเลือดออกในสมองสวนตางๆ ลวนทำใหมีปญหากับผูปวยไปคนละแบบ
การรักษาก็แตกตางกันไปเปนอยางมาก ความพยายามที่จะทำให “แนวทางการรักษาโรคหลอดเลือด
สมองแตก สำหรับแพทย” มีประโยชน และใชงานไดกวางขวางที่สุด จึงจำเปนที่จะตองมีรายละเอียด
จำนวนมาก แตกตางจากแนวทางฯ ฉบับอื่นๆ ที่มีอยู เชน แนวทางการรักษาการบาดเจ็บที่ศีรษะ ทั้งนี้
คณะผูจัดทำพยายามที่จะใหมีความกระจางแกผูใชงานใหมากที่สุด เพื่อประโยชนของผูปวยและแพทย
เอง จึงมีรูปเลมคอนขางหนาอยางที่เห็นอยูในมือของทานขณะนี้ อยางไรก็ดี นับเปนความพยายามของ
คณะผูจัดทำเปนอยางมากที่ไดตั้งใจ ดำเนินการจนแลวเสร็จ สามารถนำไปใชประโยชน ไดยิ่งขึ้นกวา
ฉบับที่แลว
ขอแสดงความชื่นชมคณะผูจัดทำฯ และคณะทำงานฯ อีกครั้งหนึ่ง ที่ไดผลิตผลงานคุณภาพ
อันจะเกิดประโยชนแกผูใช คือ แพทยทั่วๆ ไป ทุกระดับ และหวังวา ผูที่ไดอานแนวทางฉบับนี้ จะไดรับ
ประโยชนสมดังความตั้งใจของคณะทำงานทุกประการ
(นายมัยธัช สามเสน)
ผูอำนวยการสถาบันประสาทวิทยา
กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข
แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
รายนามคณะผูจัดทำ
1. นพ.สมาน ตั้งอรุณศิลป ประธาน
สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย
2. น.อ.นพ.ศุภโชค จิตรวาณิช ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทย
3. ศ.นพ.นิพนธ พวงวรินทร ราชวิทยาลัยอายุรแพทยแหงประเทศไทย
4. ศ.พญ.ดิษยา รัตนากร สมาคมประสาทวิทยาแหงประเทศไทย
5. พล.ร.ต.นพ.สินธุชัย ตันสถิตย ร.น. สมาคมประสาทศัลยศาสตรแหงประเทศไทย
6. พล.ต.พญ.จิตถนอม สุวรรณเตมีย สมาคมโรคหลอดเลือดสมองไทย
7. นพ.เอก หังสสูต คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี
8. นพ.กฤษณพันธ บุณยะรัตเวช คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
9. ผศ.นพ.รุงศักดิ์ ศิวานุวัฒน คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
10. รศ.พญ.นิจศรี ชาญณรงค คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
11. ผศ.นพ.สุรชัย เคารพธรรม คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
12. อ.นพ.ธัญญา นรเศรษฐธาดา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
13. อ.นพ.วนรักษ วัชระศักดิ์ศิลป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม
14. พ.อ.นพ.สามารถ นิธินันทน วิทยาลัยแพทยศาสตรพระมงกุฎเกลา
15. นพ.นันทศักดิ์ ทิศาวิภาต คณะแพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล
16. ศ.นพ.นครชัย เผื่อนปฐม คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
17. พ.อ.นพ.สิรรุจน สกุลณะมรรคา โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา กรมแพทยทหารบก
18. น.อ.นพ.ยอดรัก ประเสริฐ โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช กรมแพทยทหารอากาศ
19. นพ.ธีรศักดิ์ พื้นงาม โรงพยาบาลพญาไท 1
20. นพ.วีระวัฒน สุขสงาเจริญ โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม กรมการแพทย
21. นพ.สมเกียรติ โพธิสัตย สำนักพัฒนาวิชาการแพทย กรมการแพทย
22. นพ.พิชิต อนุวุฒินาวิน สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย
23. นพ.พิเชษฐ เมธารักษชีพ สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย
24. นพ.กุลพัฒน วีรสาร สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย
25. นพ.ธีรชัย ผาณิตพงษ สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย
26. น.ส.อิสรี ตรีกมล เลขานุการ
สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย
ขอขอบคุณ
ศ.เกียรติคุณ นพ.อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ ที่ใหคำแนะนำและเปนที่ปรึกษาในการจัดทำ
คณะบรรณาธิการ : นพ.สมาน ตั้งอรุณศิลป
แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
คณะทำงานโครงการจัดทำแนวทางเวชปฏิบัติ
โรคหลอดเลือดสมองแตก
สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย
1. นพ.วิวัฒน วิริยกิจจา ที่ปรึกษา
2. นพ.มัยธัช สามเสน ที่ปรึกษา
3. นพ.พิชิต อนุวุฒินาวิน ที่ปรึกษา
4. นพ.สมาน ตั้งอรุณศิลป ประธาน
5. ศ.นพ.นครชัย เผื่อนปฐม คณะทำงาน
6. รศ.พญ.นิจศรี ชาญณรงค คณะทำงาน
7. ผศ.นพ.สุรชัย เคารพธรรม คณะทำงาน
8. ผศ.นพ.รุงศักดิ์ ศิวานุวัฒน คณะทำงาน
9. พ.อ.นพ.สิรรุจน สกุลณะมรรคา คณะทำงาน
10. น.อ.นพ.ยอดรัก ประเสริฐ คณะทำงาน
11. นพ.วีระวัฒน สุขสงาเจริญ คณะทำงาน
12. นพ.เอก หังสสูต คณะทำงาน
13. อ.นพ.ธัญญา นรเศรษฐธาดา คณะทำงาน
14. อ.นพ.วนรักษ วัชระศักดิ์ศิลป คณะทำงาน
15. นพ.นันทศักดิ์ ทิศาวิภาต คณะทำงาน
16. นพ.สวิง ปนจัยสีห คณะทำงาน
17. นพ.อนุศักดิ์ เลียงอุดม คณะทำงาน
18. นพ.ประเสริฐ เอี่ยมปรีชากุล คณะทำงาน
19. นพ.ธีระ ตั้งวิริยะไพบูลย คณะทำงาน
20. นพ.วุฒิพงษ ฐิรโฆไท คณะทำงาน
21. นพ.พร นริศชาติ คณะทำงาน
22. นพ.กุลพัฒน วีรสาร เลขานุการ
23. น.ส.อิสรี ตรีกมล ผูชวยเลขานุการ
แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
คำนำ
โรคหลอดเลือดสมองแตกเปนโรคที่พบบอยโรคหนึ่งของระบบประสาท และเปนสาเหตุการตาย
ที่สำคัญในอันดับตนๆ ของประเทศไทย ซึ่งพบไดบอยกวาประเทศทางตะวันตก สถาบันประสาทวิทยา
ในฐานะที่เปนสถาบันเฉพาะทางของโรคระบบประสาทไดตระหนักถึงปญหานี้ ในป 2547 จึงไดระดม
คณะแพทยผูเชี่ยวชาญจากราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทย ราชวิทยาลัยอายุรแพทย
แหงประเทศไทย สมาคมประสาทวิทยาแหงประเทศไทย สมาคมประสาทศัลยศาสตรแหงประเทศไทย
สมาคมโรคหลอดเลือดสมองไทย สำนักพัฒนาวิชาการแพทย กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข
และคณะแพทยศาสตรของมหาวิทยาลัยตางๆ ทั่วประเทศ เพื่อจัดทำแนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือด
สมองแตก สำหรับการดูแลรักษาผูปวยใหมีประสิทธิภาพเหมาะสมกับแตละพื้นที่ ทำใหประชาชนมี
หลักประกันในการรับบริการที่มีคุณภาพดีขึ้น และในป 2550 ไดมีการสำรวจความคิดเห็นของผูใช
แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย พบวา ยังมีขอมูลบางประการที่เปนปญหา
และอุปสรรคในการปฏิบัติ ประกอบกับมีขอมูลหลักฐานทางวิทยาศาสตรใหมๆ เพิ่มขึ้น ในป 2551
สถาบันประสาทวิทยาจึงไดเรียนเชิญแพทยผูเชี่ยวชาญจากสถาบันตางๆ มารวมกันพิจารณาปรับปรุง
แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย ใหทันเหตุการณและสภาวะที่เปลี่ยนไป
คณะผูจัดทำ
แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
สารบัญ
หนา
บทนำ 1
บทที่ 1 แนวทางการบำบัดรักษาโรคหลอดเลือดสมองแตก 3
(Guidelines for the Management of Hemorrhagic Stroke)
บทที่ 2 การบำบัดรักษาทางศัลยกรรมของโรคหลอดเลือดสมองแตก 8
(Surgical Management of Hemorrhagic Stroke)
บทที่ 3 การบำบัดรักษาทางอายุรกรรมในระยะแรกของโรคหลอดเลือดสมองแตก 21
(Medical Management in Acute Phase of Hemorrhagic Stroke)
เอกสารอางอิง 22
ภาคผนวก
1. การคำนวณปริมาตรของกอนเลือด (Calculation of Volume of Hematoma) 29
2 การประเมินผูปวย การเฝาระวัง และติดตาม 30
3. CT scan of Normal Brain 32
4. การวินิจฉัย Hydrocephalus จาก CT Brain (Diagnosis of Hydrocephalus by CT brain) 33
5. CT brain of Hemorrhagic Stroke 34
6. ปจจัยที่มีผลตอการรักษา (Factors affect outcome) 37
7. ความเสี่ยงที่ขนาดของกอนเลือดใหญขึ้นหลังจากทำ CT scan ครั้งแรก 38
(Risk of hematoma expansion after initial CT Scan)
8. ตัวอยางกรณีศึกษา (case study) 39
แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
สารบัญแผนภูมิ
หนา
แผนภูมิที่ 1. การบำบัดรักษาเบื้องตนและการวินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมอง 4
(Initial Management and Diagnosis of Stroke )
แผนภูมิที่ 2. การแยกโรคหลอดเลือดสมองแตกตามตำแหนง 6
(Classification of Hemorrhagic Stroke by Location)
แผนภูมิที่ 3. การบำบัดรักษา Lobar Hemorrhage 9
(Management of Lobar Hemorrhage)
แผนภูมิที่ 4. การบำบัดรักษาโรคหลอดเลือดสมองแตกในตำแหนง Basal Ganglia 12
(Management of Basal Ganglia Hemorrhage)
แผนภูมิที่ 5. การบำบัดรักษาโรคหลอดเลือดสมองแตกในตำแหนง Thalamus 14
(Management of Thalamic Hemorrhage)
แผนภูมิที่ 6. การบำบัดรักษาโรคหลอดเลือดสมองแตกในตำแหนงสมองนอย 16
(Management of Cerebellar Hemorrhage)
แผนภูมิที่ 7. การบำบัดรักษาโรคหลอดเลือดสมองแตกที่ตำแหนง Brainstem 17
(Management of Brainstem Hemorrhage)
แผนภูมิที่ 8. การบำบัดรักษาโรคหลอดเลือดสมองแตกใน Subarachnoid Space 19
(Management of Subarachnoid Hemorrhage)
แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
สารบัญตาราง
หนา
ตารางที่ 1. ระดับคำแนะนำอิงคุณภาพของหลักฐาน 25
(Strength of Recommendation)
ตารางที่ 2. สรุปการตรวจวินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมองแตก 25
(Diagnosis of Hemorrhagic Stroke)
ตารางที่ 3. การบำบัดรักษาทางอายุรกรรมของโรคหลอดเลือดสมองแตก 26
(Medical Management in Acute Phase of Hemorrhagic Stroke)
ตารางที่ 4. การรักษาภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง 27
(Treatment of Increased Intracranial Pressure)
ตารางที่ 5. แนวทางการปรึกษาประสาทศัลยแพทยในเรื่องโรคหลอดเลือดสมองแตก 28
(Guidelines for Neurosurgical Consultation in Hemorrhagic Stroke)
1แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
บทนำ
โรคหลอดเลือดสมอง (stroke, cerebrovascular disease) เปนโรคที่พบบอยในประชากร
สูงอายุทั่วโลก ในประเทศทางตะวันตก พบเปนสาเหตุการตายอันดับสาม1
ในประเทศจีน ญี่ปุน พบเปน
สาเหตุการตายอันดับหนึ่ง2,3
สำหรับประเทศไทย จากสถิติสาธารณสุข พ.ศ.2549 (Public Health
Statistics A.D.2006)4
พบวา โรคหลอดเลือดสมองเปนสาเหตุการเสียชีวิตอันดับที่ 5 ในประชากรไทย
(20.6 รายตอประชากรหนึ่งแสน) และมีแนวโนมวาจะเพิ่มสูงขึ้น สอดคลองกับรายงานการศึกษาที่
เปนการศึกษารวมกันระหวางกระทรวงสาธารณสุขและองคการอนามัยโลก พบวา โรคหลอดเลือดสมอง
เปนสาเหตุการเสียชีวิตที่สำคัญอันดับ 1 ในเพศหญิงและอันดับ 2 ในเพศชาย นอกจากนี้ยังพบวาโรค
หลอดเลือดสมองยังเปนสาเหตุของการสูญเสียปสุขภาวะ (Disability Adjusted Life Year) ที่สำคัญ
อันดับที่ 2 ทั้งในชายและหญิง5
องคการอนามัยโลกไดใหคำจำกัดความของโรคหลอดเลือดสมองไวดังนี้
Stroke means “ rapidly developed clinical signs of focal (global)
disturbance of cerebral function lasting more than 24 hours or leading to death,
with no apparent cause other than a vascular origin.” 6
เนื่องจากความแตกตางในดานบุคลากรและความพรอมของเครื่องมือทางการแพทยที่มี
หลายประเภท รวมทั้งการกระจายที่ไมเหมาะสม7
จึงมีเวชปฏิบัติไมเหมือนกันทั้งดานการวินิจฉัยและ
รักษาโรคนี้ ดังนั้นการจัดทำแนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย จึงเปนวิธีการ
ที่เหมาะสม เพื่อสามารถนำไปปฏิบัติไดถูกตองและเปนมาตรฐานทั่วประเทศ
คณะผูจัดทำไดปรับปรุงเนื้อหาหลายสวนในฉบับนี้ เชน
- เพิ่มประวัติตรวจรางกายทางคลินิกชวยแยกโรคหลอดเลือดสมอง กับ โรคที่ไมใชหลอดเลือดสมอง
แตไมสามารถแยกโรคหลอดเลือดสมองแตกกับตีบตันไดแนนอน จึงแนะนำสง CT brain
(computerized tomography brain) เพื่อการวินิจฉัยที่ถูกตองแมนยำ ซึ่งปจจุบันนี้
โรงพยาบาลเกือบทุกจังหวัดมี CT scan แลว และไดยกเลิก Siriraj Stroke Score
- Cerebellar hemorrhage ไดปรับขั้นตอนใหกระชับ โดยใหปรึกษาประสาทศัลยแพทย
เพื่อใหการบำบัดรักษาไดเร็วขึ้น
- Subarachnoid hemorrhage ไดปรับปรุงขั้นตอนใหดูงายขึ้น
- การรักษาภาวะความดันโลหิตสูง ไดระบุตัวเลขความดันโลหิตใหต่ำลง ตามขอมูล
เชิงประจักษที่สนับสนุน
- ระบุปจจัยที่มีผลตอการรักษาเพื่อเปนแนวทางในการแนะนำผูปวยและญาติ
- เพิ่มตัวอยางการบำบัดรักษาผูปวยโรคหลอดเลือดสมอง เพื่อเพิ่มความเขาใจในการใช
แนวทางเวชปฏิบัติไดดีขึ้น
การจัดทำแนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทยนี้ อาศัยหลักฐานทาง
วิชาการที่ไดตีพิมพแลว โดยแบงระดับคำแนะนำอิงคุณภาพของหลักฐาน (strength of
recommendation) เปน 3 ระดับ คือ A, B, C (ตารางที่ 1 หนา 25)
2 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทยนี้ แบงออกเปน 3 ขั้นตอนดังนี้
1. แนวทางการวินิจฉัยวาเปนโรคหลอดเลือดสมอง (ดูแผนภูมิที่ 1)
2. แนวทางการวินิจฉัยชนิดและสาเหตุของโรคหลอดเลือดสมองแตก (ดูแผนภูมิที่ 2-8)
3. แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตกที่เหมาะสม (ดูแผนภูมิที่ 2-8)
เนื้อหาของแนวทางเวชปฏิบัติฉบับนี้ประกอบดวย แผนภูมิ คำอธิบาย เอกสารอางอิง ตาราง
ภาคผนวก และตัวอยางกรณีศึกษา
3แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
บทที่ 1
แนวทางการบำบัดรักษาโรคหลอดเลือดสมองแตก
(Guidelines for the Management of Hemorrhagic Stroke)
โรคหลอดเลือดสมองแตก (hemorrhagic stroke) เปนโรคที่พบบอยในแถบภูมิภาคเอเซีย
มากกวาภูมิภาคทางตะวันตก โดยมีอุบัติการณสูงถึงรอยละ 25-35 ของโรคหลอดเลือดสมอง8
ภาวะนี้
เปนสาเหตุการตายและความพิการอันดับตนๆ โดยเฉพาะในผูสูงอายุ แมวามีการศึกษาแบบ
randomized double-blinded controlled trials สำหรับ ischemic stroke เปนจำนวนมากกวา
300 รายงาน9
แตใน hemorrhagic stroke มีเพียง 8 รายงานเทานั้น10,11,12,13,14,15,16,17
ดวยขอจำกัดใน
หลักฐานทางวิทยาศาสตร ทำใหการกำหนดระดับคำแนะนำอิงคุณภาพเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองแตก
อยูในระดับ A ถึง C แตกตางกันไปตามแตละหัวขอ จึงตองมีการวิจัยและพัฒนาเพื่อใหไดคำตอบ
ที่ดีขึ้นตอไป
4 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
แผนภูมิที่ 1
การบำบัดรักษาเบื้องตนและการวินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมอง
( Initial Management and Diagnosis of Stroke)
ดูแนวทางการรักษาโรค
หลอดเลือดสมองตีบหรือ
อุดตัน สำหรับแพทย
ปรึกษาประสาท
ศัลยแพทย
ดูแนวทางการรักษาโรค
หลอดเลือดสมองตีบ
หรืออุดตัน สำหรับแพทย
ดูแผนภูมิที่ 2
(หนา 6)
หมายเหตุ *ตรวจรางกายผูปวยเพื่อดูวามีอาการรุนแรง (GCS < 8, signs of brain herniation,
hypoxia, เสี่ยงตอการสำลัก) หรือไม เพื่อพิจารณาให advanced life support กอนการสืบคนโรค
Sudden onset of neurological deficit with suspicious of stroke
Clinical assessment & grading*
Advanced life support & emergency lab.
CT Brain
No มีรังสีแพทยอานคอมพิวเตอร Yes
Normal / Hypodensity Hyperdensity/Mass Ischemic stroke / Others Hemorrhagic Stroke
5แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
คำอธิบายแผนภูมิที่ 1
ผูปวยทุกคนที่มาโรงพยาบาลดวยอาการ sudden neurological deficit ตองตรวจ vital
signs, neurological signs เพื่อประเมินวาตองให emergency advanced life support หรือไม ดู
airway, ventilation เพียงพอหรือไม โดยเฉพาะผูปวยที่มีระดับความรูสึกตัวต่ำ Glasgow Coma
Scale (GCS) score < 8 หรือ เสี่ยงตอการเกิด aspiration ควรไดรับการใสทอชวยหายใจ พรอมกับ
สง emergency laboratory tests (CBC, BS, BUN, Cr, electrolytes) ซักประวัติและตรวจ
รางกายที่เกี่ยวของ เชน การบาดเจ็บที่ศีรษะ ดื่มสุรา ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคเบาหวาน
โรคเลือด โรคตับ โรคไต การใชยา anticoagulants ยาเสพติด เพื่อแยกภาวะอื่นที่ไมใช
โรคหลอดเลือดสมอง (extracranial cause) ออก จากการศึกษาพบวา ถาผูปวยมีอาการ “ Sudden
onset of persistent focal neurological deficit and no history of head trauma ”
จะมี probability of stroke 80% 18
เมื่อสงสัยวาเปน acute stroke ควรไดรับการตรวจ CT brain ทุกราย9
เพื่อแยกโรควาเปน
ischemic หรือ hemorrhagic stroke
จากการศึกษาพบวาถาผูปวยมีระดับความรูสึกตัวลดลง อาเจียน ปวดศีรษะอยางรุนแรง ความ
ดันโลหิต (systolic blood pressure) มากกวา 220 ม.ม.ปรอท ระดับน้ำตาลในเลือดมากกวา 170
ม.ก./ดล. (ในผูปวยที่ไมมีประวัติเบาหวาน) หรือมีประวัติไดรับยา warfarin มีโอกาสเปน hemorrhagic
stroke มากกวา ischemic stroke19
ซึ่งอาจจะใชเปนแนวทางเบื้องตนในการวินิจฉัยแยกโรค ระหวาง
ischemic และ hemorrhagic stroke อยางไรก็ตามการตรวจดวย CT brain จะชวยแยกโรคได
แนนอนกวา
ในกรณีที่ CT brain เขาไดกับ ischemic stroke ใหการรักษาตามแนวทางการรักษาโรค
หลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน สำหรับแพทย20
ตอไป แตถาเปน hemorrhagic stroke ใหปฏิบัติตาม
แผนภูมิที่ 2
6 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
แผนภูมิที่ 2
การแยกโรคหลอดเลือดสมองแตกตามตำแหนง
( Classification of Hemorrhagic Stroke by Location )
หมายเหตุ ICH = Intracerebral hemorrhage
IVH = Intraventricular hemorrhage
Lobar = ICH in cortical or subcortical area
Non-lobar = ICH in basal ganglia, thalamus, brain stem, cerebellum
SAH = Subarachnoid hemorrhage
Primary IVH = IVH
Primary SAH = SAH only
ICH ดูแผนภูมิที่ 3-7 (หนา 9,12,14,16,17)
ICH & IVH ดูแผนภูมิที่ 3-7 (หนา 9,12,14,16,17)
Primary SAH ควรปรึกษาประสาทศัลยแพทย
Primary IVH ควรปรึกษาประสาทศัลยแพทย
SAH & ICH ควรปรึกษาประสาทศัลยแพทย
SAH & IVH ควรปรึกษาประสาทศัลยแพทย
* ใหพิจารณาวาอะไรเปน primary hemorrhage
Hemorrhagic stroke
SAH IVH ICH
Primary SAH SAH & ICH* LobarLobarNon-lobarSAH & IVH* Primary IVH ICH & IVH*
ปรึกษาประสาทศัลยแพทย ปรึกษาประสาทศัลยแพทย ดูแผนภูมิที่ 3-7
7แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
คำอธิบายแผนภูมิที่ 2
แพทยผูรักษาตองพยายามหาสาเหตุของโรคหลอดเลือดสมองแตกทุกราย โดยดูจากตำแหนง
ของเลือด ใน CT brain รวมกับ อายุ ประวัติความดันโลหิตสูงและโรคที่เปนรวม เมื่อพิจารณาจาก CT
brain สามารถแบง hemorrhagic stroke ตามตำแหนงของเลือดที่ออกไดเปน 3 กลุม คือ
subarachnoid hemorrhage (SAH), intraventricular hemorrhage (IVH), intracerebral
hemorrhage (ICH) แตบางครั้งอาจพบมากกวา 1 ตำแหนง ใหพิจารณาตำแหนงที่เลือดออก และให
บำบัดรักษาไปตามตำแหนงนั้น ๆ
8 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
บทที่ 2
การบำบัดรักษาทางศัลยกรรมของโรคหลอดเลือดสมองแตก
(Surgical Management of Hemorrhagic Stroke)
การบำบัดรักษาทางศัลยกรรมของโรคหลอดเลือดสมองแตกที่สำคัญ คือ การผาตัด เพื่อนำกอนเลือดออก
และ/หรือ ผาตัด arteriovenous malformation (AVM), aneurysm เพื่อลดความดันในกะโหลกศีรษะ สำหรับการ
ผาตัดกอนเลือดที่อยูลึก อาจทำใหเกิดภาวะสมองบวมเพิ่มมากขึ้น ผลการรักษาจึงไมดี ดังนั้น การพิจารณาผาตัด
จำเปนตองมีขอบงชี้ที่ชัดเจน
9แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
แผนภูมิที่ 3
การบำบัดรักษา Lobar Hemorrhage
(Management of Lobar Hemorrhage)
หมายเหตุ
การคำนวณปริมาตรกอนเลือด = 0.524 × X × Y × Z มิลลิลิตร
(X,Y,Z = ความยาวของเสนผาศูนยกลางของกอนเลือดในแนวแกน X,Y,Z หนวยเปน เซนติเมตร)21
* ใหวินิจฉัยแยกภาวะที่มีสาเหตุมาจากนอกสมอง (extracranial cause) ไวดวย ถาไมพบสาเหตุดูภาคผนวก 2
GCS = Glasgow Coma Scale
HCP = Hydrocephalus
IVH = Intraventricular hemorrhage
SAH = Subarachnoid hemorrhage
Hematoma มีโอกาสขยายใหญขึ้นกวาที่ตรวจพบจากการทำ CT brain ครั้งแรก ถาทำ CT brain ภายใน
24 ชั่วโมงหลัง onset22
(ดูภาคผนวก 7)
Lobar hemorrhage
Criteria for neurosurgical consultation
1. GCS < 13
2. Volume of hematoma > 30 ml.
3. Midline shift > 0.5 cm.
HCP
or
IVH with HCP
or
SAH
or
Temporal lobe Criteria > 2 Criteria < 2
Medical treatment
Worse* Improved
ปรึกษา
ประสาทศัลยแพทย ถาพบ 1. CT brain สงสัยมี abnormal vessels
2. ผูปวยอายุ < 45 ป
3. ไมมีประวัติความดันโลหิตสูง
Discharge
10 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
คำอธิบายแผนภูมิที่ 3
Lobar hemorrhage หมายถึง intracerebral hemorrhage (ICH) ที่อยูในตำแหนง
cortical หรือ subcortical ไดแก frontal, temporal, parietal, occipital lobes สาเหตุของเลือด
ที่ออกบริเวณนี้สวนใหญไมใชเกิดจากความดันโลหิตสูง แตมีสาเหตุอื่น เชน cerebral amyloid
angiopathy, aneurysm, AVM เปนตน หากพบขอบงชี้ > 2 ขอ ไดแก GCS < 1323,24
, volume > 30 ml.25
,
midline shift > 0.5 cm.26
ควรปรึกษาประสาทศัลยแพทย ถาพบขอบงชี้เพียง 1 ขอ ใหรักษาแบบ
ประคับประคอง โดยการใหสารน้ำ เกลือแร และยาตางๆ (medical treatment) หากผูปวยอาการเลวลง
ควรปรึกษาประสาทศัลยแพทย แตถาอาการดีขึ้น และผูปวยอายุ < 45 ปหรือไมมีประวัติความดัน
โลหิตสูงหรือ CT brain สงสัยวามี abnormal blood vessels ควรปรึกษาประสาทศัลยแพทยเพื่อ
การตรวจวินิจฉัยและการบำบัดรักษาที่เหมาะสม เชน สงตรวจ cerebral angiography27,28,29
เปนตน
สำหรับกอนเลือดที่ตำแหนง temporal lobe มีโอกาสที่จะเกิด early brain herniation25
ดังนั้นควรปรึกษาประสาทศัลยแพทย
11แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
การบำบัดรักษา Non-Lobar Hemorrhage
(Management of Non-Lobar Hemorrhage)
Non-lobar hemorrhage หมายถึง intracerebral hemorrhage ที่ basal ganglia (สวน
ใหญเปนที่ putamen), thalamus, cerebellum, brainstem (สวนใหญเปนที่ pons) ถามีประวัติ
ความดันโลหิตสูง หรือเคยเปน stroke มากอน และอายุมากกวา 45 ป มักจะเปน hypertensive
hemorrhage 27,28
แตผูปวยที่อายุนอยกวา 45 ป หรือผูปวยที่มีความผิดปกติอื่นๆ ใน CT brain ควร
ทำการตรวจวินิจฉัยโรคเพิ่มเติม
12 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
Basal ganglia hemorrhage*
Criteria for neurosurgical consultation
1. GCS < 13
2. Volume of hematoma > 30 ml.
3. Midline shift > 0.5 cm.
HCP
or
IVH with HCP
or
SAH
Criteria > 2 Criteria < 2
Medical treatment
Worse** Improved
ปรึกษา
ประสาทศัลยแพทย
Discharge
แผนภูมิที่ 4
การบำบัดรักษาโรคหลอดเลือดสมองแตกในตำแหนง Basal Ganglia
(Management of Basal Ganglia Hemorrhage)
หมายเหตุ
การคำนวณปริมาตรกอนเลือด = 0.524 × X × Y × Z มิลลิลิตร
(X,Y,Z = ความยาวของเสนผาศูนยกลางของกอนเลือดในแนวแกน X,Y,Z หนวยเปน เซนติเมตร)21
*Basal ganglia hemorrhage หมายถึง กอนเลือดที่ตำแหนง putamen, globus pallidus และ
caudate nucleus (ดูภาคผนวกที่ 5 หนา 34)
** ดูภาคผนวก 2
GCS = Glasgow Coma Scale
HCP = Hydrocephalus
IVH = Intraventricular hemorrhage
SAH = Subarachnoid hemorrhage
13แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
คำอธิบายแผนภูมิที่ 4
Basal ganglia hemorrhage แบงออกเปนสองกลุม หากพบขอบงชี้ > 2 ขอ ไดแก GCS < 13,
volume > 30 ml.30
, midline shift > 0.5 cm.26
ควรปรึกษาประสาทศัลยแพทย แตถาขอบงชี้ < 2 ขอ
ใหรักษาแบบประคับประคอง โดยการใหสารน้ำ เกลือแร และยาตางๆ หากผูปวยอาการเลวลง จึง
ปรึกษาประสาทศัลยแพทย
14 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
แผนภูมิที่ 5
การบำบัดรักษาโรคหลอดเลือดสมองแตกในตำแหนง Thalamus
(Management of Thalamic Hemorrhage)
Thalamic hemorrhage
Criteria for neurosurgical consultation
1. GCS < 13
2. Volume of hematoma > 10 ml.
3. Midline shift > 0.5 cm.
HCP
or
IVH with HCP
Criteria > 2 Criteria < 2
Medical treatment
Worse** Improved
ปรึกษา
ประสาทศัลยแพทย
Discharge
หมายเหตุ
การคำนวณปริมาตรกอนเลือด = 0.524 × X × Y × Z มิลลิลิตร
(X,Y,Z = ความยาวของเสนผาศูนยกลางของกอนเลือดในแนวแกน X,Y,Z หนวยเปน เซนติเมตร)21
* ดูภาคผนวก 2
GCS = Glasgow Coma Scale
HCP = Hydrocephalus
IVH = Intraventricular hemorrhage
15แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
คำอธิบายแผนภูมิที่ 5
Thalamic hemorrhage หากพบขอบงชี้ > 2 ขอ ไดแก GCS < 13, volume > 10 ml.31,32
,
midline shift > 0.5 cm. และ/หรือมี hydrocephalus (HCP) ควรปรึกษาประสาทศัลยแพทย
แตถาขอบงชี้ < 2 ขอ และไมมี hydrocephalus ใหรักษาแบบประคับประคอง โดยการใหสารน้ำ
เกลือแร และยาตางๆ ในกรณีที่ผูปวยมีอาการเลวลงจึงปรึกษาประสาทศัลยแพทย
16 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
แผนภูมิที่ 6
การบำบัดรักษาโรคหลอดเลือดสมองแตกในตำแหนงสมองนอย
(Management of Cerebellar Hemorrhage)
*การสงตัวผูปวย (refer case) ผูปวยอาจจะหยุดหายใจในขณะเดินทางได ฉะนั้น
ตองเตรียมเครื่องมือเพื่อชวยการหายใจใหพรอม
คำอธิบายแผนภูมิที่ 6
Cerebellar hemorrhage อาจจะมีอาการไมชัดเจน เมื่อเปรียบเทียบกับ hemorrhagic
stroke ในตำแหนงอื่น ๆ เชน ผูปวยอาจจะมาดวยอาการอาเจียนหรือเวียนศีรษะ แตไมมีออนแรง
ทำใหการวินิจฉัยโดยประวัติและตรวจรางกายลำบาก แพทยควรตระหนักถึงภาวะนี้ในผูปวยที่มีปจจัย
เสี่ยงของ hemorrhagic stroke
Cerebellar hemorrhage อาจทำใหผูปวยเสียชีวิตไดโดยเร็ว เนื่องจากมีการกดกานสมอง
หรือทำใหเกิดภาวะ hydrocephalus แนะนำใหปรึกษาประสาทศัลยแพทยเพื่อการรักษาที่เหมาะสม
ตอไป
การสงตอผูปวย ตองเตรียมเครื่องมือเพื่อชวยการหายใจใหพรอม เนื่องจากผูปวยอาจจะหยุด
หายใจในขณะเดินทางได
ปรึกษา*
ประสาทศัลยแพทย
Cerebellar hemorrhage
17แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
แผนภูมิที่ 7
การบำบัดรักษาโรคหลอดเลือดสมองแตกที่ตำแหนง Brainstem
(Management of Brainstem Hemorrhage)
Brainstem hemorrhage*
Criteria for neurosurgical consultation
1. GCS < 13
2. HCP
3. IVH with HCP
4. Repeated episodes**
Criteria > 1 Criteria = 0
Medical treatment
Worse** Improved
ปรึกษา
ประสาทศัลยแพทย
Discharge
หมายเหตุ
GCS = Glasgow Coma Scale
HCP = Hydrocephalus
IVH = Intraventricular hemorrhage
*ใหดู signs ของ brainstem dysfunction ในภาคผนวก 2 หนา 31
**Repeated episodes หมายความวาเกิด Brainstem hemorrhage ซ้ำที่ตำแหนงเดิม
18 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
คำอธิบายแผนภูมิที่ 7
Brainstem hemorrhage มักพบมากที่ตำแหนง pons ไมควรผาตัดเพราะมีความเสี่ยงสูง
ถา GCS < 13 หรือมี hydrocephalus (HCP) หรือ intraventricular hemorrhage with HCP ควร
ปรึกษาประสาทศัลยแพทยเพื่อพิจารณาใหการรักษาตอ หรือ หลอดเลือดแตกซ้ำที่ตำแหนงเดิม
(repeated episodes) อาจเกิดจาก cavernous angioma ควรปรึกษาประสาทศัลยแพทย เพื่อ
พิจารณาตรวจเพิ่มเติม และใหการรักษาตอไป ถา GCS > 13 และไมมี hydrocephalus ใหรักษา
แบบประคับประคอง โดยการใหสารน้ำ เกลือแร และยาตางๆ
19แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
แผนภูมิที่ 8
การบำบัดรักษาโรคหลอดเลือดสมองแตกใน Subarachnoid Space
(Management of Subarachnoid Hemorrhage)
Clinical suspicion of SAH
CT brain
Negative for SAHOther diagnosis Positive for SAH
+- ICH / IVH
LP for CSF analysis
Normal or Other diagnosis SAH (persistent RBC
+/- xanthochromia)
Appropriate management ปรึกษาประสาทศัลยแพทย
หมายเหตุ
CSF = Cerebrospinal fluid LP = Lumbar puncture
CT brain = Computer tomography brain RBC = Red blood cell
ICH = Intracerebral hemorrhage SAH = Subarachnoid hemorrhage
IVH = Intraventricular hemorrhage
20 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
คำอธิบายแผนภูมิที่ 8
Subarachnoid hemorrhage (SAH) หมายถึง เลือดออกใน subarachnoid space
ทำใหผูปวยมีอาการปวดศีรษะอยางรุนแรงขึ้นทันทีทันใด อาจมีหมดสติหรือไมมีก็ได ตรวจรางกายพบมี
คอแข็ง ซึ่งอาจตองแยกจากโรคเยื่อหุมสมองอักเสบ สาเหตุของ SAH ไดแก ruptured aneurysm,
ruptured AVM, blood dyscrasia, head injury, parasite เปนตน
ผูปวยที่มีอาการสงสัย SAH ใหสงตรวจ CT brain ถา CT brain ไมพบ SAH ใหเจาะตรวจ
น้ำไขสันหลัง หากผลเขาไดกับ SAH ซึ่งไมไดเกิดจาก parasite ควรปรึกษาประสาทศัลยแพทย
ในกรณีผูปวยที่มีประวัติสงสัย SAH แตระยะเวลาหลังจากปวดศีรษะครั้งแรกนานเกิน 2 สัปดาห
การทำ CT brain และการตรวจน้ำไขสันหลังอาจจะใหผลปกติ แนะนำใหสงตรวจเพิ่มเติม
21แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
บทที่ 3
การบำบัดรักษาทางอายุรกรรมในระยะแรกของโรคหลอดเลือดสมองแตก
(Medical Management in Acute Phase of Hemorrhagic Stroke)
การบำบัดรักษาความดันโลหิตสูง (Blood Pressure Management)
โดยทั่วไปจะไมใหยาลดความดันโลหิตในผูปวยโรคหลอดเลือดสมองแตกในระยะแรก ยกเวนใน
รายที่มีความดันโลหิตสูงมาก ซึ่งอาจทำใหขนาดของกอนเลือดใหญขึ้น33,34,35
จึงพิจารณาใหยา
ดังรายละเอียดในตารางที่ 3
การบำบัดรักษาอุณหภูมิรางกาย (Management of Body Temperature)
ในระยะแรกผูปวยโรคหลอดเลือดสมองแตกมักมีไขสูง กรณีที่อุณหภูมิรางกายสูงมาก จะมีผล
ตอ brain metabolism ทำใหการพยากรณโรคเลวลง36
ดังนั้น ถาผูปวยมีไข ควรใหการรักษาดังรายละเอียด
ในตารางที่ 3
การบำบัดรักษาระดับน้ำตาลในเลือด (Management of Blood Glucose)
ในระยะแรกผูปวยโรคหลอดเลือดสมองแตก อาจตรวจพบระดับน้ำตาลในเลือดสูงกวาปกติ ซึ่ง
อาจจะเกิดจาก stress หรือ ผูปวยเปนโรคเบาหวานเดิม การที่ระดับน้ำตาลในเลือดสูงมาก ทำใหอัตรา
ตายเพิ่มขึ้น37
ฉะนั้น หากระดับน้ำตาลในเลือด > 140 มก./ดล. ควรพิจารณาใหยารักษาเบาหวาน
การปองกันอาการชัก (Prevention of Seizure)
ในผูปวยที่มีอาการชัก ควรใหยากันชักทุกราย
ในผูปวยที่มี lobar hemorrhage อาจพิจารณาใหยาเพื่อปองกันชัก38
การใหสารน้ำและเกลือแร
ควรใหสารน้ำที่เปน isotonic solution เชน normal saline โดยใหปริมาณที่พอเหมาะ
กับผูปวยแตละรายดังตารางที่ 3 และรักษาระดับเกลือแรใหอยูในเกณฑปกติ
การบำบัดรักษาความดันในกะโหลกศีรษะสูง (Management of increased intracranial pressure)
กรณีที่สงสัยมีความดันในกะโหลกศีรษะสูง เชน ผูปวยปวดศีรษะรุนแรง ซึมลง อาเจียน เห็น
ภาพซอน รูมานตาขยาย ชีพจรชา pulse pressure กวาง เปนตน ใหการรักษาภาวะความดันใน
กะโหลกศีรษะสูงดังรายละเอียดในตารางที่ 4 และปรึกษาประสาทศัลยแพทย
22 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
เอกสารอางอิง
1. นิพนธ พวงวรินทร. Epidemiology of stroke. ใน: นิพนธ พวงวรินทร, บก.โรคหลอดเลือดสมอง
(stroke) ฉบับเรียบเรียงครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: เรือนแกวการพิมพ, 2544: 1-37.
2. Zhang LF, Yang J, Hong Z, Yuan GG, Zhou BF, Zhao LC, et al. Proportion of different
subtypes of stroke in China. Stroke 2003; 34: 2091-6.
3. Shimamoto T, Iso H, Iida M, Komachi Y. Epidemiology of cerebrovascular disease : stroke
epidemic in Japan. J Epidemiol 1996; 6(Suppl III): S43-47.
4. Ministry of public health. Burden of disease and injuries in Thailand Priority setting for
policy. 2005. 73-5, 82.
5. Ministry of public health. Burden of disease and injuries in Thailand Priority setting for
policy. 2002; A14-6,58.
6. World Health Organization Meeting on Community Control of Stroke and
Hypertension. Control of stroke in the community: methodological considerations
and protocol of WHO stroke register. CVD/s/73.6 Geneva: WHO, 1973.
7. สมเกียรติ โพธิสัตย. Technology assessment. ใน: สมเกียรติ โพธิสัตย, บก.การประเมิน
เทคโนโลยีทางการแพทย ฉบับปรับปรุง. กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพองคการทหารผานศึก, 2546: 5.
8. Poungvarin N. Stroke in the developing world. Lancet 1998; 50(Suppl III): 19-22.
9. Broderick JP, Adams HP, Barsan W, Feinberg W, Feldmann E, Grotta J, et al.
Guidelines for themanagementofspontaneousintracerebral hemorrhage.Stroke1999;30:905-15.
10. McKissock W, Richardson A, Taylor J. Primary intracerebral hemorrhage:
a controlled trial of surgical and conservative treatment in 180 unselected cases.
Lancet 1961; 2: 221-6.
11. Zuccarello M, Brott T, Derex L, Kothari R, Tew J, Loveren HV, et al. Early surgical
treatment for supratentorial intracerebral hemorrhage: a randomized feasibility study.
Stroke 1999; 30: 1833-9.
12. Juvela S, Heiskanen O, Poranen A, Valtonen S, Kuurne T, Kaste M, Troupp H.
The treatment of spontaneous intracerebral hemorrhage: a prospective randomized
trial of surgical and conservative treatment. J Neurosurg 1989; 70: 755-8.
13. Batjer HH, Reisch JS, Allen BC, Plaizier LJ, Su CJ. Failure of surgery to improve
outcome in hypertensive putaminal hemorrhage: a prospective randomized trial.
Arch Neurol 1990; 47: 1103-6.
14. Morgenstern LB, Frankowski RF, Shedden P, et al. Surgical treatment of
intracerebral hemorrhage (STICH) : a single-center, randomized clinical trial.
Neurology 1998; 51: 1359-63.
15. Mendelow AD, Gregson BA, Fernandes HM, Murray GD, Teasdale GM, Hope DT, Karimi A,
Shaw MD, Barer DH; STICH investigators.Early surgery versus initial conservative treatment
in patients with spontaneous supratentorial intracerebral haematomas in the
International Surgical Trial in Intracerebral Haemorrhage (STICH): a randomised trial.
Lancet. 2005 Jan 29-Feb 4; 365(9457): 387-97.
23แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
16. Prasad KS, Gregson BA, Bhattathiri PS, Mitchell P, Mendelow AD; STICH Investigators.The
significance of crossovers after randomization in the STICH trial.Acta Neurochir Suppl.
2006; 96: 61-4.
17. Pantazis G, Tsitsopoulos P, Mihas C, Katsiva V, Stavrianos V, Zymaris S.Early surgical
treatment vs conservative management for spontaneous supratentorial intracerebral
hematomas: A prospective randomized study.Surg Neurol. 2006 Nov; 66(5): 492-501;
discussion 501-2.
18. von Arbin M, Britton M, De Faire U, Helmers C, Miah K, Murray V. Validation of
admission criteria to a stroke unit. J Chronic Dis. 1980; 33: 215-20.
19. Panzer RJ, Feibel JH, Barker WH, Griner PF. Predicting the likelihood of
hemorrhage in patients with stroke. Arch Intern Med. 1985;145:1800-3.
20. แนวทางการรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน สำหรับแพทย ฉบับที่ 1 (พิมพครั้งที่ 2).
กรุงเทพมหานคร : สถาบันประสาทวิทยา; 2545: 1-28.
21. Broderick JP, Brott TG, Duldner JE, Tomsick T, Huster G. Volume of intracerebral
hemorrhage, a powerful and easy-to-use predictor of 30-day mortality. Stroke 1993;
24: 987-93.
22. Kazui S, Naritomi H, Yamamoto H, Sawada T, Yamaguchi T. Enlargement of Spontaneous
Intracerebral Hemorrhage. Stroke. 1996; 27: 1783-87
23. Flemming KD, Wijdicks EF, Li H. Can we predict poor outcome at presentation in
patients with lobar hemorrhage?. Cerebrovasc Dis 2001; 11: 183-9.
24. Flemming KD, Wijdicks EF, St Louis EK, Li H. Predicting deterioration in patients with
lobar haemorrhages. J Neurol Neurosurg Psychiatry 1999; 66: 600-5.
25. Andrews BT, Chiles BW 3rd, Olsen WL, Pitts LH. The effect of intracerebral hematoma
location on the risk of brain-stem compression and on clinical outcome. J Neurosurg
1988; 69: 518-22.
26. Sakas DE, Singounas EG, Karvounis PC. Spontaneous intracerebral haematomas: surgical
versus conservative treatment based on Glascow Coma Scale score and computer
tomography data.J Neurosurg Sci 1989; 33: 165-72.
27. Zhu XL, Chan MS, Poon WS. Spontaneous intracranial hemorrhage: which patients
need diagnostic cerebral angiography? A prospective study of 206 cases and
review of the literature. Stroke 1997; 28: 1406-9.
28. Loes DJ, Smoker WR, Biller J, Cornell SH. Nontraumatic lobar intracerebral hemorrhage:
CT/angiographic correlation. Am J Neuroradiol 1987; 8: 1027-30.
29. Halpin SF, Britton JA, Clifton A, Hart G, Moore A. Prospective evaluation of
cerebral angiography and computered tomography in cerebral hematoma.
J Neurol Neurosurg Psychiatry 1994; 57: 1180-6.
30. Kaya RA, Turkmenoglu O, Ziyal IM, Dalkilic T, Sahin Y, Aydin Y. The effects on prognosis
of surgical treatment of hypertensive putaminal hematomas through transsylvian
transinsular approach. Surg Neurol 2003; 59: 176-83.
24 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
31. Sasaki K, Matsumoto K. Clinical appraisal of stereotactic hematoma aspiration surgery
for hypertensive thalamic hemorrhage--with respect to volume of the hematoma.
Tokushima J Exp Med 1992; 39: 35-44.
32. Kwak R, Kadoya S, Suzuki T. Factors affecting the prognosis in thalamic hemorrhage.
Stroke 1983; 14: 493-500.
33. Ohwaki K, Yano E, Nagashima H, Hirata M, Nakagomi T, Tamura A. Blood pressure
management in acute intracerebral hemorrhage: relationship between elevated blood
pressure and hematoma enlargement. Stroke. 2004 Jun; 35(6): 1364-7. Epub 2004 Apr 29.
34. Maruishi M, Shima T, Okada Y, Nishida M, Yamane K. Involvement of fluctuating high
blood pressure in the enlargement of spontaneous intracerebral hematoma. Neurol Med
Chir (Tokyo). 2001 Jun; 41(6): 300-4; discussion 304-5.
35. Lim JK, Hwang HS, Cho BM, Lee HK, Ahn SK, Oh SM, Choi SK. Multivariate analysis of risk
factors of hematoma expansion in spontaneous intracerebral hemorrhage. Surg Neurol.
2008 Jan; 69(1): 40-5; discussion 45.
36. Azzimondi G, Bassein L, Nonino F, Fiorani L, Vignatelli L, Re G, D’Alessandro R.Fever in
acute stroke worsens prognosis. A prospective study.Stroke. 1995 Nov; 26(11): 2040-3.
37. Fogelholm R, Murros K, Rissanen A, Avikainen S. Admission blood glucose and
short term survival in primary intracerebral hemorrhage: a population base study.
J Neurol Neurosurg Psychiatry. 2005; 76: 349-53.
38. Passero S, Rocchi R, Rossi S, Ulivelli M, Vatti G. Seizure after spontaneous
supratentorial intracerebral hemorrhage. Epilepsia. 2002 ; 43: 1175-80.
39. Poungvarin N, Bhoopat W, Viriyavejakul A, Rodprasert P, Buranasiri P,
Sukondhabhant S, et al. Effects of dexamethasone in primary supratentorial
intracerebral hemorrhage. N Engl J Med 1987; 316: 1229-33.
40. De Reuck J, De Bleecker J, Reyntjens K. Steroid treatment in primary intracerebral
haemorrhage. Acta Neurol Belg 1989; 89: 7-11.
41. Castellanos M, Leira R, Tejada J, Gil-Peralta A, Davalos A, Castillo J : Stroke
Project, Cerebrovascular Diseases Group of the Spanish Neurological Society.
Predictors of good outcome in medium to large spontaneous supratentorial
intracerebral hemorrhage. J Neurol Neurosurg Psychiatry. 2005; 76: 691-5.
42. Fujii Y, Takeuchi S, Sasaki O, Minakawa T, Tanaka R. Multivariate analysis of predictors of
hematoma enlargement in spontaneous intracerebral hemorrhage. Stroke. 1998 Jun; 29
(6): 1160-6.
25แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
ตารางที่ 1
ระดับคำแนะนำอิงคุณภาพของหลักฐาน
(Strength of Recommendation)
Grade Recommendation
A Supported by data from randomized controlled trials with low
false-positive and low false- negative errors
B Supported by data from randomized controlled trials with
high false-positive and high false- negative errors
C Supported by data from non-randomized cohort studies, case
series, case report, expert opinion or consensus
ตารางที่ 2
สรุปการตรวจวินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมองแตก
(Diagnosis of Hemorrhagic Stroke)
ขอบงชี้ การตรวจเพื่อวินิจฉัย
1. ผูปวยที่สงสัยวาเปนโรคหลอดเลือดสมองแตก CT brain (grade A)
2. ถา CT brain ปกติ ลักษณะทางคลินิกเขาไดกับSAH ตรวจน้ำไขสันหลัง
3. ผูปวย ICH ในกรณีดังตอไปนี้
- ตำแหนงเลือดออกที่ไมสามารถหาสาเหตุได
- อายุ < 45 ป
- ไมมีประวัติความดันโลหิตสูง
4. ผูปวยที่เปน Primary IVH , SAH ควรพิจารณาสงตรวจ cerebral
angiog raphy, CT angiography, MR
angiography (grade C)
ควรพิจารณาสงตรวจเพื่อคนหาความ
ผิดปกติของหลอดเลือดสมอง เชน
cerebral angiography, CT angiography,
MR angiography (grade C)
26 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
ตารางที่ 3
การบำบัดรักษาทางอายุรกรรมของโรคหลอดเลือดสมองแตก
(Medical Management in Acute Phase of Hemorrhagic Stroke)
* ขนาดยาและปริมาณสารน้ำที่ใชนี้เหมาะสำหรับผูใหญ
1. Respiration
ผูปวยที่หายใจไมพอ หรือหมดสติ หรือมีโอกาสเกิดสำลัก ควรใสทอชวยหายใจ พยายามควบคุม
blood gas ใหอยูในเกณฑปกติ
2. Blood Pressure9, 20
• หลีกเลี่ยงภาวะ hypotension
• ควบคุม mean arterial pressure (MAP) < 130 mmHg (grade C)
MAP = Diastolic BP + 1/3 (systolic BP - Diastolic BP)
2.1 ถา systolic BP > 200 mmHg หรือ diastolic BP > 140 mmHg หรือ MAP > 150 mmHg ให
- Nitroprusside 0.25 - 10 µg/kg/min ทางหลอดเลือดดำ ไมควรใหติดตอกันเกิน 3 วัน หรือ
- Nitroglycerine 5 mg ทางหลอดเลือดดำ ตามดวย 1 - 4 mg/hr
- หากไมมียาดังกลาวขางตน อาจพิจารณาใชยาในหัวขอที่ 2.2 แทน
2.2 ถา systolic BP=180-200 mmHg หรือ DBP = 105-140 mmHg หรือ MAP > 130 mmHgให
- Captopril 6.25-12.5 mg ทางปาก ออกฤทธิ์ภายใน 15-30 นาที อยูไดนาน 4-6 ช.ม.หรือ
- Small patch of nitroglycerine ปดหนาอก หรือ
- Hydralazine 5-10 mg ทางหลอดเลือดดำ ออกฤทธิ์ ภายใน 1-2 นาที อยูไดนาน 1-2 ช.ม. หรือ
- Nicardepine ผสมยาใหมีความเขมขน 0.1-0.2 mg/ml แลวใหทางหลอดเลือดดำชา ๆ 5 mg/hr.
- ไมควรใช nifedipine อมใตลิ้น หรือทางปาก เนื่องจากไมสามารถทำนายผลของยาได แนนอน
และไมสามารถปรับลดยาไดหากเกิดภาวะความดันโลหิตต่ำมาก
3. Temperature
ผูปวยที่มีไข ควรใหยาลดไข หรือเช็ดตัว หรือใช cooling blanket
4. การบำบัดรักษาระดับน้ำตาลในเลือด (Management of Blood Glucose )
หากระดับน้ำตาลในเลือด > 140 มก./ดล. ควรพิจารณาใหยาเบาหวาน
5. การปองกันอาการชัก ( Prevention of Seizure)
ในผูปวยที่มีอาการชักกอนการรักษา ควรใหยากันชักทุกราย
6. Fluid & Electrolyte*
- พยายามอยาใหเกิด dehydration หรือ overhydration โดยแตละวันสมควรให isotonic
solution เชน normal saline เปนตน ตามปริมาณที่คำนวณได ดังนี้
ปริมาณ = urine output + 500 ml (insensible loss) + 300 ml/1˚C ที่เพิ่มขึ้น
จากอุณหภูมิกายปกติ (37 ˚C)
- ควบคุมคาระดับ electrolyte ใหปกติ
27แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
ตารางที่ 4
การรักษาภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
(Treatment of Increased Intracranial Pressure)
การรักษาภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
1. Clear airway ใสทอชวยหายใจ และ Foley’s catheter
2. ใหนอนยกศีรษะและสวนบนของรางกายสูง 20-30 องศา
3. จัดทาผูปวยโดยใหหลีกเลี่ยงการกดทับหลอดเลือดดำที่คอ (jugular vein)
4. Hyperventilation เพื่อให PaCO2
= 30-35 mmHg แตวิธีนี้มีประโยชนในชวงสั้น ๆ
กอนผาตัด
5. พิจารณาใหยา *
- 20% mannitol : loading dose 1 gm/kg ทางหลอดเลือดดำภายใน 20 นาที ตามดวย
0.25-0.5 gm/kg ทุก 6 ชั่วโมง ควรตรวจ serum osmolarity ทุกวัน ควบคุม serum
osmolarity < 320 mOsm/l (grade C) หรือ
- 10% glycerol 250 ml ทางหลอดเลือดดำ ภายใน 30 นาที ทุก 6 ชั่วโมง หรือ
- 50% glycerol 50 ml ทางปาก วันละ 4 ครั้ง หรือ
- Furosemide 1 mg/kg ทางหลอดเลือดดำ (grade C)
6. หลีกเลี่ยงการให hypotonic solution
7. การใช steroid ยังไมมีหลักฐานทางคลินิกสนับสนุนวาไดประโยชน39,40
(grade A)
* ขนาดยาที่ใชนี้เหมาะสำหรับผูใหญ
28 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
ตารางที่ 5
แนวทางการปรึกษาประสาทศัลยแพทยในเรื่องโรคหลอดเลือดสมองแตก
(Guidelines for Neurosurgical Consultation in Hemorrhagic Stroke)
ตำแหนง
กอนเลือด
Lobar
Temporal lobe
Basal ganglia
Thalamus
Cerebellum
Brainstem
Primary subarachnoid
hemorrhage (SAH)
Primary
intraventicular
hemorrhage (IVH)
Hydrocephalus
(HCP)
เกณฑ (criteria)
1. GCS < 13
2. Volume > 30 ml
3. Midline shift > 0.5 cm.
-
1. GCS < 13
2. Volume > 30 ml
3. Midline shift > 0.5 cm.
1. GCS < 13
2. Volume > 10 ml
3. Midline shift > 0.5 cm.
-
1. GCS < 13
2. HC
3. IVH
4. Repeated episodes
-
-
-
รักษาแบบ
ประคับประคอง
Criteria < 2
-
Criteria < 2
Criteria < 2
-
Criteria = 0
-
-
-
ปรึกษา
ประสาทศัลยแพทย
Criteria > 2
ปรึกษาทุกราย
Criteria > 2
Criteria > 2
ปรึกษาทุกราย
Criteria > 1
ปรึกษาทุกราย
ปรึกษาทุกราย
ปรึกษาทุกราย
ระดับคำแนะนำ
(recommendation
grading)
C
C
C
C
C
C
C
C
C
29แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
ภาคผนวก 1
การคำนวณปริมาตรของกอนเลือด
(Calculation of Volume of Hematoma)21
ปริมาตรของกอนเลือดคำนวณจากเครื่องเอ็กซเรยคอมพิวเตอรโดยตรง หรือ ใชสูตรคำนวณ
สูตร ปริมาตรของกอนเลือด (volume of hematoma) = 0.542 * X * Y * Z
( X, Y, Z คือ เสนผาศูนยกลางของกอนเลือดในแนวแกน X, Y, Z )
โดยการนำฟลมเอ็กซเรยคอมพิวเตอรสมองครั้งแรกของผูปวยมาพิจารณาดังนี้
1. แตละ slice มีความหนา (slice thickness) กี่ ซม. ซึ่งจะมีบันทึกไวบนแผนฟลมหรือ ในรายงานผล
สวนใหญจะหนา 1 ซม. ในที่นี้สมมุติวา slice thickness = ‘ t ’
2. พิจารณาวามีกอนเลือด (hematoma) อยูที่ตำแหนง (location) ใด
3. พิจารณาวา slice ที่มีกอนเลือดอยูจำนวนกี่ slices ในที่นี้สมมุติวา จำนวน = ‘ n ’ slices
4. เพราะฉะนั้นคา Z = t * n สมมติวาเทากับ c
5. พิจารณาวา slice ไหนมีกอนเลือดขนาดใหญที่สุด นำ slice นั้นมาเปนเกณฑวัดขนาด
6. วัดขนาดของกอนเลือดในแนวแกนที่กวางที่สุดของกอนเลือด สมมุติแกน X= a และแกน
Y= b (โดย a และ b ตั้งฉากกัน ดังรูป)
7. ปริมาตรของกอนเลือด ( volume of hematoma ) = 0.542* a * b * c
(c = t * n)
30 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
ภาคผนวก 2
การประเมินผูปวย การเฝาระวัง และติดตาม
แพทยควรตรวจและบันทึกผลในเวชระเบียน เพื่อใชเปนขอมูลในการเฝาระวังและติดตามผูปวย
ทั้งในระยะแรก และเมื่อผูปวยเขารับการรักษาในโรงพยาบาล โดยใชการตรวจรางกายที่สำคัญดังนี้
1. Vital signs:
a. Blood pressure (BP) : ผูปวยที่มีความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นมักจะมี
Cushing’s reflex คือ BP สูงขึ้น Pulse pressure กวางขึ้น
b. Heart rate (HR) : ผูปวยที่มีความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นมักจะมี Cushing’s reflex คือ HR ชาลง
c. Respitatory rate (RR) : ผูปวยที่มีการดำเนินโรคที่แยลง (worse) มักจะมีการกดศูนยหายใจ
ทำใหมี RR ชาลง หรือ Apnea ได
2. Glasgow Coma Scale (GCS) ดูหนา 31 : การเปลี่ยนแปลงของ GCS score ที่ต่ำลง 2 ระดับ
ใหถือวาผูปวยมีอาการที่แยลง
3. Pupil :
a. Size : ขนาดของ pupil ที่เปลี่ยนแปลงอาจมีภาวะ Brain herniation (uncal herniation)
b. Equality : ขนาดของ pupil ไมควรแตกตางกันเกิน 1 mm
c. Reaction to light : การไมตอบสนองตอแสงของ pupil อาจมีภาวะ Brain herniation
(uncal herniation)
การเปลี่ยนแปลงของ pupil ที่แตกตางจากการประเมินครั้งกอน (ขนาดใหญขึ้น ไมตอบสนองตอแสง
หรือ ขนาดมานตาตางจากอีกขางหนึ่ง) ใหถือวาผูปวยมีอาการแยลง
4. Motor power : การเปลี่ยนแปลงของ motor power ที่ลดลงจากการประเมินครั้งกอน 1 grade
ใหถือวาผูปวยมีอาการแยลง
5. อาการอื่นๆ เชน อาการ increased intracranial pressure หรือ hydrocephalus (vomiting,
sixth nerve palsy), อาการ brain herniation
31แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
GCS (Glasglow Coma Scale)
Level of response Scale value
1. Eye opening
• Spontaneously 4
• To speech 3
• To pain 2
• None 1
2. Motor response
• Obeys commands 6
• Localizes to pain 5
• Withdraws to pain 4
• Abnormal flexion 3
• Abnormal extension 2
• None 1
3. Verbal response
• Oriented 5
• Confused 4
• Inappropriate words 3
• Incomprehensible 2
• None 1
Brainstem dysfunction
ผูปวย Hemorrhagic stroke อาจจะมีอาการ brainstem dysfunction ไดแก
1. Vital signs : RR และ รูปแบบของการหายใจ
2. Level of consciousness : เนื่องจาก brainstem เปนที่อยูของ reticular activating
system ซึ่งควบคุมระดับความรูสึกตัวของผูปวย
3. Brainstem
a. Brainstem function : ตรวจ cranial nerve ตางๆ เชน การกลอกตา (CN. III, IV, VI)
การขยับกลามเนื้อของใบหนา (CN. VII) การกลืน (CN.IX, X)
b. Brainstem reflexes : Corneal’s reflex (CN. V&VII), Doll’s eye (CN. III&VI&VIII), Caloric
test (CN.III&VI&VIII), Nystagmus (CN.III&VI&VIII), Gag reflex (CN.IX)
32 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
ภาคผนวก 3
CT Scan of Normal Brain
รูปที่ 1 Low ventricular subset C2. A, Cadaver section. B, CT scan.
(A from Alfidi, RJ, et al.: Computed tomography of the human body:
An atlas of normal anatomy, St. Louis, 1977, The C.V. Mosby Co.)
33แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
ภาคผนวก 4
การวินิจฉัย Hydrocephalus จาก CT Brain
(Diagnosis of Hydrocephalus by CT brain)
Hydrocephalus was defined as the presence of
1. The presence of a dilated contralateral temporal horn.
2. Unilateral dilated frontal and posterior horn of the lateral ventricle from
deep cerebral hemorrhage.
3. Bilateral dilated lateral ventricles with or without a dilated third ventricle
resulting from obstruction by a clot in the ventricle or the mass effect of deep
cerebral hemorrhage.
4. The frontal horn is considered to have enlarged if there is an increased
radius, decreased ventricular angle, and sulcal effacement of the frontal lobe.
5. The posterior horn is considered to have enlarged if there is rounding of the
posterior horn with sulcal effacement of the parieto-occipital lobe.
6. The third ventricle is enlarged if the width is increased (> 7 mm.) and if there
is ballooning of the anterior recess.
7. The fourth ventricle is considered enlarged if there is bulging.
A B
รูปที่ 2 Hydrocephalus by CT brain A and B
34 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
ภาคผนวก 5
CT Brain of Hemorrhagic Stroke
Lobar hemorrhage
รูปที่ 3 รูปที่ 4 รูปที่ 5
Frontal lobe Temporal lobe Parieto-occipital lobe
Basal ganglia hemorrhage
รูปที่ 6 รูปที่ 7 รูปที่ 8
Small hemorrhage Classical hemorrhage Large basal ganglia hemorrhage
at globus pallidus at putamen with secondary IVH
35แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
Thalamic hemorrhage
รูปที่ 9 รูปที่ 10
Small thalamic hemorrhage Large thalamic hemorrhage
with secondary IVH via 3rd
ventricle with secondary IVH
รูปที่ 11
Cerebellar hemorrhage
รูปที่ 12 รูปที่ 13
Small pontine hemorrhage (arrow) Large Pontine hemorrhage
36 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
รูปที่ 14 รูปที่ 15
Primary subarachnoid hemorrhage Primary intraventricular hemorrhage in
both lateral ventricles (arrow)
รูปที่ 16 รูปที่ 17
Primary intraventricular hemorrhage Intraventricular hemorrhage
in 3rd
ventricle (arrow) and lateral ventricle in 4th
ventricle (arrow)
37แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
ภาคผนวก 6
ปจจัยที่มีผลตอการรักษา
(Factors affect outcome)
ปจจัยดังตอไปนี้มีผลตอการพยากรณโรค ไดแก
1. GCS score/stroke score
2. Location of hematoma
3. Size of hematoma
4. Coagulopathy
5. Hydrocephalus
จากการศึกษาแบบ prospective ของ Castellanos et al.41
พบวาผูปวยที่มีการพยากรณ
โรคที่ดี สวนใหญมีปจจัยตอไปนี้ คือ higher Canadian stroke score; lower blood pressure
higher fibrinogen concentrations และมี CT findings คือ smaller volume of ICH,
more peripheral location of hematoma, less intraventricular spread of bleeding,
less midline shift
ฉะนั้น การอธิบายใหผูปวยและญาติรับทราบถึง prognosis & outcome ใหพิจารณาตาม
ปจจัยขางตน เพื่อใหเกิดความเขาใจตรงกัน
38 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
ภาคผนวก 7
ความเสี่ยงที่ขนาดของกอนเลือดใหญขึ้นหลังจากทำ CT scan ครั้งแรก
(Risk of hematoma expansion after initial CT Scan)
The cutpoint for hematoma enlargement was determined as
V2-V1=12.5 cm3
or V2/V1=1.4 (sensitivity=94.4%, specificity=95.8%).
Kazui et al22
ไดศึกษาการขยายขนาดของกอนเลือดในสมองหลังจากทำ CT scan ครั้งแรกพบวา
Initial CT scan at < 3 hours after onset of stroke มีความเสี่ยง 36% ที่ขนาดกอนเลือดใหญขึ้น
Initial CT scan at 3 to 6 hours after onset of stroke มีความเสี่ยง 16% ที่ขนาดกอนเลือดใหญขึ้น
Initial CT scan at 6 to 12 hours after onset of stroke มีความเสี่ยง 15% ที่ขนาดกอนเลือดใหญขึ้น
Initial CT scan at 12 to 24 hours after onset of stroke มีความเสี่ยง 6% ที่ขนาดกอนเลือดใหญขึ้น
Initial CT scan at 24 to 48 hours after onset of stroke มีความเสี่ยง 0% ที่ขนาดกอนเลือดใหญขึ้น
(หมายเหตุ V1 = initial CT scan, V2 = second CT scan)
จากขอมูลดังกลาวขางตน แพทยผูรักษาอาจใชเปนเครื่องมือในการพิจารณาถึงความเหมาะสม
ของการทำ CT scan brian ซ้ำ เพื่อดู hematoma expansion ซึ่งจะเปนประโยชนในการใหการรักษา
กอนที่ผูปวยจะมีอาการเลวลง
นอกจากเรื่องของเวลาที่ทำ CT scan แลว ยังมีปจจัยอื่นที่อาจทำใหกอนเลือดมีขนาดใหญขึ้น
กวาเดิมไดแก alcoholic abuse; an irregularly shaped hematoma, and a low level of
fibrinogen.42
39แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
ภาคผนวก 8
ตัวอยางกรณีศึกษา (Case study)
Case 1
ประวัติ
ชายไทย คู อายุ 41 ป จ.เลย อาชีพ คาขาย ดื่มสุราเปนประจำและสูบบุหรี่
- ญาติพบวา นอนหมดสติ แขนขาขวาออนแรง พูดคุยไมรูเรื่อง 8 ชั่วโมงกอนมา ร.พ.
ตรวจรางกาย
- BP 170/90 BS 87 mg/dl PT, PTT normal
- GCS = 10 , right hemiplegia
CT brain ( at 8 hrs after onset )
: - left putaminal hemorrhage , ขนาด 3*4.3*2.1 cm., midline shift 3.3 mm.
Dx Left putaminal hemorrhage
Management
1. Volume of hematoma = 3*4.3*2.1*0.524 = 14.19 cc.
2. ดูหัวขอ basal ganglia hemorrhage ใน CPG มี criteria เพียง 1 ขอ ( GCS = 10 )
จึงให medical Rx กอน
3. BP 170/90 mmHg ยังไมเขา criteria ในการใหยา anti-hypertensive ใหยาและสารน้ำ
เปน conservative & supportive Rx กอน
4. เนื่องจากทำ CT brain ภายใน 8 ชม. หลัง onset จึงมีความเสี่ยงที่มี expanding hematoma
15 % จึงควร observe ใกลชิด (ดูภาคผนวก 7) ตองประเมินเวลาที่ใชในการเดินทางเพื่อ refer
ไปหาประสาทศัลยแพทย เพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติของแตละเครือขาย
5. ใหอธิบายแกผูปวยและญาติ เรื่อง Dx, management, risk ตามขอมูลที่มีอยูใหเขาใจ
40 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
Case 2
ประวัติ
- หญิงไทยคู อายุ 71 ป จ. กทม. อาชีพ แมบาน
- 8 ชม. ปวดศีรษะ บานหมุน ฟุบลง ซึมลง ไมพูด
ประวัติเดิม
- เปนความดันโลหิตสูง รักษาไมสม่ำเสมอ
- 9 ปกอนเปนหลอดเลือดสมองแตกที่ thalamus ขางขวา ไมไดผาตัด
ตรวจรางกาย
- BP 200/100 mmHG
- GCS = 14 , pupil 3 mm. RTL.BE. , dysarthia, Gag reflex present, No facial
palsy, No nystagmus , Finger - Nose - Finger test impaired right side
- Left hemiparesis
CT brain (at 8 hrs after onset) :
- Right cerebellar hemorrhage 2.2*2.6*2.5 cm. with surrounding edema
Dx Right cerebellar hemorrhage
Management
1. Volume of hematoma = 2.2*2.6*2.5*0.524 = 7.49 cc.
2. ดูหัวขอ cerebellar hemorrhage ใน CPG จึงควรปรึกษาประสาทศัลยแพทย
3. BP 200/100 mmHg มี criteria ในการใหยา anti-hypertensive ใหยาและสารน้ำ
เปน conservative & supportive Px กอนสงตอ
4. ใหอธิบายแกผูปวยและญาติ เรื่อง Dx, management, risk ตามขอมูลที่มีอยูใหเขาใจ
41แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย
Case 3
ประวัติ
- ชายไทยคู อายุ 58 ป จ. สุโขทัย อาชีพ รับจาง
- 8 ชม. กอนมาโรงพยาบาล มีอาการแขนขาขวาออนแรง ไมปวดศีรษะ ไมมีอาเจียน
ประวัติเดิม : DM, HT
ตรวจรางกาย
- BP 140/90 mmHg.
- GCS = 14 , pupils 3 mm. RTL.BE. , No facial palsy
- Right hemiparesis gr. III
CT brain (at 8 hrs. after onset) :
- Left thalamic hemorrhage 2.1*1.0*0.5 cm.
Dx Left thalamic hemorrhage without midline shift or hydrocephalus.
Management
1. Volume of hematoma = 2.1*1.0*0.5*0.524 = 0.55 cc.
2. ดูหัวขอ thalamic hemorrhage ใน CPG มี criteria เพียง 1 ขอ ( GCS = 10 )
จึงให medical Px กอน
3. BP 140/90 mmHg ยังไมเขา criteria ในการใหยา anti-hypertensive ใหยาและสารน้ำ
เปน conservative & supportive Px กอน
4. เนื่องจากทำ CT brain ภายใน 8 ชม. หลัง onset จึงมีความเสี่ยงที่มี expanding
hematoma 15 % จึงควร observe ใกลชิด (ดูภาคผนวก 7) ตองประเมินเวลาที่ใชในการ
เดินทางเพื่อ refer ไปหาประสาทศัลยแพทย เพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติของแตละเครือขาย
5. ใหอธิบายแกผูปวยและญาติ เรื่อง Dx, management, risk ตามขอมูลที่มีอยูใหเขาใจ
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke  2008
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke  2008
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke  2008
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke  2008
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke  2008
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke  2008

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
techno UCH
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจ
Krongdai Unhasuta
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
taem
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoring
piyarat wongnai
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
Chutchavarn Wongsaree
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
Papawee Laonoi
 

La actualidad más candente (20)

Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
Shock (Thai)
Shock (Thai)Shock (Thai)
Shock (Thai)
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วย โรคหัวใจขาดเลือดในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี2557
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
 
EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง  2007
แนวทางการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 2007
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจ
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoring
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
 
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนLesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
 
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
การพยาบาลผู้ป่วย CAD IHD & VHD edition 131059
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complicationsPharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
แนวปฏิบัติ การล้างไตทางช่องท้อง พ.ศ. 2561
 

Destacado

การสำรวจนักเรียนที่เข้าข่ายโรคอ้วน
การสำรวจนักเรียนที่เข้าข่ายโรคอ้วนการสำรวจนักเรียนที่เข้าข่ายโรคอ้วน
การสำรวจนักเรียนที่เข้าข่ายโรคอ้วน
พัน พัน
 
กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)
กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)
กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)
Annop Phetchakhong
 
บทนำ โรคอ้วน
บทนำ โรคอ้วนบทนำ โรคอ้วน
บทนำ โรคอ้วน
พัน พัน
 
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Sureerut Physiotherapist
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
sukanya5729
 

Destacado (20)

Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
 
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of MoPH
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of MoPHCardiovasculare risk among staff working at the Central of MoPH
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of MoPH
 
12
1212
12
 
Heat stroke in Thai Army
Heat stroke in Thai ArmyHeat stroke in Thai Army
Heat stroke in Thai Army
 
การสำรวจนักเรียนที่เข้าข่ายโรคอ้วน
การสำรวจนักเรียนที่เข้าข่ายโรคอ้วนการสำรวจนักเรียนที่เข้าข่ายโรคอ้วน
การสำรวจนักเรียนที่เข้าข่ายโรคอ้วน
 
กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)
กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)
กิตติกรรมประกาศ (เสร็จ)
 
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่ CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
 
Ppt. heat stroke
Ppt. heat strokePpt. heat stroke
Ppt. heat stroke
 
Pathophysiology of left basal ganglia hemorrhage
Pathophysiology of left basal ganglia hemorrhagePathophysiology of left basal ganglia hemorrhage
Pathophysiology of left basal ganglia hemorrhage
 
ISO 15189 Accreditation Guide - Improving Laboratory Performance Through Qual...
ISO 15189 Accreditation Guide - Improving Laboratory Performance Through Qual...ISO 15189 Accreditation Guide - Improving Laboratory Performance Through Qual...
ISO 15189 Accreditation Guide - Improving Laboratory Performance Through Qual...
 
ACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast track
 
Stroke basal ganglia bleed
Stroke basal ganglia bleedStroke basal ganglia bleed
Stroke basal ganglia bleed
 
บทนำ โรคอ้วน
บทนำ โรคอ้วนบทนำ โรคอ้วน
บทนำ โรคอ้วน
 
คู่มือโรคหลอดเลือดสมอง สำหรับประชาชน (อัมพาต อัมพฤกษ์)
คู่มือโรคหลอดเลือดสมอง สำหรับประชาชน (อัมพาต อัมพฤกษ์)คู่มือโรคหลอดเลือดสมอง สำหรับประชาชน (อัมพาต อัมพฤกษ์)
คู่มือโรคหลอดเลือดสมอง สำหรับประชาชน (อัมพาต อัมพฤกษ์)
 
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูคู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
 
กิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศกิติกรรมประกาศ
กิติกรรมประกาศ
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 

Similar a Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2008

Surgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกร
Surgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกรSurgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกร
Surgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกร
pohgreen
 

Similar a Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2008 (20)

Cad guideline
Cad guidelineCad guideline
Cad guideline
 
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
 
Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014
 
Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014
 
Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014Guideline for ischemic heart disease 2014
Guideline for ischemic heart disease 2014
 
Chf guideline
Chf guidelineChf guideline
Chf guideline
 
Pci guideline
Pci guidelinePci guideline
Pci guideline
 
Pci guideline
Pci guidelinePci guideline
Pci guideline
 
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
CPG Thai Stroke infarct retrieved since 2555
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
 
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
 
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryClinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
 
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injuryClinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
Clinical practice-guidelines-for-traumatic-brain-injury
 
Guideline for ischemic heart disease 2104
Guideline for ischemic heart disease 2104Guideline for ischemic heart disease 2104
Guideline for ischemic heart disease 2104
 
Dementia in Thai
Dementia in ThaiDementia in Thai
Dementia in Thai
 
Surgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกร
Surgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกรSurgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกร
Surgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกร
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
สรุปแนวทางปฏิบัติการช่วยชีวิต ปี 2010
สรุปแนวทางปฏิบัติการช่วยชีวิต ปี 2010สรุปแนวทางปฏิบัติการช่วยชีวิต ปี 2010
สรุปแนวทางปฏิบัติการช่วยชีวิต ปี 2010
 
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล วงค์สารี
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล  วงค์สารีการใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล  วงค์สารี
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย โดย ชัชวาล วงค์สารี
 
แนวปฏิบัติการใช้ยา Thrombolytic agent
แนวปฏิบัติการใช้ยา Thrombolytic agentแนวปฏิบัติการใช้ยา Thrombolytic agent
แนวปฏิบัติการใช้ยา Thrombolytic agent
 

Más de Utai Sukviwatsirikul

Más de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptives
 

Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2008

  • 1. ฉบับเรียบเรียงครั้งที่ 2 พ.ศ. 2551 ISBN 978-974-422-483-5 แนวทางเวชปฏิบัติ โรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย (Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke)
  • 2. แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย (Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke) ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทย วิทยาลัยประสาทศัลยแพทยแหงประเทศไทย สมาคมประสาทวิทยาแหงประเทศไทย สมาคมโรคหลอดเลือดสมองไทย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กรมแพทยทหารบก สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย
  • 3. 2 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย แนวทางเวชปฏิบัตินี้ เปนเครื่องมือสำหรับแพทยทุกสาขาในทุกโรงพยาบาล เพื่อสงเสริมคุณภาพของ การบริการดานสุขภาพที่เหมาะสมกับทรัพยากรและเงื่อนไขสังคมไทย โดยหวังผลในการสรางเสริมและแกไข ปญหาสุขภาพของคนไทยอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา ขอแนะนำตาง ๆ ในแนวทางเวชปฏิบัตินี้ไมใช ขอบังคับของการปฏิบัติ ผูใชสามารถปฏิบัติแตกตางไปจากขอแนะนำได ในกรณีที่สถานการณแตกตาง ออกไปหรือมีเหตุผลที่สมควร โดยใชวิจารณญาณที่เปนที่ยอมรับในสังคม
  • 4. แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย คำนิยม แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย ภาวะ Stroke หรือ “โรคหลอดเลือดสมอง” ในคนไทยจะชินกับคำวา“อัมพาตอัมพฤกษ” หรือ “อัมพฤกษ อัมพาต” มากกวา ซึ่งเปนโรคที่พบบอยขึ้นอยางตอเนื่อง ดวยสาเหตุหลายอยาง เชน อายุขัย คนไทยยืนยาวขึ้น มีการดำรงชีวิตที่เพิ่มปจจัยเสี่ยงมากขึ้น ทำใหโรคนี้เปนสาเหตุการเสียชีวิตใน อันดับตนๆ สาเหตุที่พบแบงออกเปนสองสาเหตุ คือ เนื่องจากหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน ซึ่งไดมี แนวทางฯ ไวตางหาก และเนื่องจากหลอดเลือดสมองแตก ทำใหมีเลือดออกภายในกะโหลกศีรษะ ซึ่งเปนสาระสำคัญในแนวทางฯ ฉบับนี้ เนื่องจาก สมองมีกายวิภาค และหนาที่การทำงานที่สลับซับซอน แบงหนาที่กันไปตามสวนยอย ตางๆ อยางละเอียด การมีเลือดออกในสมองสวนตางๆ ลวนทำใหมีปญหากับผูปวยไปคนละแบบ การรักษาก็แตกตางกันไปเปนอยางมาก ความพยายามที่จะทำให “แนวทางการรักษาโรคหลอดเลือด สมองแตก สำหรับแพทย” มีประโยชน และใชงานไดกวางขวางที่สุด จึงจำเปนที่จะตองมีรายละเอียด จำนวนมาก แตกตางจากแนวทางฯ ฉบับอื่นๆ ที่มีอยู เชน แนวทางการรักษาการบาดเจ็บที่ศีรษะ ทั้งนี้ คณะผูจัดทำพยายามที่จะใหมีความกระจางแกผูใชงานใหมากที่สุด เพื่อประโยชนของผูปวยและแพทย เอง จึงมีรูปเลมคอนขางหนาอยางที่เห็นอยูในมือของทานขณะนี้ อยางไรก็ดี นับเปนความพยายามของ คณะผูจัดทำเปนอยางมากที่ไดตั้งใจ ดำเนินการจนแลวเสร็จ สามารถนำไปใชประโยชน ไดยิ่งขึ้นกวา ฉบับที่แลว ขอแสดงความชื่นชมคณะผูจัดทำฯ และคณะทำงานฯ อีกครั้งหนึ่ง ที่ไดผลิตผลงานคุณภาพ อันจะเกิดประโยชนแกผูใช คือ แพทยทั่วๆ ไป ทุกระดับ และหวังวา ผูที่ไดอานแนวทางฉบับนี้ จะไดรับ ประโยชนสมดังความตั้งใจของคณะทำงานทุกประการ (นายมัยธัช สามเสน) ผูอำนวยการสถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข
  • 5. แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย รายนามคณะผูจัดทำ 1. นพ.สมาน ตั้งอรุณศิลป ประธาน สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย 2. น.อ.นพ.ศุภโชค จิตรวาณิช ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทย 3. ศ.นพ.นิพนธ พวงวรินทร ราชวิทยาลัยอายุรแพทยแหงประเทศไทย 4. ศ.พญ.ดิษยา รัตนากร สมาคมประสาทวิทยาแหงประเทศไทย 5. พล.ร.ต.นพ.สินธุชัย ตันสถิตย ร.น. สมาคมประสาทศัลยศาสตรแหงประเทศไทย 6. พล.ต.พญ.จิตถนอม สุวรรณเตมีย สมาคมโรคหลอดเลือดสมองไทย 7. นพ.เอก หังสสูต คณะแพทยศาสตร โรงพยาบาลรามาธิบดี 8. นพ.กฤษณพันธ บุณยะรัตเวช คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 9. ผศ.นพ.รุงศักดิ์ ศิวานุวัฒน คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 10. รศ.พญ.นิจศรี ชาญณรงค คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 11. ผศ.นพ.สุรชัย เคารพธรรม คณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 12. อ.นพ.ธัญญา นรเศรษฐธาดา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 13. อ.นพ.วนรักษ วัชระศักดิ์ศิลป คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม 14. พ.อ.นพ.สามารถ นิธินันทน วิทยาลัยแพทยศาสตรพระมงกุฎเกลา 15. นพ.นันทศักดิ์ ทิศาวิภาต คณะแพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล 16. ศ.นพ.นครชัย เผื่อนปฐม คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร 17. พ.อ.นพ.สิรรุจน สกุลณะมรรคา โรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา กรมแพทยทหารบก 18. น.อ.นพ.ยอดรัก ประเสริฐ โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช กรมแพทยทหารอากาศ 19. นพ.ธีรศักดิ์ พื้นงาม โรงพยาบาลพญาไท 1 20. นพ.วีระวัฒน สุขสงาเจริญ โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม กรมการแพทย 21. นพ.สมเกียรติ โพธิสัตย สำนักพัฒนาวิชาการแพทย กรมการแพทย 22. นพ.พิชิต อนุวุฒินาวิน สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย 23. นพ.พิเชษฐ เมธารักษชีพ สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย 24. นพ.กุลพัฒน วีรสาร สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย 25. นพ.ธีรชัย ผาณิตพงษ สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย 26. น.ส.อิสรี ตรีกมล เลขานุการ สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย ขอขอบคุณ ศ.เกียรติคุณ นพ.อรรถสิทธิ์ เวชชาชีวะ ที่ใหคำแนะนำและเปนที่ปรึกษาในการจัดทำ คณะบรรณาธิการ : นพ.สมาน ตั้งอรุณศิลป
  • 6. แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย คณะทำงานโครงการจัดทำแนวทางเวชปฏิบัติ โรคหลอดเลือดสมองแตก สถาบันประสาทวิทยา กรมการแพทย 1. นพ.วิวัฒน วิริยกิจจา ที่ปรึกษา 2. นพ.มัยธัช สามเสน ที่ปรึกษา 3. นพ.พิชิต อนุวุฒินาวิน ที่ปรึกษา 4. นพ.สมาน ตั้งอรุณศิลป ประธาน 5. ศ.นพ.นครชัย เผื่อนปฐม คณะทำงาน 6. รศ.พญ.นิจศรี ชาญณรงค คณะทำงาน 7. ผศ.นพ.สุรชัย เคารพธรรม คณะทำงาน 8. ผศ.นพ.รุงศักดิ์ ศิวานุวัฒน คณะทำงาน 9. พ.อ.นพ.สิรรุจน สกุลณะมรรคา คณะทำงาน 10. น.อ.นพ.ยอดรัก ประเสริฐ คณะทำงาน 11. นพ.วีระวัฒน สุขสงาเจริญ คณะทำงาน 12. นพ.เอก หังสสูต คณะทำงาน 13. อ.นพ.ธัญญา นรเศรษฐธาดา คณะทำงาน 14. อ.นพ.วนรักษ วัชระศักดิ์ศิลป คณะทำงาน 15. นพ.นันทศักดิ์ ทิศาวิภาต คณะทำงาน 16. นพ.สวิง ปนจัยสีห คณะทำงาน 17. นพ.อนุศักดิ์ เลียงอุดม คณะทำงาน 18. นพ.ประเสริฐ เอี่ยมปรีชากุล คณะทำงาน 19. นพ.ธีระ ตั้งวิริยะไพบูลย คณะทำงาน 20. นพ.วุฒิพงษ ฐิรโฆไท คณะทำงาน 21. นพ.พร นริศชาติ คณะทำงาน 22. นพ.กุลพัฒน วีรสาร เลขานุการ 23. น.ส.อิสรี ตรีกมล ผูชวยเลขานุการ
  • 8. แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย คำนำ โรคหลอดเลือดสมองแตกเปนโรคที่พบบอยโรคหนึ่งของระบบประสาท และเปนสาเหตุการตาย ที่สำคัญในอันดับตนๆ ของประเทศไทย ซึ่งพบไดบอยกวาประเทศทางตะวันตก สถาบันประสาทวิทยา ในฐานะที่เปนสถาบันเฉพาะทางของโรคระบบประสาทไดตระหนักถึงปญหานี้ ในป 2547 จึงไดระดม คณะแพทยผูเชี่ยวชาญจากราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทย ราชวิทยาลัยอายุรแพทย แหงประเทศไทย สมาคมประสาทวิทยาแหงประเทศไทย สมาคมประสาทศัลยศาสตรแหงประเทศไทย สมาคมโรคหลอดเลือดสมองไทย สำนักพัฒนาวิชาการแพทย กรมการแพทย กระทรวงสาธารณสุข และคณะแพทยศาสตรของมหาวิทยาลัยตางๆ ทั่วประเทศ เพื่อจัดทำแนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือด สมองแตก สำหรับการดูแลรักษาผูปวยใหมีประสิทธิภาพเหมาะสมกับแตละพื้นที่ ทำใหประชาชนมี หลักประกันในการรับบริการที่มีคุณภาพดีขึ้น และในป 2550 ไดมีการสำรวจความคิดเห็นของผูใช แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย พบวา ยังมีขอมูลบางประการที่เปนปญหา และอุปสรรคในการปฏิบัติ ประกอบกับมีขอมูลหลักฐานทางวิทยาศาสตรใหมๆ เพิ่มขึ้น ในป 2551 สถาบันประสาทวิทยาจึงไดเรียนเชิญแพทยผูเชี่ยวชาญจากสถาบันตางๆ มารวมกันพิจารณาปรับปรุง แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย ใหทันเหตุการณและสภาวะที่เปลี่ยนไป คณะผูจัดทำ
  • 9.
  • 10. แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย สารบัญ หนา บทนำ 1 บทที่ 1 แนวทางการบำบัดรักษาโรคหลอดเลือดสมองแตก 3 (Guidelines for the Management of Hemorrhagic Stroke) บทที่ 2 การบำบัดรักษาทางศัลยกรรมของโรคหลอดเลือดสมองแตก 8 (Surgical Management of Hemorrhagic Stroke) บทที่ 3 การบำบัดรักษาทางอายุรกรรมในระยะแรกของโรคหลอดเลือดสมองแตก 21 (Medical Management in Acute Phase of Hemorrhagic Stroke) เอกสารอางอิง 22 ภาคผนวก 1. การคำนวณปริมาตรของกอนเลือด (Calculation of Volume of Hematoma) 29 2 การประเมินผูปวย การเฝาระวัง และติดตาม 30 3. CT scan of Normal Brain 32 4. การวินิจฉัย Hydrocephalus จาก CT Brain (Diagnosis of Hydrocephalus by CT brain) 33 5. CT brain of Hemorrhagic Stroke 34 6. ปจจัยที่มีผลตอการรักษา (Factors affect outcome) 37 7. ความเสี่ยงที่ขนาดของกอนเลือดใหญขึ้นหลังจากทำ CT scan ครั้งแรก 38 (Risk of hematoma expansion after initial CT Scan) 8. ตัวอยางกรณีศึกษา (case study) 39
  • 11. แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย สารบัญแผนภูมิ หนา แผนภูมิที่ 1. การบำบัดรักษาเบื้องตนและการวินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมอง 4 (Initial Management and Diagnosis of Stroke ) แผนภูมิที่ 2. การแยกโรคหลอดเลือดสมองแตกตามตำแหนง 6 (Classification of Hemorrhagic Stroke by Location) แผนภูมิที่ 3. การบำบัดรักษา Lobar Hemorrhage 9 (Management of Lobar Hemorrhage) แผนภูมิที่ 4. การบำบัดรักษาโรคหลอดเลือดสมองแตกในตำแหนง Basal Ganglia 12 (Management of Basal Ganglia Hemorrhage) แผนภูมิที่ 5. การบำบัดรักษาโรคหลอดเลือดสมองแตกในตำแหนง Thalamus 14 (Management of Thalamic Hemorrhage) แผนภูมิที่ 6. การบำบัดรักษาโรคหลอดเลือดสมองแตกในตำแหนงสมองนอย 16 (Management of Cerebellar Hemorrhage) แผนภูมิที่ 7. การบำบัดรักษาโรคหลอดเลือดสมองแตกที่ตำแหนง Brainstem 17 (Management of Brainstem Hemorrhage) แผนภูมิที่ 8. การบำบัดรักษาโรคหลอดเลือดสมองแตกใน Subarachnoid Space 19 (Management of Subarachnoid Hemorrhage)
  • 12. แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย สารบัญตาราง หนา ตารางที่ 1. ระดับคำแนะนำอิงคุณภาพของหลักฐาน 25 (Strength of Recommendation) ตารางที่ 2. สรุปการตรวจวินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมองแตก 25 (Diagnosis of Hemorrhagic Stroke) ตารางที่ 3. การบำบัดรักษาทางอายุรกรรมของโรคหลอดเลือดสมองแตก 26 (Medical Management in Acute Phase of Hemorrhagic Stroke) ตารางที่ 4. การรักษาภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง 27 (Treatment of Increased Intracranial Pressure) ตารางที่ 5. แนวทางการปรึกษาประสาทศัลยแพทยในเรื่องโรคหลอดเลือดสมองแตก 28 (Guidelines for Neurosurgical Consultation in Hemorrhagic Stroke)
  • 13.
  • 14. 1แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย บทนำ โรคหลอดเลือดสมอง (stroke, cerebrovascular disease) เปนโรคที่พบบอยในประชากร สูงอายุทั่วโลก ในประเทศทางตะวันตก พบเปนสาเหตุการตายอันดับสาม1 ในประเทศจีน ญี่ปุน พบเปน สาเหตุการตายอันดับหนึ่ง2,3 สำหรับประเทศไทย จากสถิติสาธารณสุข พ.ศ.2549 (Public Health Statistics A.D.2006)4 พบวา โรคหลอดเลือดสมองเปนสาเหตุการเสียชีวิตอันดับที่ 5 ในประชากรไทย (20.6 รายตอประชากรหนึ่งแสน) และมีแนวโนมวาจะเพิ่มสูงขึ้น สอดคลองกับรายงานการศึกษาที่ เปนการศึกษารวมกันระหวางกระทรวงสาธารณสุขและองคการอนามัยโลก พบวา โรคหลอดเลือดสมอง เปนสาเหตุการเสียชีวิตที่สำคัญอันดับ 1 ในเพศหญิงและอันดับ 2 ในเพศชาย นอกจากนี้ยังพบวาโรค หลอดเลือดสมองยังเปนสาเหตุของการสูญเสียปสุขภาวะ (Disability Adjusted Life Year) ที่สำคัญ อันดับที่ 2 ทั้งในชายและหญิง5 องคการอนามัยโลกไดใหคำจำกัดความของโรคหลอดเลือดสมองไวดังนี้ Stroke means “ rapidly developed clinical signs of focal (global) disturbance of cerebral function lasting more than 24 hours or leading to death, with no apparent cause other than a vascular origin.” 6 เนื่องจากความแตกตางในดานบุคลากรและความพรอมของเครื่องมือทางการแพทยที่มี หลายประเภท รวมทั้งการกระจายที่ไมเหมาะสม7 จึงมีเวชปฏิบัติไมเหมือนกันทั้งดานการวินิจฉัยและ รักษาโรคนี้ ดังนั้นการจัดทำแนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย จึงเปนวิธีการ ที่เหมาะสม เพื่อสามารถนำไปปฏิบัติไดถูกตองและเปนมาตรฐานทั่วประเทศ คณะผูจัดทำไดปรับปรุงเนื้อหาหลายสวนในฉบับนี้ เชน - เพิ่มประวัติตรวจรางกายทางคลินิกชวยแยกโรคหลอดเลือดสมอง กับ โรคที่ไมใชหลอดเลือดสมอง แตไมสามารถแยกโรคหลอดเลือดสมองแตกกับตีบตันไดแนนอน จึงแนะนำสง CT brain (computerized tomography brain) เพื่อการวินิจฉัยที่ถูกตองแมนยำ ซึ่งปจจุบันนี้ โรงพยาบาลเกือบทุกจังหวัดมี CT scan แลว และไดยกเลิก Siriraj Stroke Score - Cerebellar hemorrhage ไดปรับขั้นตอนใหกระชับ โดยใหปรึกษาประสาทศัลยแพทย เพื่อใหการบำบัดรักษาไดเร็วขึ้น - Subarachnoid hemorrhage ไดปรับปรุงขั้นตอนใหดูงายขึ้น - การรักษาภาวะความดันโลหิตสูง ไดระบุตัวเลขความดันโลหิตใหต่ำลง ตามขอมูล เชิงประจักษที่สนับสนุน - ระบุปจจัยที่มีผลตอการรักษาเพื่อเปนแนวทางในการแนะนำผูปวยและญาติ - เพิ่มตัวอยางการบำบัดรักษาผูปวยโรคหลอดเลือดสมอง เพื่อเพิ่มความเขาใจในการใช แนวทางเวชปฏิบัติไดดีขึ้น การจัดทำแนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทยนี้ อาศัยหลักฐานทาง วิชาการที่ไดตีพิมพแลว โดยแบงระดับคำแนะนำอิงคุณภาพของหลักฐาน (strength of recommendation) เปน 3 ระดับ คือ A, B, C (ตารางที่ 1 หนา 25)
  • 15. 2 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทยนี้ แบงออกเปน 3 ขั้นตอนดังนี้ 1. แนวทางการวินิจฉัยวาเปนโรคหลอดเลือดสมอง (ดูแผนภูมิที่ 1) 2. แนวทางการวินิจฉัยชนิดและสาเหตุของโรคหลอดเลือดสมองแตก (ดูแผนภูมิที่ 2-8) 3. แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตกที่เหมาะสม (ดูแผนภูมิที่ 2-8) เนื้อหาของแนวทางเวชปฏิบัติฉบับนี้ประกอบดวย แผนภูมิ คำอธิบาย เอกสารอางอิง ตาราง ภาคผนวก และตัวอยางกรณีศึกษา
  • 16. 3แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย บทที่ 1 แนวทางการบำบัดรักษาโรคหลอดเลือดสมองแตก (Guidelines for the Management of Hemorrhagic Stroke) โรคหลอดเลือดสมองแตก (hemorrhagic stroke) เปนโรคที่พบบอยในแถบภูมิภาคเอเซีย มากกวาภูมิภาคทางตะวันตก โดยมีอุบัติการณสูงถึงรอยละ 25-35 ของโรคหลอดเลือดสมอง8 ภาวะนี้ เปนสาเหตุการตายและความพิการอันดับตนๆ โดยเฉพาะในผูสูงอายุ แมวามีการศึกษาแบบ randomized double-blinded controlled trials สำหรับ ischemic stroke เปนจำนวนมากกวา 300 รายงาน9 แตใน hemorrhagic stroke มีเพียง 8 รายงานเทานั้น10,11,12,13,14,15,16,17 ดวยขอจำกัดใน หลักฐานทางวิทยาศาสตร ทำใหการกำหนดระดับคำแนะนำอิงคุณภาพเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองแตก อยูในระดับ A ถึง C แตกตางกันไปตามแตละหัวขอ จึงตองมีการวิจัยและพัฒนาเพื่อใหไดคำตอบ ที่ดีขึ้นตอไป
  • 17. 4 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย แผนภูมิที่ 1 การบำบัดรักษาเบื้องตนและการวินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมอง ( Initial Management and Diagnosis of Stroke) ดูแนวทางการรักษาโรค หลอดเลือดสมองตีบหรือ อุดตัน สำหรับแพทย ปรึกษาประสาท ศัลยแพทย ดูแนวทางการรักษาโรค หลอดเลือดสมองตีบ หรืออุดตัน สำหรับแพทย ดูแผนภูมิที่ 2 (หนา 6) หมายเหตุ *ตรวจรางกายผูปวยเพื่อดูวามีอาการรุนแรง (GCS < 8, signs of brain herniation, hypoxia, เสี่ยงตอการสำลัก) หรือไม เพื่อพิจารณาให advanced life support กอนการสืบคนโรค Sudden onset of neurological deficit with suspicious of stroke Clinical assessment & grading* Advanced life support & emergency lab. CT Brain No มีรังสีแพทยอานคอมพิวเตอร Yes Normal / Hypodensity Hyperdensity/Mass Ischemic stroke / Others Hemorrhagic Stroke
  • 18. 5แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย คำอธิบายแผนภูมิที่ 1 ผูปวยทุกคนที่มาโรงพยาบาลดวยอาการ sudden neurological deficit ตองตรวจ vital signs, neurological signs เพื่อประเมินวาตองให emergency advanced life support หรือไม ดู airway, ventilation เพียงพอหรือไม โดยเฉพาะผูปวยที่มีระดับความรูสึกตัวต่ำ Glasgow Coma Scale (GCS) score < 8 หรือ เสี่ยงตอการเกิด aspiration ควรไดรับการใสทอชวยหายใจ พรอมกับ สง emergency laboratory tests (CBC, BS, BUN, Cr, electrolytes) ซักประวัติและตรวจ รางกายที่เกี่ยวของ เชน การบาดเจ็บที่ศีรษะ ดื่มสุรา ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคเลือด โรคตับ โรคไต การใชยา anticoagulants ยาเสพติด เพื่อแยกภาวะอื่นที่ไมใช โรคหลอดเลือดสมอง (extracranial cause) ออก จากการศึกษาพบวา ถาผูปวยมีอาการ “ Sudden onset of persistent focal neurological deficit and no history of head trauma ” จะมี probability of stroke 80% 18 เมื่อสงสัยวาเปน acute stroke ควรไดรับการตรวจ CT brain ทุกราย9 เพื่อแยกโรควาเปน ischemic หรือ hemorrhagic stroke จากการศึกษาพบวาถาผูปวยมีระดับความรูสึกตัวลดลง อาเจียน ปวดศีรษะอยางรุนแรง ความ ดันโลหิต (systolic blood pressure) มากกวา 220 ม.ม.ปรอท ระดับน้ำตาลในเลือดมากกวา 170 ม.ก./ดล. (ในผูปวยที่ไมมีประวัติเบาหวาน) หรือมีประวัติไดรับยา warfarin มีโอกาสเปน hemorrhagic stroke มากกวา ischemic stroke19 ซึ่งอาจจะใชเปนแนวทางเบื้องตนในการวินิจฉัยแยกโรค ระหวาง ischemic และ hemorrhagic stroke อยางไรก็ตามการตรวจดวย CT brain จะชวยแยกโรคได แนนอนกวา ในกรณีที่ CT brain เขาไดกับ ischemic stroke ใหการรักษาตามแนวทางการรักษาโรค หลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน สำหรับแพทย20 ตอไป แตถาเปน hemorrhagic stroke ใหปฏิบัติตาม แผนภูมิที่ 2
  • 19. 6 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย แผนภูมิที่ 2 การแยกโรคหลอดเลือดสมองแตกตามตำแหนง ( Classification of Hemorrhagic Stroke by Location ) หมายเหตุ ICH = Intracerebral hemorrhage IVH = Intraventricular hemorrhage Lobar = ICH in cortical or subcortical area Non-lobar = ICH in basal ganglia, thalamus, brain stem, cerebellum SAH = Subarachnoid hemorrhage Primary IVH = IVH Primary SAH = SAH only ICH ดูแผนภูมิที่ 3-7 (หนา 9,12,14,16,17) ICH & IVH ดูแผนภูมิที่ 3-7 (หนา 9,12,14,16,17) Primary SAH ควรปรึกษาประสาทศัลยแพทย Primary IVH ควรปรึกษาประสาทศัลยแพทย SAH & ICH ควรปรึกษาประสาทศัลยแพทย SAH & IVH ควรปรึกษาประสาทศัลยแพทย * ใหพิจารณาวาอะไรเปน primary hemorrhage Hemorrhagic stroke SAH IVH ICH Primary SAH SAH & ICH* LobarLobarNon-lobarSAH & IVH* Primary IVH ICH & IVH* ปรึกษาประสาทศัลยแพทย ปรึกษาประสาทศัลยแพทย ดูแผนภูมิที่ 3-7
  • 20. 7แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย คำอธิบายแผนภูมิที่ 2 แพทยผูรักษาตองพยายามหาสาเหตุของโรคหลอดเลือดสมองแตกทุกราย โดยดูจากตำแหนง ของเลือด ใน CT brain รวมกับ อายุ ประวัติความดันโลหิตสูงและโรคที่เปนรวม เมื่อพิจารณาจาก CT brain สามารถแบง hemorrhagic stroke ตามตำแหนงของเลือดที่ออกไดเปน 3 กลุม คือ subarachnoid hemorrhage (SAH), intraventricular hemorrhage (IVH), intracerebral hemorrhage (ICH) แตบางครั้งอาจพบมากกวา 1 ตำแหนง ใหพิจารณาตำแหนงที่เลือดออก และให บำบัดรักษาไปตามตำแหนงนั้น ๆ
  • 21. 8 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย บทที่ 2 การบำบัดรักษาทางศัลยกรรมของโรคหลอดเลือดสมองแตก (Surgical Management of Hemorrhagic Stroke) การบำบัดรักษาทางศัลยกรรมของโรคหลอดเลือดสมองแตกที่สำคัญ คือ การผาตัด เพื่อนำกอนเลือดออก และ/หรือ ผาตัด arteriovenous malformation (AVM), aneurysm เพื่อลดความดันในกะโหลกศีรษะ สำหรับการ ผาตัดกอนเลือดที่อยูลึก อาจทำใหเกิดภาวะสมองบวมเพิ่มมากขึ้น ผลการรักษาจึงไมดี ดังนั้น การพิจารณาผาตัด จำเปนตองมีขอบงชี้ที่ชัดเจน
  • 22. 9แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย แผนภูมิที่ 3 การบำบัดรักษา Lobar Hemorrhage (Management of Lobar Hemorrhage) หมายเหตุ การคำนวณปริมาตรกอนเลือด = 0.524 × X × Y × Z มิลลิลิตร (X,Y,Z = ความยาวของเสนผาศูนยกลางของกอนเลือดในแนวแกน X,Y,Z หนวยเปน เซนติเมตร)21 * ใหวินิจฉัยแยกภาวะที่มีสาเหตุมาจากนอกสมอง (extracranial cause) ไวดวย ถาไมพบสาเหตุดูภาคผนวก 2 GCS = Glasgow Coma Scale HCP = Hydrocephalus IVH = Intraventricular hemorrhage SAH = Subarachnoid hemorrhage Hematoma มีโอกาสขยายใหญขึ้นกวาที่ตรวจพบจากการทำ CT brain ครั้งแรก ถาทำ CT brain ภายใน 24 ชั่วโมงหลัง onset22 (ดูภาคผนวก 7) Lobar hemorrhage Criteria for neurosurgical consultation 1. GCS < 13 2. Volume of hematoma > 30 ml. 3. Midline shift > 0.5 cm. HCP or IVH with HCP or SAH or Temporal lobe Criteria > 2 Criteria < 2 Medical treatment Worse* Improved ปรึกษา ประสาทศัลยแพทย ถาพบ 1. CT brain สงสัยมี abnormal vessels 2. ผูปวยอายุ < 45 ป 3. ไมมีประวัติความดันโลหิตสูง Discharge
  • 23. 10 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย คำอธิบายแผนภูมิที่ 3 Lobar hemorrhage หมายถึง intracerebral hemorrhage (ICH) ที่อยูในตำแหนง cortical หรือ subcortical ไดแก frontal, temporal, parietal, occipital lobes สาเหตุของเลือด ที่ออกบริเวณนี้สวนใหญไมใชเกิดจากความดันโลหิตสูง แตมีสาเหตุอื่น เชน cerebral amyloid angiopathy, aneurysm, AVM เปนตน หากพบขอบงชี้ > 2 ขอ ไดแก GCS < 1323,24 , volume > 30 ml.25 , midline shift > 0.5 cm.26 ควรปรึกษาประสาทศัลยแพทย ถาพบขอบงชี้เพียง 1 ขอ ใหรักษาแบบ ประคับประคอง โดยการใหสารน้ำ เกลือแร และยาตางๆ (medical treatment) หากผูปวยอาการเลวลง ควรปรึกษาประสาทศัลยแพทย แตถาอาการดีขึ้น และผูปวยอายุ < 45 ปหรือไมมีประวัติความดัน โลหิตสูงหรือ CT brain สงสัยวามี abnormal blood vessels ควรปรึกษาประสาทศัลยแพทยเพื่อ การตรวจวินิจฉัยและการบำบัดรักษาที่เหมาะสม เชน สงตรวจ cerebral angiography27,28,29 เปนตน สำหรับกอนเลือดที่ตำแหนง temporal lobe มีโอกาสที่จะเกิด early brain herniation25 ดังนั้นควรปรึกษาประสาทศัลยแพทย
  • 24. 11แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย การบำบัดรักษา Non-Lobar Hemorrhage (Management of Non-Lobar Hemorrhage) Non-lobar hemorrhage หมายถึง intracerebral hemorrhage ที่ basal ganglia (สวน ใหญเปนที่ putamen), thalamus, cerebellum, brainstem (สวนใหญเปนที่ pons) ถามีประวัติ ความดันโลหิตสูง หรือเคยเปน stroke มากอน และอายุมากกวา 45 ป มักจะเปน hypertensive hemorrhage 27,28 แตผูปวยที่อายุนอยกวา 45 ป หรือผูปวยที่มีความผิดปกติอื่นๆ ใน CT brain ควร ทำการตรวจวินิจฉัยโรคเพิ่มเติม
  • 25. 12 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย Basal ganglia hemorrhage* Criteria for neurosurgical consultation 1. GCS < 13 2. Volume of hematoma > 30 ml. 3. Midline shift > 0.5 cm. HCP or IVH with HCP or SAH Criteria > 2 Criteria < 2 Medical treatment Worse** Improved ปรึกษา ประสาทศัลยแพทย Discharge แผนภูมิที่ 4 การบำบัดรักษาโรคหลอดเลือดสมองแตกในตำแหนง Basal Ganglia (Management of Basal Ganglia Hemorrhage) หมายเหตุ การคำนวณปริมาตรกอนเลือด = 0.524 × X × Y × Z มิลลิลิตร (X,Y,Z = ความยาวของเสนผาศูนยกลางของกอนเลือดในแนวแกน X,Y,Z หนวยเปน เซนติเมตร)21 *Basal ganglia hemorrhage หมายถึง กอนเลือดที่ตำแหนง putamen, globus pallidus และ caudate nucleus (ดูภาคผนวกที่ 5 หนา 34) ** ดูภาคผนวก 2 GCS = Glasgow Coma Scale HCP = Hydrocephalus IVH = Intraventricular hemorrhage SAH = Subarachnoid hemorrhage
  • 26. 13แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย คำอธิบายแผนภูมิที่ 4 Basal ganglia hemorrhage แบงออกเปนสองกลุม หากพบขอบงชี้ > 2 ขอ ไดแก GCS < 13, volume > 30 ml.30 , midline shift > 0.5 cm.26 ควรปรึกษาประสาทศัลยแพทย แตถาขอบงชี้ < 2 ขอ ใหรักษาแบบประคับประคอง โดยการใหสารน้ำ เกลือแร และยาตางๆ หากผูปวยอาการเลวลง จึง ปรึกษาประสาทศัลยแพทย
  • 27. 14 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย แผนภูมิที่ 5 การบำบัดรักษาโรคหลอดเลือดสมองแตกในตำแหนง Thalamus (Management of Thalamic Hemorrhage) Thalamic hemorrhage Criteria for neurosurgical consultation 1. GCS < 13 2. Volume of hematoma > 10 ml. 3. Midline shift > 0.5 cm. HCP or IVH with HCP Criteria > 2 Criteria < 2 Medical treatment Worse** Improved ปรึกษา ประสาทศัลยแพทย Discharge หมายเหตุ การคำนวณปริมาตรกอนเลือด = 0.524 × X × Y × Z มิลลิลิตร (X,Y,Z = ความยาวของเสนผาศูนยกลางของกอนเลือดในแนวแกน X,Y,Z หนวยเปน เซนติเมตร)21 * ดูภาคผนวก 2 GCS = Glasgow Coma Scale HCP = Hydrocephalus IVH = Intraventricular hemorrhage
  • 28. 15แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย คำอธิบายแผนภูมิที่ 5 Thalamic hemorrhage หากพบขอบงชี้ > 2 ขอ ไดแก GCS < 13, volume > 10 ml.31,32 , midline shift > 0.5 cm. และ/หรือมี hydrocephalus (HCP) ควรปรึกษาประสาทศัลยแพทย แตถาขอบงชี้ < 2 ขอ และไมมี hydrocephalus ใหรักษาแบบประคับประคอง โดยการใหสารน้ำ เกลือแร และยาตางๆ ในกรณีที่ผูปวยมีอาการเลวลงจึงปรึกษาประสาทศัลยแพทย
  • 29. 16 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย แผนภูมิที่ 6 การบำบัดรักษาโรคหลอดเลือดสมองแตกในตำแหนงสมองนอย (Management of Cerebellar Hemorrhage) *การสงตัวผูปวย (refer case) ผูปวยอาจจะหยุดหายใจในขณะเดินทางได ฉะนั้น ตองเตรียมเครื่องมือเพื่อชวยการหายใจใหพรอม คำอธิบายแผนภูมิที่ 6 Cerebellar hemorrhage อาจจะมีอาการไมชัดเจน เมื่อเปรียบเทียบกับ hemorrhagic stroke ในตำแหนงอื่น ๆ เชน ผูปวยอาจจะมาดวยอาการอาเจียนหรือเวียนศีรษะ แตไมมีออนแรง ทำใหการวินิจฉัยโดยประวัติและตรวจรางกายลำบาก แพทยควรตระหนักถึงภาวะนี้ในผูปวยที่มีปจจัย เสี่ยงของ hemorrhagic stroke Cerebellar hemorrhage อาจทำใหผูปวยเสียชีวิตไดโดยเร็ว เนื่องจากมีการกดกานสมอง หรือทำใหเกิดภาวะ hydrocephalus แนะนำใหปรึกษาประสาทศัลยแพทยเพื่อการรักษาที่เหมาะสม ตอไป การสงตอผูปวย ตองเตรียมเครื่องมือเพื่อชวยการหายใจใหพรอม เนื่องจากผูปวยอาจจะหยุด หายใจในขณะเดินทางได ปรึกษา* ประสาทศัลยแพทย Cerebellar hemorrhage
  • 30. 17แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย แผนภูมิที่ 7 การบำบัดรักษาโรคหลอดเลือดสมองแตกที่ตำแหนง Brainstem (Management of Brainstem Hemorrhage) Brainstem hemorrhage* Criteria for neurosurgical consultation 1. GCS < 13 2. HCP 3. IVH with HCP 4. Repeated episodes** Criteria > 1 Criteria = 0 Medical treatment Worse** Improved ปรึกษา ประสาทศัลยแพทย Discharge หมายเหตุ GCS = Glasgow Coma Scale HCP = Hydrocephalus IVH = Intraventricular hemorrhage *ใหดู signs ของ brainstem dysfunction ในภาคผนวก 2 หนา 31 **Repeated episodes หมายความวาเกิด Brainstem hemorrhage ซ้ำที่ตำแหนงเดิม
  • 31. 18 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย คำอธิบายแผนภูมิที่ 7 Brainstem hemorrhage มักพบมากที่ตำแหนง pons ไมควรผาตัดเพราะมีความเสี่ยงสูง ถา GCS < 13 หรือมี hydrocephalus (HCP) หรือ intraventricular hemorrhage with HCP ควร ปรึกษาประสาทศัลยแพทยเพื่อพิจารณาใหการรักษาตอ หรือ หลอดเลือดแตกซ้ำที่ตำแหนงเดิม (repeated episodes) อาจเกิดจาก cavernous angioma ควรปรึกษาประสาทศัลยแพทย เพื่อ พิจารณาตรวจเพิ่มเติม และใหการรักษาตอไป ถา GCS > 13 และไมมี hydrocephalus ใหรักษา แบบประคับประคอง โดยการใหสารน้ำ เกลือแร และยาตางๆ
  • 32. 19แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย แผนภูมิที่ 8 การบำบัดรักษาโรคหลอดเลือดสมองแตกใน Subarachnoid Space (Management of Subarachnoid Hemorrhage) Clinical suspicion of SAH CT brain Negative for SAHOther diagnosis Positive for SAH +- ICH / IVH LP for CSF analysis Normal or Other diagnosis SAH (persistent RBC +/- xanthochromia) Appropriate management ปรึกษาประสาทศัลยแพทย หมายเหตุ CSF = Cerebrospinal fluid LP = Lumbar puncture CT brain = Computer tomography brain RBC = Red blood cell ICH = Intracerebral hemorrhage SAH = Subarachnoid hemorrhage IVH = Intraventricular hemorrhage
  • 33. 20 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย คำอธิบายแผนภูมิที่ 8 Subarachnoid hemorrhage (SAH) หมายถึง เลือดออกใน subarachnoid space ทำใหผูปวยมีอาการปวดศีรษะอยางรุนแรงขึ้นทันทีทันใด อาจมีหมดสติหรือไมมีก็ได ตรวจรางกายพบมี คอแข็ง ซึ่งอาจตองแยกจากโรคเยื่อหุมสมองอักเสบ สาเหตุของ SAH ไดแก ruptured aneurysm, ruptured AVM, blood dyscrasia, head injury, parasite เปนตน ผูปวยที่มีอาการสงสัย SAH ใหสงตรวจ CT brain ถา CT brain ไมพบ SAH ใหเจาะตรวจ น้ำไขสันหลัง หากผลเขาไดกับ SAH ซึ่งไมไดเกิดจาก parasite ควรปรึกษาประสาทศัลยแพทย ในกรณีผูปวยที่มีประวัติสงสัย SAH แตระยะเวลาหลังจากปวดศีรษะครั้งแรกนานเกิน 2 สัปดาห การทำ CT brain และการตรวจน้ำไขสันหลังอาจจะใหผลปกติ แนะนำใหสงตรวจเพิ่มเติม
  • 34. 21แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย บทที่ 3 การบำบัดรักษาทางอายุรกรรมในระยะแรกของโรคหลอดเลือดสมองแตก (Medical Management in Acute Phase of Hemorrhagic Stroke) การบำบัดรักษาความดันโลหิตสูง (Blood Pressure Management) โดยทั่วไปจะไมใหยาลดความดันโลหิตในผูปวยโรคหลอดเลือดสมองแตกในระยะแรก ยกเวนใน รายที่มีความดันโลหิตสูงมาก ซึ่งอาจทำใหขนาดของกอนเลือดใหญขึ้น33,34,35 จึงพิจารณาใหยา ดังรายละเอียดในตารางที่ 3 การบำบัดรักษาอุณหภูมิรางกาย (Management of Body Temperature) ในระยะแรกผูปวยโรคหลอดเลือดสมองแตกมักมีไขสูง กรณีที่อุณหภูมิรางกายสูงมาก จะมีผล ตอ brain metabolism ทำใหการพยากรณโรคเลวลง36 ดังนั้น ถาผูปวยมีไข ควรใหการรักษาดังรายละเอียด ในตารางที่ 3 การบำบัดรักษาระดับน้ำตาลในเลือด (Management of Blood Glucose) ในระยะแรกผูปวยโรคหลอดเลือดสมองแตก อาจตรวจพบระดับน้ำตาลในเลือดสูงกวาปกติ ซึ่ง อาจจะเกิดจาก stress หรือ ผูปวยเปนโรคเบาหวานเดิม การที่ระดับน้ำตาลในเลือดสูงมาก ทำใหอัตรา ตายเพิ่มขึ้น37 ฉะนั้น หากระดับน้ำตาลในเลือด > 140 มก./ดล. ควรพิจารณาใหยารักษาเบาหวาน การปองกันอาการชัก (Prevention of Seizure) ในผูปวยที่มีอาการชัก ควรใหยากันชักทุกราย ในผูปวยที่มี lobar hemorrhage อาจพิจารณาใหยาเพื่อปองกันชัก38 การใหสารน้ำและเกลือแร ควรใหสารน้ำที่เปน isotonic solution เชน normal saline โดยใหปริมาณที่พอเหมาะ กับผูปวยแตละรายดังตารางที่ 3 และรักษาระดับเกลือแรใหอยูในเกณฑปกติ การบำบัดรักษาความดันในกะโหลกศีรษะสูง (Management of increased intracranial pressure) กรณีที่สงสัยมีความดันในกะโหลกศีรษะสูง เชน ผูปวยปวดศีรษะรุนแรง ซึมลง อาเจียน เห็น ภาพซอน รูมานตาขยาย ชีพจรชา pulse pressure กวาง เปนตน ใหการรักษาภาวะความดันใน กะโหลกศีรษะสูงดังรายละเอียดในตารางที่ 4 และปรึกษาประสาทศัลยแพทย
  • 35. 22 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย เอกสารอางอิง 1. นิพนธ พวงวรินทร. Epidemiology of stroke. ใน: นิพนธ พวงวรินทร, บก.โรคหลอดเลือดสมอง (stroke) ฉบับเรียบเรียงครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: เรือนแกวการพิมพ, 2544: 1-37. 2. Zhang LF, Yang J, Hong Z, Yuan GG, Zhou BF, Zhao LC, et al. Proportion of different subtypes of stroke in China. Stroke 2003; 34: 2091-6. 3. Shimamoto T, Iso H, Iida M, Komachi Y. Epidemiology of cerebrovascular disease : stroke epidemic in Japan. J Epidemiol 1996; 6(Suppl III): S43-47. 4. Ministry of public health. Burden of disease and injuries in Thailand Priority setting for policy. 2005. 73-5, 82. 5. Ministry of public health. Burden of disease and injuries in Thailand Priority setting for policy. 2002; A14-6,58. 6. World Health Organization Meeting on Community Control of Stroke and Hypertension. Control of stroke in the community: methodological considerations and protocol of WHO stroke register. CVD/s/73.6 Geneva: WHO, 1973. 7. สมเกียรติ โพธิสัตย. Technology assessment. ใน: สมเกียรติ โพธิสัตย, บก.การประเมิน เทคโนโลยีทางการแพทย ฉบับปรับปรุง. กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพองคการทหารผานศึก, 2546: 5. 8. Poungvarin N. Stroke in the developing world. Lancet 1998; 50(Suppl III): 19-22. 9. Broderick JP, Adams HP, Barsan W, Feinberg W, Feldmann E, Grotta J, et al. Guidelines for themanagementofspontaneousintracerebral hemorrhage.Stroke1999;30:905-15. 10. McKissock W, Richardson A, Taylor J. Primary intracerebral hemorrhage: a controlled trial of surgical and conservative treatment in 180 unselected cases. Lancet 1961; 2: 221-6. 11. Zuccarello M, Brott T, Derex L, Kothari R, Tew J, Loveren HV, et al. Early surgical treatment for supratentorial intracerebral hemorrhage: a randomized feasibility study. Stroke 1999; 30: 1833-9. 12. Juvela S, Heiskanen O, Poranen A, Valtonen S, Kuurne T, Kaste M, Troupp H. The treatment of spontaneous intracerebral hemorrhage: a prospective randomized trial of surgical and conservative treatment. J Neurosurg 1989; 70: 755-8. 13. Batjer HH, Reisch JS, Allen BC, Plaizier LJ, Su CJ. Failure of surgery to improve outcome in hypertensive putaminal hemorrhage: a prospective randomized trial. Arch Neurol 1990; 47: 1103-6. 14. Morgenstern LB, Frankowski RF, Shedden P, et al. Surgical treatment of intracerebral hemorrhage (STICH) : a single-center, randomized clinical trial. Neurology 1998; 51: 1359-63. 15. Mendelow AD, Gregson BA, Fernandes HM, Murray GD, Teasdale GM, Hope DT, Karimi A, Shaw MD, Barer DH; STICH investigators.Early surgery versus initial conservative treatment in patients with spontaneous supratentorial intracerebral haematomas in the International Surgical Trial in Intracerebral Haemorrhage (STICH): a randomised trial. Lancet. 2005 Jan 29-Feb 4; 365(9457): 387-97.
  • 36. 23แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย 16. Prasad KS, Gregson BA, Bhattathiri PS, Mitchell P, Mendelow AD; STICH Investigators.The significance of crossovers after randomization in the STICH trial.Acta Neurochir Suppl. 2006; 96: 61-4. 17. Pantazis G, Tsitsopoulos P, Mihas C, Katsiva V, Stavrianos V, Zymaris S.Early surgical treatment vs conservative management for spontaneous supratentorial intracerebral hematomas: A prospective randomized study.Surg Neurol. 2006 Nov; 66(5): 492-501; discussion 501-2. 18. von Arbin M, Britton M, De Faire U, Helmers C, Miah K, Murray V. Validation of admission criteria to a stroke unit. J Chronic Dis. 1980; 33: 215-20. 19. Panzer RJ, Feibel JH, Barker WH, Griner PF. Predicting the likelihood of hemorrhage in patients with stroke. Arch Intern Med. 1985;145:1800-3. 20. แนวทางการรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน สำหรับแพทย ฉบับที่ 1 (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร : สถาบันประสาทวิทยา; 2545: 1-28. 21. Broderick JP, Brott TG, Duldner JE, Tomsick T, Huster G. Volume of intracerebral hemorrhage, a powerful and easy-to-use predictor of 30-day mortality. Stroke 1993; 24: 987-93. 22. Kazui S, Naritomi H, Yamamoto H, Sawada T, Yamaguchi T. Enlargement of Spontaneous Intracerebral Hemorrhage. Stroke. 1996; 27: 1783-87 23. Flemming KD, Wijdicks EF, Li H. Can we predict poor outcome at presentation in patients with lobar hemorrhage?. Cerebrovasc Dis 2001; 11: 183-9. 24. Flemming KD, Wijdicks EF, St Louis EK, Li H. Predicting deterioration in patients with lobar haemorrhages. J Neurol Neurosurg Psychiatry 1999; 66: 600-5. 25. Andrews BT, Chiles BW 3rd, Olsen WL, Pitts LH. The effect of intracerebral hematoma location on the risk of brain-stem compression and on clinical outcome. J Neurosurg 1988; 69: 518-22. 26. Sakas DE, Singounas EG, Karvounis PC. Spontaneous intracerebral haematomas: surgical versus conservative treatment based on Glascow Coma Scale score and computer tomography data.J Neurosurg Sci 1989; 33: 165-72. 27. Zhu XL, Chan MS, Poon WS. Spontaneous intracranial hemorrhage: which patients need diagnostic cerebral angiography? A prospective study of 206 cases and review of the literature. Stroke 1997; 28: 1406-9. 28. Loes DJ, Smoker WR, Biller J, Cornell SH. Nontraumatic lobar intracerebral hemorrhage: CT/angiographic correlation. Am J Neuroradiol 1987; 8: 1027-30. 29. Halpin SF, Britton JA, Clifton A, Hart G, Moore A. Prospective evaluation of cerebral angiography and computered tomography in cerebral hematoma. J Neurol Neurosurg Psychiatry 1994; 57: 1180-6. 30. Kaya RA, Turkmenoglu O, Ziyal IM, Dalkilic T, Sahin Y, Aydin Y. The effects on prognosis of surgical treatment of hypertensive putaminal hematomas through transsylvian transinsular approach. Surg Neurol 2003; 59: 176-83.
  • 37. 24 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย 31. Sasaki K, Matsumoto K. Clinical appraisal of stereotactic hematoma aspiration surgery for hypertensive thalamic hemorrhage--with respect to volume of the hematoma. Tokushima J Exp Med 1992; 39: 35-44. 32. Kwak R, Kadoya S, Suzuki T. Factors affecting the prognosis in thalamic hemorrhage. Stroke 1983; 14: 493-500. 33. Ohwaki K, Yano E, Nagashima H, Hirata M, Nakagomi T, Tamura A. Blood pressure management in acute intracerebral hemorrhage: relationship between elevated blood pressure and hematoma enlargement. Stroke. 2004 Jun; 35(6): 1364-7. Epub 2004 Apr 29. 34. Maruishi M, Shima T, Okada Y, Nishida M, Yamane K. Involvement of fluctuating high blood pressure in the enlargement of spontaneous intracerebral hematoma. Neurol Med Chir (Tokyo). 2001 Jun; 41(6): 300-4; discussion 304-5. 35. Lim JK, Hwang HS, Cho BM, Lee HK, Ahn SK, Oh SM, Choi SK. Multivariate analysis of risk factors of hematoma expansion in spontaneous intracerebral hemorrhage. Surg Neurol. 2008 Jan; 69(1): 40-5; discussion 45. 36. Azzimondi G, Bassein L, Nonino F, Fiorani L, Vignatelli L, Re G, D’Alessandro R.Fever in acute stroke worsens prognosis. A prospective study.Stroke. 1995 Nov; 26(11): 2040-3. 37. Fogelholm R, Murros K, Rissanen A, Avikainen S. Admission blood glucose and short term survival in primary intracerebral hemorrhage: a population base study. J Neurol Neurosurg Psychiatry. 2005; 76: 349-53. 38. Passero S, Rocchi R, Rossi S, Ulivelli M, Vatti G. Seizure after spontaneous supratentorial intracerebral hemorrhage. Epilepsia. 2002 ; 43: 1175-80. 39. Poungvarin N, Bhoopat W, Viriyavejakul A, Rodprasert P, Buranasiri P, Sukondhabhant S, et al. Effects of dexamethasone in primary supratentorial intracerebral hemorrhage. N Engl J Med 1987; 316: 1229-33. 40. De Reuck J, De Bleecker J, Reyntjens K. Steroid treatment in primary intracerebral haemorrhage. Acta Neurol Belg 1989; 89: 7-11. 41. Castellanos M, Leira R, Tejada J, Gil-Peralta A, Davalos A, Castillo J : Stroke Project, Cerebrovascular Diseases Group of the Spanish Neurological Society. Predictors of good outcome in medium to large spontaneous supratentorial intracerebral hemorrhage. J Neurol Neurosurg Psychiatry. 2005; 76: 691-5. 42. Fujii Y, Takeuchi S, Sasaki O, Minakawa T, Tanaka R. Multivariate analysis of predictors of hematoma enlargement in spontaneous intracerebral hemorrhage. Stroke. 1998 Jun; 29 (6): 1160-6.
  • 38. 25แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย ตารางที่ 1 ระดับคำแนะนำอิงคุณภาพของหลักฐาน (Strength of Recommendation) Grade Recommendation A Supported by data from randomized controlled trials with low false-positive and low false- negative errors B Supported by data from randomized controlled trials with high false-positive and high false- negative errors C Supported by data from non-randomized cohort studies, case series, case report, expert opinion or consensus ตารางที่ 2 สรุปการตรวจวินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมองแตก (Diagnosis of Hemorrhagic Stroke) ขอบงชี้ การตรวจเพื่อวินิจฉัย 1. ผูปวยที่สงสัยวาเปนโรคหลอดเลือดสมองแตก CT brain (grade A) 2. ถา CT brain ปกติ ลักษณะทางคลินิกเขาไดกับSAH ตรวจน้ำไขสันหลัง 3. ผูปวย ICH ในกรณีดังตอไปนี้ - ตำแหนงเลือดออกที่ไมสามารถหาสาเหตุได - อายุ < 45 ป - ไมมีประวัติความดันโลหิตสูง 4. ผูปวยที่เปน Primary IVH , SAH ควรพิจารณาสงตรวจ cerebral angiog raphy, CT angiography, MR angiography (grade C) ควรพิจารณาสงตรวจเพื่อคนหาความ ผิดปกติของหลอดเลือดสมอง เชน cerebral angiography, CT angiography, MR angiography (grade C)
  • 39. 26 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย ตารางที่ 3 การบำบัดรักษาทางอายุรกรรมของโรคหลอดเลือดสมองแตก (Medical Management in Acute Phase of Hemorrhagic Stroke) * ขนาดยาและปริมาณสารน้ำที่ใชนี้เหมาะสำหรับผูใหญ 1. Respiration ผูปวยที่หายใจไมพอ หรือหมดสติ หรือมีโอกาสเกิดสำลัก ควรใสทอชวยหายใจ พยายามควบคุม blood gas ใหอยูในเกณฑปกติ 2. Blood Pressure9, 20 • หลีกเลี่ยงภาวะ hypotension • ควบคุม mean arterial pressure (MAP) < 130 mmHg (grade C) MAP = Diastolic BP + 1/3 (systolic BP - Diastolic BP) 2.1 ถา systolic BP > 200 mmHg หรือ diastolic BP > 140 mmHg หรือ MAP > 150 mmHg ให - Nitroprusside 0.25 - 10 µg/kg/min ทางหลอดเลือดดำ ไมควรใหติดตอกันเกิน 3 วัน หรือ - Nitroglycerine 5 mg ทางหลอดเลือดดำ ตามดวย 1 - 4 mg/hr - หากไมมียาดังกลาวขางตน อาจพิจารณาใชยาในหัวขอที่ 2.2 แทน 2.2 ถา systolic BP=180-200 mmHg หรือ DBP = 105-140 mmHg หรือ MAP > 130 mmHgให - Captopril 6.25-12.5 mg ทางปาก ออกฤทธิ์ภายใน 15-30 นาที อยูไดนาน 4-6 ช.ม.หรือ - Small patch of nitroglycerine ปดหนาอก หรือ - Hydralazine 5-10 mg ทางหลอดเลือดดำ ออกฤทธิ์ ภายใน 1-2 นาที อยูไดนาน 1-2 ช.ม. หรือ - Nicardepine ผสมยาใหมีความเขมขน 0.1-0.2 mg/ml แลวใหทางหลอดเลือดดำชา ๆ 5 mg/hr. - ไมควรใช nifedipine อมใตลิ้น หรือทางปาก เนื่องจากไมสามารถทำนายผลของยาได แนนอน และไมสามารถปรับลดยาไดหากเกิดภาวะความดันโลหิตต่ำมาก 3. Temperature ผูปวยที่มีไข ควรใหยาลดไข หรือเช็ดตัว หรือใช cooling blanket 4. การบำบัดรักษาระดับน้ำตาลในเลือด (Management of Blood Glucose ) หากระดับน้ำตาลในเลือด > 140 มก./ดล. ควรพิจารณาใหยาเบาหวาน 5. การปองกันอาการชัก ( Prevention of Seizure) ในผูปวยที่มีอาการชักกอนการรักษา ควรใหยากันชักทุกราย 6. Fluid & Electrolyte* - พยายามอยาใหเกิด dehydration หรือ overhydration โดยแตละวันสมควรให isotonic solution เชน normal saline เปนตน ตามปริมาณที่คำนวณได ดังนี้ ปริมาณ = urine output + 500 ml (insensible loss) + 300 ml/1˚C ที่เพิ่มขึ้น จากอุณหภูมิกายปกติ (37 ˚C) - ควบคุมคาระดับ electrolyte ใหปกติ
  • 40. 27แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย ตารางที่ 4 การรักษาภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง (Treatment of Increased Intracranial Pressure) การรักษาภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง 1. Clear airway ใสทอชวยหายใจ และ Foley’s catheter 2. ใหนอนยกศีรษะและสวนบนของรางกายสูง 20-30 องศา 3. จัดทาผูปวยโดยใหหลีกเลี่ยงการกดทับหลอดเลือดดำที่คอ (jugular vein) 4. Hyperventilation เพื่อให PaCO2 = 30-35 mmHg แตวิธีนี้มีประโยชนในชวงสั้น ๆ กอนผาตัด 5. พิจารณาใหยา * - 20% mannitol : loading dose 1 gm/kg ทางหลอดเลือดดำภายใน 20 นาที ตามดวย 0.25-0.5 gm/kg ทุก 6 ชั่วโมง ควรตรวจ serum osmolarity ทุกวัน ควบคุม serum osmolarity < 320 mOsm/l (grade C) หรือ - 10% glycerol 250 ml ทางหลอดเลือดดำ ภายใน 30 นาที ทุก 6 ชั่วโมง หรือ - 50% glycerol 50 ml ทางปาก วันละ 4 ครั้ง หรือ - Furosemide 1 mg/kg ทางหลอดเลือดดำ (grade C) 6. หลีกเลี่ยงการให hypotonic solution 7. การใช steroid ยังไมมีหลักฐานทางคลินิกสนับสนุนวาไดประโยชน39,40 (grade A) * ขนาดยาที่ใชนี้เหมาะสำหรับผูใหญ
  • 41. 28 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย ตารางที่ 5 แนวทางการปรึกษาประสาทศัลยแพทยในเรื่องโรคหลอดเลือดสมองแตก (Guidelines for Neurosurgical Consultation in Hemorrhagic Stroke) ตำแหนง กอนเลือด Lobar Temporal lobe Basal ganglia Thalamus Cerebellum Brainstem Primary subarachnoid hemorrhage (SAH) Primary intraventicular hemorrhage (IVH) Hydrocephalus (HCP) เกณฑ (criteria) 1. GCS < 13 2. Volume > 30 ml 3. Midline shift > 0.5 cm. - 1. GCS < 13 2. Volume > 30 ml 3. Midline shift > 0.5 cm. 1. GCS < 13 2. Volume > 10 ml 3. Midline shift > 0.5 cm. - 1. GCS < 13 2. HC 3. IVH 4. Repeated episodes - - - รักษาแบบ ประคับประคอง Criteria < 2 - Criteria < 2 Criteria < 2 - Criteria = 0 - - - ปรึกษา ประสาทศัลยแพทย Criteria > 2 ปรึกษาทุกราย Criteria > 2 Criteria > 2 ปรึกษาทุกราย Criteria > 1 ปรึกษาทุกราย ปรึกษาทุกราย ปรึกษาทุกราย ระดับคำแนะนำ (recommendation grading) C C C C C C C C C
  • 42. 29แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย ภาคผนวก 1 การคำนวณปริมาตรของกอนเลือด (Calculation of Volume of Hematoma)21 ปริมาตรของกอนเลือดคำนวณจากเครื่องเอ็กซเรยคอมพิวเตอรโดยตรง หรือ ใชสูตรคำนวณ สูตร ปริมาตรของกอนเลือด (volume of hematoma) = 0.542 * X * Y * Z ( X, Y, Z คือ เสนผาศูนยกลางของกอนเลือดในแนวแกน X, Y, Z ) โดยการนำฟลมเอ็กซเรยคอมพิวเตอรสมองครั้งแรกของผูปวยมาพิจารณาดังนี้ 1. แตละ slice มีความหนา (slice thickness) กี่ ซม. ซึ่งจะมีบันทึกไวบนแผนฟลมหรือ ในรายงานผล สวนใหญจะหนา 1 ซม. ในที่นี้สมมุติวา slice thickness = ‘ t ’ 2. พิจารณาวามีกอนเลือด (hematoma) อยูที่ตำแหนง (location) ใด 3. พิจารณาวา slice ที่มีกอนเลือดอยูจำนวนกี่ slices ในที่นี้สมมุติวา จำนวน = ‘ n ’ slices 4. เพราะฉะนั้นคา Z = t * n สมมติวาเทากับ c 5. พิจารณาวา slice ไหนมีกอนเลือดขนาดใหญที่สุด นำ slice นั้นมาเปนเกณฑวัดขนาด 6. วัดขนาดของกอนเลือดในแนวแกนที่กวางที่สุดของกอนเลือด สมมุติแกน X= a และแกน Y= b (โดย a และ b ตั้งฉากกัน ดังรูป) 7. ปริมาตรของกอนเลือด ( volume of hematoma ) = 0.542* a * b * c (c = t * n)
  • 43. 30 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย ภาคผนวก 2 การประเมินผูปวย การเฝาระวัง และติดตาม แพทยควรตรวจและบันทึกผลในเวชระเบียน เพื่อใชเปนขอมูลในการเฝาระวังและติดตามผูปวย ทั้งในระยะแรก และเมื่อผูปวยเขารับการรักษาในโรงพยาบาล โดยใชการตรวจรางกายที่สำคัญดังนี้ 1. Vital signs: a. Blood pressure (BP) : ผูปวยที่มีความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นมักจะมี Cushing’s reflex คือ BP สูงขึ้น Pulse pressure กวางขึ้น b. Heart rate (HR) : ผูปวยที่มีความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นมักจะมี Cushing’s reflex คือ HR ชาลง c. Respitatory rate (RR) : ผูปวยที่มีการดำเนินโรคที่แยลง (worse) มักจะมีการกดศูนยหายใจ ทำใหมี RR ชาลง หรือ Apnea ได 2. Glasgow Coma Scale (GCS) ดูหนา 31 : การเปลี่ยนแปลงของ GCS score ที่ต่ำลง 2 ระดับ ใหถือวาผูปวยมีอาการที่แยลง 3. Pupil : a. Size : ขนาดของ pupil ที่เปลี่ยนแปลงอาจมีภาวะ Brain herniation (uncal herniation) b. Equality : ขนาดของ pupil ไมควรแตกตางกันเกิน 1 mm c. Reaction to light : การไมตอบสนองตอแสงของ pupil อาจมีภาวะ Brain herniation (uncal herniation) การเปลี่ยนแปลงของ pupil ที่แตกตางจากการประเมินครั้งกอน (ขนาดใหญขึ้น ไมตอบสนองตอแสง หรือ ขนาดมานตาตางจากอีกขางหนึ่ง) ใหถือวาผูปวยมีอาการแยลง 4. Motor power : การเปลี่ยนแปลงของ motor power ที่ลดลงจากการประเมินครั้งกอน 1 grade ใหถือวาผูปวยมีอาการแยลง 5. อาการอื่นๆ เชน อาการ increased intracranial pressure หรือ hydrocephalus (vomiting, sixth nerve palsy), อาการ brain herniation
  • 44. 31แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย GCS (Glasglow Coma Scale) Level of response Scale value 1. Eye opening • Spontaneously 4 • To speech 3 • To pain 2 • None 1 2. Motor response • Obeys commands 6 • Localizes to pain 5 • Withdraws to pain 4 • Abnormal flexion 3 • Abnormal extension 2 • None 1 3. Verbal response • Oriented 5 • Confused 4 • Inappropriate words 3 • Incomprehensible 2 • None 1 Brainstem dysfunction ผูปวย Hemorrhagic stroke อาจจะมีอาการ brainstem dysfunction ไดแก 1. Vital signs : RR และ รูปแบบของการหายใจ 2. Level of consciousness : เนื่องจาก brainstem เปนที่อยูของ reticular activating system ซึ่งควบคุมระดับความรูสึกตัวของผูปวย 3. Brainstem a. Brainstem function : ตรวจ cranial nerve ตางๆ เชน การกลอกตา (CN. III, IV, VI) การขยับกลามเนื้อของใบหนา (CN. VII) การกลืน (CN.IX, X) b. Brainstem reflexes : Corneal’s reflex (CN. V&VII), Doll’s eye (CN. III&VI&VIII), Caloric test (CN.III&VI&VIII), Nystagmus (CN.III&VI&VIII), Gag reflex (CN.IX)
  • 45. 32 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย ภาคผนวก 3 CT Scan of Normal Brain รูปที่ 1 Low ventricular subset C2. A, Cadaver section. B, CT scan. (A from Alfidi, RJ, et al.: Computed tomography of the human body: An atlas of normal anatomy, St. Louis, 1977, The C.V. Mosby Co.)
  • 46. 33แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย ภาคผนวก 4 การวินิจฉัย Hydrocephalus จาก CT Brain (Diagnosis of Hydrocephalus by CT brain) Hydrocephalus was defined as the presence of 1. The presence of a dilated contralateral temporal horn. 2. Unilateral dilated frontal and posterior horn of the lateral ventricle from deep cerebral hemorrhage. 3. Bilateral dilated lateral ventricles with or without a dilated third ventricle resulting from obstruction by a clot in the ventricle or the mass effect of deep cerebral hemorrhage. 4. The frontal horn is considered to have enlarged if there is an increased radius, decreased ventricular angle, and sulcal effacement of the frontal lobe. 5. The posterior horn is considered to have enlarged if there is rounding of the posterior horn with sulcal effacement of the parieto-occipital lobe. 6. The third ventricle is enlarged if the width is increased (> 7 mm.) and if there is ballooning of the anterior recess. 7. The fourth ventricle is considered enlarged if there is bulging. A B รูปที่ 2 Hydrocephalus by CT brain A and B
  • 47. 34 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย ภาคผนวก 5 CT Brain of Hemorrhagic Stroke Lobar hemorrhage รูปที่ 3 รูปที่ 4 รูปที่ 5 Frontal lobe Temporal lobe Parieto-occipital lobe Basal ganglia hemorrhage รูปที่ 6 รูปที่ 7 รูปที่ 8 Small hemorrhage Classical hemorrhage Large basal ganglia hemorrhage at globus pallidus at putamen with secondary IVH
  • 48. 35แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย Thalamic hemorrhage รูปที่ 9 รูปที่ 10 Small thalamic hemorrhage Large thalamic hemorrhage with secondary IVH via 3rd ventricle with secondary IVH รูปที่ 11 Cerebellar hemorrhage รูปที่ 12 รูปที่ 13 Small pontine hemorrhage (arrow) Large Pontine hemorrhage
  • 49. 36 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย รูปที่ 14 รูปที่ 15 Primary subarachnoid hemorrhage Primary intraventricular hemorrhage in both lateral ventricles (arrow) รูปที่ 16 รูปที่ 17 Primary intraventricular hemorrhage Intraventricular hemorrhage in 3rd ventricle (arrow) and lateral ventricle in 4th ventricle (arrow)
  • 50. 37แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย ภาคผนวก 6 ปจจัยที่มีผลตอการรักษา (Factors affect outcome) ปจจัยดังตอไปนี้มีผลตอการพยากรณโรค ไดแก 1. GCS score/stroke score 2. Location of hematoma 3. Size of hematoma 4. Coagulopathy 5. Hydrocephalus จากการศึกษาแบบ prospective ของ Castellanos et al.41 พบวาผูปวยที่มีการพยากรณ โรคที่ดี สวนใหญมีปจจัยตอไปนี้ คือ higher Canadian stroke score; lower blood pressure higher fibrinogen concentrations และมี CT findings คือ smaller volume of ICH, more peripheral location of hematoma, less intraventricular spread of bleeding, less midline shift ฉะนั้น การอธิบายใหผูปวยและญาติรับทราบถึง prognosis & outcome ใหพิจารณาตาม ปจจัยขางตน เพื่อใหเกิดความเขาใจตรงกัน
  • 51. 38 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย ภาคผนวก 7 ความเสี่ยงที่ขนาดของกอนเลือดใหญขึ้นหลังจากทำ CT scan ครั้งแรก (Risk of hematoma expansion after initial CT Scan) The cutpoint for hematoma enlargement was determined as V2-V1=12.5 cm3 or V2/V1=1.4 (sensitivity=94.4%, specificity=95.8%). Kazui et al22 ไดศึกษาการขยายขนาดของกอนเลือดในสมองหลังจากทำ CT scan ครั้งแรกพบวา Initial CT scan at < 3 hours after onset of stroke มีความเสี่ยง 36% ที่ขนาดกอนเลือดใหญขึ้น Initial CT scan at 3 to 6 hours after onset of stroke มีความเสี่ยง 16% ที่ขนาดกอนเลือดใหญขึ้น Initial CT scan at 6 to 12 hours after onset of stroke มีความเสี่ยง 15% ที่ขนาดกอนเลือดใหญขึ้น Initial CT scan at 12 to 24 hours after onset of stroke มีความเสี่ยง 6% ที่ขนาดกอนเลือดใหญขึ้น Initial CT scan at 24 to 48 hours after onset of stroke มีความเสี่ยง 0% ที่ขนาดกอนเลือดใหญขึ้น (หมายเหตุ V1 = initial CT scan, V2 = second CT scan) จากขอมูลดังกลาวขางตน แพทยผูรักษาอาจใชเปนเครื่องมือในการพิจารณาถึงความเหมาะสม ของการทำ CT scan brian ซ้ำ เพื่อดู hematoma expansion ซึ่งจะเปนประโยชนในการใหการรักษา กอนที่ผูปวยจะมีอาการเลวลง นอกจากเรื่องของเวลาที่ทำ CT scan แลว ยังมีปจจัยอื่นที่อาจทำใหกอนเลือดมีขนาดใหญขึ้น กวาเดิมไดแก alcoholic abuse; an irregularly shaped hematoma, and a low level of fibrinogen.42
  • 52. 39แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย ภาคผนวก 8 ตัวอยางกรณีศึกษา (Case study) Case 1 ประวัติ ชายไทย คู อายุ 41 ป จ.เลย อาชีพ คาขาย ดื่มสุราเปนประจำและสูบบุหรี่ - ญาติพบวา นอนหมดสติ แขนขาขวาออนแรง พูดคุยไมรูเรื่อง 8 ชั่วโมงกอนมา ร.พ. ตรวจรางกาย - BP 170/90 BS 87 mg/dl PT, PTT normal - GCS = 10 , right hemiplegia CT brain ( at 8 hrs after onset ) : - left putaminal hemorrhage , ขนาด 3*4.3*2.1 cm., midline shift 3.3 mm. Dx Left putaminal hemorrhage Management 1. Volume of hematoma = 3*4.3*2.1*0.524 = 14.19 cc. 2. ดูหัวขอ basal ganglia hemorrhage ใน CPG มี criteria เพียง 1 ขอ ( GCS = 10 ) จึงให medical Rx กอน 3. BP 170/90 mmHg ยังไมเขา criteria ในการใหยา anti-hypertensive ใหยาและสารน้ำ เปน conservative & supportive Rx กอน 4. เนื่องจากทำ CT brain ภายใน 8 ชม. หลัง onset จึงมีความเสี่ยงที่มี expanding hematoma 15 % จึงควร observe ใกลชิด (ดูภาคผนวก 7) ตองประเมินเวลาที่ใชในการเดินทางเพื่อ refer ไปหาประสาทศัลยแพทย เพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติของแตละเครือขาย 5. ใหอธิบายแกผูปวยและญาติ เรื่อง Dx, management, risk ตามขอมูลที่มีอยูใหเขาใจ
  • 53. 40 แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย Case 2 ประวัติ - หญิงไทยคู อายุ 71 ป จ. กทม. อาชีพ แมบาน - 8 ชม. ปวดศีรษะ บานหมุน ฟุบลง ซึมลง ไมพูด ประวัติเดิม - เปนความดันโลหิตสูง รักษาไมสม่ำเสมอ - 9 ปกอนเปนหลอดเลือดสมองแตกที่ thalamus ขางขวา ไมไดผาตัด ตรวจรางกาย - BP 200/100 mmHG - GCS = 14 , pupil 3 mm. RTL.BE. , dysarthia, Gag reflex present, No facial palsy, No nystagmus , Finger - Nose - Finger test impaired right side - Left hemiparesis CT brain (at 8 hrs after onset) : - Right cerebellar hemorrhage 2.2*2.6*2.5 cm. with surrounding edema Dx Right cerebellar hemorrhage Management 1. Volume of hematoma = 2.2*2.6*2.5*0.524 = 7.49 cc. 2. ดูหัวขอ cerebellar hemorrhage ใน CPG จึงควรปรึกษาประสาทศัลยแพทย 3. BP 200/100 mmHg มี criteria ในการใหยา anti-hypertensive ใหยาและสารน้ำ เปน conservative & supportive Px กอนสงตอ 4. ใหอธิบายแกผูปวยและญาติ เรื่อง Dx, management, risk ตามขอมูลที่มีอยูใหเขาใจ
  • 54. 41แนวทางเวชปฏิบัติโรคหลอดเลือดสมองแตก สำหรับแพทย Case 3 ประวัติ - ชายไทยคู อายุ 58 ป จ. สุโขทัย อาชีพ รับจาง - 8 ชม. กอนมาโรงพยาบาล มีอาการแขนขาขวาออนแรง ไมปวดศีรษะ ไมมีอาเจียน ประวัติเดิม : DM, HT ตรวจรางกาย - BP 140/90 mmHg. - GCS = 14 , pupils 3 mm. RTL.BE. , No facial palsy - Right hemiparesis gr. III CT brain (at 8 hrs. after onset) : - Left thalamic hemorrhage 2.1*1.0*0.5 cm. Dx Left thalamic hemorrhage without midline shift or hydrocephalus. Management 1. Volume of hematoma = 2.1*1.0*0.5*0.524 = 0.55 cc. 2. ดูหัวขอ thalamic hemorrhage ใน CPG มี criteria เพียง 1 ขอ ( GCS = 10 ) จึงให medical Px กอน 3. BP 140/90 mmHg ยังไมเขา criteria ในการใหยา anti-hypertensive ใหยาและสารน้ำ เปน conservative & supportive Px กอน 4. เนื่องจากทำ CT brain ภายใน 8 ชม. หลัง onset จึงมีความเสี่ยงที่มี expanding hematoma 15 % จึงควร observe ใกลชิด (ดูภาคผนวก 7) ตองประเมินเวลาที่ใชในการ เดินทางเพื่อ refer ไปหาประสาทศัลยแพทย เพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติของแตละเครือขาย 5. ใหอธิบายแกผูปวยและญาติ เรื่อง Dx, management, risk ตามขอมูลที่มีอยูใหเขาใจ