SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 95
Descargar para leer sin conexión
การให้การปรึกษาทางสุขภ
การบาบัดทางชีวภาพ
และ การบาบัดทางจิตสังคม
โดย ผศ.สมบัติ สกุลพรรณ์
กลุ่มวิชาการพยาบาลจิตเวช
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เอกสารประกอบการสอน กระบวนวิชา 556412 : การพยาบาลจิตเวช
1.Psychotic Disorders ( โรคจิต )
2. Mood Disorders
( โรคอารมณ์แปรปรวน)
3. Anxiety Disorders
(โรควิตกกังวล)
โรคทางจิตเวช 3 กลุ่มหลัก
• Psychiatric Disorders ( โรคทางจิตเวช)
•
Bio Psycho
•
Social กรรม ??
Multifactor
S
y
n
a
p
s
e
Neurotransmitter (NT ) 3 กลุ่มใหญ่
• 1. กลุ่ม Amino acid
: Excitatory --> glutamate , aspartate
: Inhibitory--> GABA , glycine
• 2. กลุ่ม Monoamines
: Catecholamine : DA , E , NE
: Indoleamines : serotonin (5-HT) , Ach ,
melatonin , histamine
3. กลุ่ม Peptides (Neuromodurators): substance P.
vasopressin, somatostatin,neurotensin, Endorphin
การบาบัดรักษาโรคทางจิตเวช
Treatments for Psychiatric Disorders
บาบัดรักษาตามเหตุปัจจัย
ของความเจ็บป่วย
ปัจจัยทางชีวภาพ
บาบัดรักษาด้วย การใช้ยาทางจิตเวช
การทาให้ชักด้วยไฟฟ้า
การใช้คลื่นแม่เหล็ก
การกระตุ้นเส้นประสาท
ปัจจัยทางจิตสังคม
บาบัดรักษาด้วย จิตบาบัด (รายบุคคล รายกลุ่ม)
ครอบครัวบาบัด
ชุมชน สิ่งแวดล้อม และกิจกรรมบาบัด
และการให้การปรึกษา ( Counseling : โดยเฉพาะกลุ่ม
เสี่ยง หรือกลุ่มที่ป่วยแล้วก็ใช้ได้)
Transcranial magnetic stimulation (1)
Transcranial magnetic stimulation (2)
Methods of Action Compared to Other Antidepressants
Vagus nerve stimulation (1)
Vagus nerve stimulation (2)
ผลของยาทางจิตเวชที่มีต่อ CNS โดยทั่วไป
1. ยามีผลต่อ Enzymes ที่ใช้สังเคราะห์ / สลาย
สารสื่อประสาท ที่บริเวณ Synaptic Cleft และ Terminal
bouton
2. ยามีผลต่อการ ย้อนกลับของ NT ( Reuptake)
3. ยามีผลต่อการเก็บ (Storage) ของ NT ที่ Vesicle
4. ยามีผลต่อ Receptor site ของ NT ( Sensitivity ,
Block)
ประเภทของยาที่ใช้รักษาอาการ( โรค )ทางจิตเวช
1. ยาต้านโรคจิต ( Antipsychotics , Neuroleptics or
Major Tranquilizers )
2. ยาคลายกังวล , ต้านความวิตกกังวล ( Antianxiety ,
Minor Tranquilizers )
3. ยาต้านเศร้า , ระงับอารมณ์เศร้า ( Antidepressants )
4. ยาควบคุมอารมณ์ ( Mood Stabilizing Drugs, antimanic
drug)
ประเภทของยาที่ใช้รักษาอาการ( โรค )ทางจิตเวช (ต่อ)
5. ยารักษา (ป้องกัน) อาการข้างเคียงจากการใช้ยาต้านโรค
จิต ( Anticholinergic Drugs , Antiparkinsonian Agents )
6. ยานอนหลับ ( Hypnotic Drug , Sedative Drugs , CNS-
Depressants )
7. ยาที่มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลางอื่น ๆ ( Others
CNS Drugs ) : Dopaminergic D. , Anticonvuisants , CNS
Stimulants เช่น Ritalin HCL
กลุ่มอาการของโรคจิตเภท (และโรคจิตอื่น) แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม
Delusions (หลงผิด),
hallucinations (ประสาทหลอน),
thought disorders
& excitement etc.
1. Positive symptoms 2.Negative symptoms
Apathy (ไร้อารมณ์),
flat affect (อารมณ์เฉยเมย),
withdrawal,
loss of drive etc.
Antipsychotics
1. Phenothiazines
1.1 Aliphatic :Chlorpromazine (Largactil ,Thorazine )
1.2 Piperidine : Thioridazine
1.3 Piperazine : Perphenazine ( Trilafon )
: Trifluoperazine ( Stelazine )
2. Thioxanthenes : Clopenthixol ( Clopixol )
3. Butyrophenones : Haloperidol ( Haldol )
Antipsychotics
4. Dibenzoxazepine : Loxapine ( Loxitane )
5. Dihydroindolones : Molindone ( Moban ) **
6. Diphenybutypiperidine : Pimozide (Orap)
7. Benzisoxazole : Resperidone ( Resperidol )
8. Dibenzodiazepine : Clozapine ( Clozaril )
9. Thienobenzodiazepine : Olazapine ( Zyprexa )
10. Dibenzothiazepine : Quetiapine ( Seroquel )
Antipsychotics: Grouping by chemical class
1) Classical (Typical) Type/Agents ( กลุ่มเก่า ) ได้แก่ กลุ่ม
Phenothiazine และอีก 5 กลุ่ม (2 - 6)
2) Atypical Type/Agents หรือ The newest drugs ได้แก่กลุ่ม
7 - 10 เช่น Clozapine , olazapine (zyprexa)
Resperidol , Seraquel
3) 3. Partial D2 agonists (PDAs)
Antipsychotics: Grouping by Potency class
1. High Potency : few milligrams have significant
antipsychotic effects.
- Haldol , Trilafon, Stelazine (fluphenazine :prolixin
2. Medium Potency
- Perphenazine
3. Low Potency
- CPZ , Melleril , ( chloprothixene : taractan)
Antipsychotics: Grouping by Length of
Action
1) Long-acting preparations : compounded as
decanoic acid ester / are given intramuscularly and have
effects that last for several weeks.
- Haloperidol decanoate
- Fluphenazine decanote
2) Intermediate- acting preparations:Fluphenazine
enanthate
3) Short-acting preparations : with half-livesof only
a few hours : Fluphenazine preparations
Antipsychotics
Drugs Indications
- โรค Schizophrenia และโรคจิตอย่างอื่น
- โรค Delusional Disorder
- โรค Mania
- โรค Depressive disorder with psychotic feature
- อาการคลื่นไส้ อาเจียน สะอึก (N / V and hiccough
- สงบประสาท(Tranquilizer) สาหรับผู้ป่วยที่วุ่นวาย
ก้าวร้าว เพ้อคลั่ง (Delirium)
Antipsychotics
Drugs Actions
The phamacological actions of antipsychotics have 2
major characteristics:
1) They all bind to DA receptors
2) little sedation and direct blockadge of pain
perception
ค่าครึ่งชีวิต 1-2 วัน ฉีด Peak = 30 min, กิน Peak = 90 min
Antipsychotics
Four Dopaminergic Pathways of actions
1. Mesolimbic pathway : post-synaptic receptor
blockage ( Though ,Emotion , Feeling )(อาการทางบวก)
2. Mesocortical pathway : (อาการทางลบ)
3. Tubuloinfundibular P. : Behavior , Prolactin H.
4. Nigrostriatal pathway : Motor activity , Muscle tone
----------------->EPS
การออกฤทธิ์ของยากลุ่มเก่า (Classical)
จะออกฤทธิ์ โดยเป็น Postsynaptic dopamine
type 2 receptor blockage ซึ่งจะออกฤทธิ์ผ่าน 3
pathways ได้แก่
- Mesolimbic pathway
- Tubuloinfundibular pathway
- Nigrostriatal pathway
Antipsychotics
การออกฤทธิ์ของยากลุ่มใหม่ (Atypical)
จะออกฤทธิ์โดยเป็น Postsynaptic dopamine type 1 ,2,4
และ 5-HT type 2 ** receptor blockage ซึ่งจะออกฤทธิ์ผ่าน
ทั้ง 4 pathways ได้แก่
- Mesolimbic pathway : positive symptoms
- Tubuloinfundibular pathway: H. effects
- Nigrostriatal pathway : EPS
- Mesocortical pathway : negative symptoms** **
Action นี้ ลดอาการทางลบ
Antipsychotics
Antipsychotics
ผลข้างเคียง/ไม่พึงประสงค์ (Side Effects / Adverse Effects)
1. Anticholinergic effects :
PNS : - Dry mouth + nose - Constipation
- Urinary retention - Blurred vision
CNS : - Agitation ( Severe ) - Hallucination
- Disorientation - Seizure ***
***---------> ลด Convulsive Threshold
2. Anti- histaminergic effects : H 1 receptor blockage
ทาให้เกิด Sedative Effect ( ง่วงมาก..สลบ )
Antipsychotics
Side Effects / Adverse Effects (ต่อ)
3. Antidopaminergic Effects : Extrapyramidal Symptoms
(EPS)
- Akathisia - Parkinsonian-Like syndrome
- Acute Dystonia ( Oculogyric Crisis )
- Tardive Dyskinesia : TD ( Bizarre facial and tongue
movement , stiff neck and difficulty swallowing )
4. Cardiovacular Effects : - Arrhythmia
- Orthostatic hypotention - Ventricular
fibrillation---> Death
Antipsychotics
Side Effects / Adverse Effects (ต่อ)
5. Neuroleptic Malignant Syndrome : NMS
- Hyperpyraxia - Spasm / Rigidity
- Hypertension ( Fluctuation ) - Tachycardia
- Tachypnea - Consciousness Confusion
- Others Complication
6. Hormonal / Immunological Effects :
- Impotence - Galactorrhea - Amenorrhoea
- Leukopenia - Overweight - Photosensitivity
Antipsychotics
Drugs Interactions
- Antipsychotic drugs are most commonly metabolized
by the liver,other medication that affect the rate of hepatic
drug detoxification may have and an effect on antipsychotic
drug excretion.
- Cimetidine reduce antipsychotic effects and lead to
medication failure.
Antipsychotics
Drugs Interactions( cont.)
-Anticonvulsant medication may low plasma
concentrations of antipsychotics.
- Tricyclic antidepressantssmay increase in serum levels
when used together with antipsychotics.
- SSRI may significantly increase antipsychotic drug
levels and lead to serious adverse reactions.
Antipsychotics
Drugs Interactions( cont.)
- Some cardiac drug such as epinephrine may
interact with low-potency antipsychotics such as CPZ may
result in severe hypotention.
- Antacids,especialy those formulateed as gels,may
decrease oral antipsychotics drug absorbtion and should
not be administered within 4 hours of an antipsychotic dose.
Antipsychotic : Contraindication / Precaution
1. ผู้ป่วยที่มีปฏิกิริยาไวต่อแสง หรือแพ้ยา
2. ผู้ป่วยที่ได้รับ CNS Depressants ขนาดสูง หรือ
Coma
3. ผู้ที่มีโรคประจาตัว (โรคหลอดเลือดหัวใจ,โรคไต,
โรคตับ โรค Parkinson , โรคเบาหวาน , โรคลมชัก , ความ
ดันโลหิตสูง
4. ผู้สูงอายุ เด็ก หญิงตั้งครรภ์ ต้องระมัดระวังการ
ให้ยา
Name Mode of
administration
Sedation EPS Anticholi-
nergic
Orthostatic
hypotension
Dose range
(mg)
CPZ po,pr,im.iv 3+ 2+ 2+ 2+ 30-800
Mellaril Po 3+ 1+ 3+ 3+ 150-800
Stelazine Po, im 1+ 3+ 1+ 1+ 2-40
Haldol Po, im 1+ 3+ 1+ 1+ 1-15
Respiridone Po 1+ 3+ 1+ 1+ 4-60
Clozaril *** Po 3+ 1 3+ 3+ 300-900
Zyprexa Po 3+ 1+ 3+ 3+ 5-10
Seroquel po 3+ 1+ 3+ 3+ 300
Drug Administration
1. ฉีดกล้ามเนื้อใหญ่ ลึก โดยเฉพาะ Long acting….ไม่คลึงบริเวณที่ฉีด
2. ระวังความดันต่าขณะเปลี่ยนท่า ยาระคายเคืองง่าย (ตา ผิวอ่อน)
3. ระวังในกลุ่มเสี่ยง (แพ้ยา สูงอายุ ตับไม่ดี ฯลฯ)
4.ยาทาให้ง่วง ระวังอุบัติเหตุ
5. ดูแลช่องปาก (ปากแห้ง) แพ้แสง
6. เฝ้าระวังผลข้างเคียงอื่นๆ และ ระวังการทิ้งยา ซ่อนยา และเก็บยาไว
จานวนมากเพื่อการทาร้ายตัวเอง
8 กลุ่มยาต้านเศร้าที่ใช้ในปัจจุบัน
( พิเชฐ อุดมรัตน์,2548 )
1. Tricyclic Antidepressants (TCAs), MAOI ( ไม่ใช้)
2. Tetracyclic Antidepressant.
3. Selective Serotonin Reuptake Inhibitors (SSRIs)
4. Reversible Inhibitor of Monoamine Oxidase type A
(RIMA)
5. Serotonine and Noradrenaline Reuptake Inhibitor
(SNRI) เช่น Venlafaxine
6. Selective Serotonine Reuptake Enhancer (SSRE)
7. Noradrenergic and Specific Serotonine Antagonism
(NaSSA) เช่น Mirtazapine
8. 5-HT2 receptor blockers
กลุ่ม 1, 3 นิยมใช้ทั่วไป เพราะบริหารยาง่าย
ราคาไม่แพง มีผลิตในประเทศ เช่น
Imipramine ,Amitriptyline และ
Fluoxetine ( Prozac) ,Sertraline (Zoloft)
Antidepressant Grouping by chemical class
1. Classical / Conventional Antidepressant
- Monoamine Oxidase Inhibitor : MAOI เช่น
Phenelzine (Nardil) , Isocarboxazid( Marplan)** ไม่นิยมแล้ว
- Tricyclic : Amitryptyline , Imipramine ( Tofranil)
Clomipramine ( Anafranil ) **** นิยมใช้มานาน
- Secondary Generation Antidepressants :
- Bicyclic A. - Tetracyclic A.
2. Atypical Antidepressant ได้แก่กลุ่ม SSRIs และ
กลุ่มที่ 4-8
3. Miscellaneous อื่น ๆ นอกจากที่กล่าวมาเช่น
- BZD as antidepressant --> Alprazolam(Xanax)
- Adrenergic Stimulant : เช่น Salbutamol
- Amphetamine
Antidepressant Grouping by chemical class
Antidepressant
Indication :
- Major Depression - Bipolar Disorders
- OCD (Clomipramine) - Eating Disorder - Anxiety D. อื่น ๆ
- Enuresis ในเด็กอายุไม่ถึง 6 ปี ( Imipramine )
Action :
- ยับยั้งการ Reuptake ของ 5-HT , NE
- ยับยั้ง Presynaptic alpha - adrenergic receptors
- Desensitize postsynaptic beta - adrenergic receptors
( จานวน/ความไวต่อการถูกกระตุ้นลดลง ประมาณ 2-3 wks) เรียกว่า
Down Regulation
ปัจจัยที่ควรพิจารณาก่อนการเลือกใช้ antidepressants
1. ประวัติการตอบสนองต่อยาต่าง ๆ ของญาติ/ผู้ป่วย
2. เภสัชวิทยาของยาแต่ละตัว (คนแก่หรือการทางาน
ของตับไม่ดี ต้องเลือกใช้ยาที่ค่าครึ่งชีวิตต่า)
3. S/E ของยา และ Drug interaction กับยาอื่นที่กินอยู่
4. กลุ่มอาการร่วม(Comorbid symptoms) เช่น ผู้ป่วยที่มี
อาการปวดร่วมด้วย ควรใช้ยาที่มีฤทธิ์แก้ปวดด้วย เช่น
Amitriptyline
5. ราคายาแต่ละชนิด (Atypical จะแพงกว่า Classical )
6. พยายามเลี่ยงการใช้ยาหลายตัวโดยไม่จาเป็น
Antidepressant
Side Effect / Adverse Effects :
1. Anticholinergic Effects : ( ปากแห้ง ท้องผูก ตา
พร่ามัว ปัสสาวะคั่ง (TCAs : พบมากใน amitriptyline)
2. Cardiovascular Effects : ( BP สูง, Tachycardia
Arrhythmia ความดันในลูกตาสูง )
3. Decreases seizure threshold (TCA)
4. นอนไม่หลับ ปวดหัว น้าหนักลด กระวน
กระวาย ความต้องการทางเพศลดลง (SSRI)
Antidepressant
Contraindication / Precaution :
1. ไม่ใช้ TCAs ร่วมกับ MAOIs
2. ไม่ใช้ TCAs ในผู้ป่วยต้อหิน (ยาทาให้ความ
ดันในลูกตาสูง)
3. ระวังการใช้ในผู้ป่วย BP สูงโดยเฉพาะกลุ่ม
MAOI
Nursing Alert
!!
Alcohol and antidepressants.!!
Alcohol adds to the CNS depression produced by
antidepressants, and client must be made aware that
alcohol - related impairment occur after fewer drinks
than in persons not taking these medications.
Mood Stabilizing Drugs
The neurobiology of mania is as yet incompletely
understood, and perhaps as a result the precise mechanism
of action of mood stabilizers remains unknown !!!!!
Discovery of Lithium : 75 years ago
: 1949 John Cade found the calming effect of Li in rat and
manic patients.
: Major drawbacks of Li : not effective in some manic
patients and narrow therapeutic index.
Mood Stabilizing Drugs
-Lithium Carbonate (Licarb , Lithobid, Eskalith)
- Carbamazepine ( Tegretol)
- Vaproic acid (Depakene) Anticonvulsants
-Divalproex (Depakote)
Are typically used to control the symptoms of mania and,
once controlled, to prevent its recurrence.
Mood Stabilizing Drug
Indication : Mania / Bipolar Disorders (Manic Symptoms
Depressive symptoms)
Li : Schizophrenia / Schizoaffective disorder / Aggression / PTSD
Li Action : ไม่ทราบกลไกที่แน่นอน แต่เชื่อว่า
1. ออกฤทธิ์ผ่านทางานของ DA,NE,E ,GABA , Ach
(Mania)
2. ลด beta-adrenergic receptor หรือ alpha-adrenergic
หรือ 5-HT receptor ( Depression )
3. Replace some ions,esp Na+, K+ , Mg+
4. Phosphoinositide metabolism ( 2 nd messenger system.)
Mood Stabilizing Drug
การบริหารยา Li
- Before Rx : CBC ,Cr& e ,TFT , U/A, ECG ( >50 Ys of age)
-During Rx: Plasma Li ( ทุก 5-7 วัน แล้ว ทุกๆ 1-2 เดือน ตาม
สภาพผู้ป่วย), Cr,TFT ( ทุก 6-12 เดือน), U/A ( ทุก 12 เดือน)
Therapeutic level : 1.0-1.5 mEq/L บางท่านให้ 0.8-1.2 meq/l
***** Clinical observed is necessary !!!
Maintainance level : 0.6-1.4 mEq/L บางท่านให้ 0.6 -1.2 meq/l
Nursing Tip !!
Assessing for Lithium Toxicity
Symptoms : Depend on Serum Levels
Levels of 2-3 mEq/l :
- Agitation - Ataxia - Blurred vision
- Confusion - Vertigo - Slurred speech
- Hypertonia - Manic like behavior
Levels over 3 mEq/l :
- Arrhythmias -Hypotention - Seizures
- Spasticity - Peripheral vascular collapse - Stupor
- Twitching of muscle groups - Coma
Nursing Tip !!
Treatment : Early symptoms are treated by decreasing the dose or
stoping treatment for 24-48 hours
:Late symptoms are treated with gastric lavage,
restoration of fluid and electrolyte balance, and increasing lithium
excretion by giving aminophyline, mannitol, or urea.
Nursing
Action
1.Observe carefully for symptoms of lithium toxicity.
2. Report symptoms of toxicity whenever observed.
3. Educated client to make own observations.
4. Any situation where the client may lose excess
sodium(as in heavy sweating during exercise) may
produce lithium toxicity.
Antianxiety Drugs : Any of a group of drugs, such as benzodiazepines,
that are used to treat anxiety without causing excessive sedation. Also
called anxiolytics , minor tranquilizer. And also used to reduce
tension and irritability.
Types of anxiolytic drugs
1. Benzodiazepines
2. Glycerol derivatives
3. Buspirone ***
4. Barbiturate*****
1. Benzodiazepines (BDZs)
- Chlordiazepoxide (Librium)
- Diazepam (Valium)
- Lorazepam (Ativan)
- Oxazepam (Zerax ,Euhypnos )
- Clorazepate ( Traxene)
- Clonazepam (Rivotril) - Alprazolam
(Xanax,ANPRESS )
- Flurazepam ( Dalmadorm)
- Nitrazepam (Mogadon)
Librium
valium
Ativan
Oxazepam
Clonazepam
Aprazolam
Flurazepam
(dalmane,Dalmadorm)
Antianxiety
Indication :
- Decrease--> Anxiety , Tension , Convulsion
- Anxiety Disorders : Panic D. , Phobia etc.
- Hypnotic : Insomnia
- DT ( Alcohol withdrawal Syndrome )
- Depression ( Adjunctive Drug )------> Xanax
Action : BDZs act on the GABA a receptor to increase its
affinity for GABA [ BZDs -Receptor Binding ( Supramolecular
Complex กับ GABA - Receptor ]
: เมื่อ GABA activity เพิ่ม ----> muscle relaxant และ
anticonvulsant
: มีผลต่อระดับ และ Turnover rate ของ NT ตัวอื่น ๆ
ด้วย คือ NE 5-HT DA
: มีผลต่อระบบฮอร์โมนด้วย คือ ACTH Corticosterone
และProlactin
Librium and Valium เป็นยาตัวแรก ๆที่ถูก
นามาใช้ โดยการรับประทานจะดูดซึมและ
นาไปใช้ได้ดีกว่าการฉีดเข้ากล้าม
Valium ผ่านรกได้ดี ทาให้ความเข้มข้นใน
Fetus เท่า ๆ กับในแม่ จึงต้องระวังอย่างมาก
ประโยชน์ทางคลินิคอื่น ๆ ของ BDZs
- ใช้เป็นยานอนหลับ (Hypnotic drugs) Fluraxepam
- ใช้แก้ Muscle strain
- ใช้ใน Status epilepticus โดยใช้ valium ฉีดเข้าเส้น
เลือดดา ได้ผลทุกราย
- Alcohol withdrawal : Diazepam ( Oxazepam : เป็น
metabolite ตัวหนึ่งของ DZP มี half-life ประมาณ 7 ชั่วโมง
- ใช้เป็น pre-anesthetic medication
อาการไม่พึงประสงค์( side effects)
- Oversedation
- Tolerance
- Physical dependence
- Dysmorphogenesis diazepam ทาให้เกิด Cleft lip and
palate (พบได้ทั้งในหนู และในคน)
- Overdose
- Drugs interaction ( Alcohol and others CNS depressants)
Glycerol derivative : Meprobamate
Meprobamate ( Miltown , Equanil ) : เริ่มใช้เป็นยาคลายกังวล
ในอเมริกาตั้งแต่ปี 1995
- กลไกการออกฤทธิ์ไม่ทราบแน่ชัด
- ออกฤทธิ์เร็วภายใน 1 ชั่วโมง half-life 10 hr
- ยาผ่านรก ผ่านน้านมได้
- ผลข้างเคียงมีมาก ( ง่วง คันผิวหนัง คลื่นใส้อาเจียน
และ ท้องร่วงได้ )
- ติดยาได้ ห้ามใช้ในเด็กอายุต่ากว่า 6 ปี
Buspirone
ชื่อเคมี Azapirone (azapirodecanedione) : เดิมใช้เป็น antipsychotics
และมีฤทธิ์ antidepressant ด้วย
- การออกฤทธิ์ไม่ผ่าน GABA แต่จะจับกับ 5-HT 1A
receptor
- ลดการส่งกระแสประสาทของ serotonin neuron รวมทั้งลด
การสังเคราะห์และการหลั่งของ Serotonin
- ใช้ได้ผลใน moderate anxiety ใน panic ไม่ได้ผล
- ไม่ช่วยลด withdrawal reactions ของ BDZs
- อาการง่วงจากยามีน้อยมาก
Barbiturate Barbiturate
เช่น Phenobarbital,Secobarbital,Pentobarbital ,Thiopental
- การออกฤทธิ์ : เพิ่ม GABA activity เหมือน BDZs โดย binding
กับ BDZs receptor แต่ คนละตาแหน่งกัน โดยจะมีผลทาให้ GABA -
gate chloride channel เปิดนานขึ้น ไม่ใช่เปิดบ่อยขึ้นเหมือน BDZs
- ดูดซึมได้ดีทั้งทางปาก และทวารหนัก ไม่ให้ฉีดทางผิวหนังเพราะ
เป็นด่างสูงจะทาลายเนื้อเยื่อ
- Side effects ส่วนใหญ่คล้าย BDZs
- ***ปัจจุบันไม่นิยมใช้คลายกังวล (ตัวอื่นดีกว่า)
Generic name Trade name form 1 dose(mg.) Daily dose
Alprazolam xanax Tablet .25-1.25 3 Times
Chlordiazepoxide Librium Capsule,Tab,Inj. 5-25 3-4
Chorazepate Tranxene Cap, Tab 7.5-15 2-4
Diazepam Valium All form 2-10 2-4
Halazepam Paxipam Tab 20-40 3-4
Lorazepam Ativan Tab. Inj 1-3 2-3
Oxazepam Serax,Zexopam Cap, Tab 10-30 3-4
Prazepam Centrax Tab 7.5-20 อาจให้ 20-40 mg.
ครั้งเดียวก่อนนอน
Buspirone Buspar,Barpil Cap, Tab 5-10 3
Meprobamate Miltown 400 3-4
ข้อควรคานึงก่อนการรักษาด้วยยาทางจิตเวช
1. Diagnosis : ต้องวินิจฉัยโรคให้ถูก แล้วรักษาให้ถูก ถ้าไม่
มั่นใจไม่ควรให้ยา ( ยังไม่รักษา ดีกว่ารักษาผิด)
2. Choice of Drug : การเลือกใช้ยา ( ประวัติการตอบสนอง
ต่อยา,ความร่วมมือ, S/E , ประวัติการตอบสนองต่อยาของญาติที่ป่วย,
เศรษฐกิจ ,ระยะเวลาการรักษา, ผู้รักษา เช่น ประสบการณ์การใช้ยาแต่ละตัว )
3. Polypharmacy : การใช้ยาหลายตัวมีผลเสีย ( Drug
Interaction , S/E , Complication)
4. ความแตกต่างของเชื้อชาติ ถิ่นที่อยู่ ( รูปร่าง พันธุกรรม
อาหาร สิ่งแวดล้อม ความเชื่อ วัฒนธรรม )
5. ให้ความรู้ความเข้าใจในการเจ็บป่วยและการรักษาด้วยยา
ของ ผู้ป่วยและญาติ สาคัญยิ่ง
ข้อควรคานึงก่อนการรักษาด้วยยาทางจิตเวช
6. Drug Interaction : การมีปฏิสัมพันธ์กันของยาแต่ละชนิด และ/
หรือ ปฏิสัมพันธ์กับสารเคมีบางตัว หรือการเสริมฤทธิ์ หรือการต้านฤทธิ์
7. Drug Administration : การบริหารยา ( เมื่อไหร่ฉีด กิน )
8. ผู้ป่วยได้รับยาจริงหรือเปล่า ได้รับตามขนาดที่ควรได้รับหรือ
เปล่า
9. ข้อจากัดในการรักษาด้วยยา ของผู้ป่วยบางประเภท ( เด็ก
ผู้สูงอายุ หญิงตั้งครรภ์/ให้นมบุตร โรคบางชนิด เช่น โรคไต เบาหวาน
10 ยาทางจิตเวช ไม่ได้แก้ปัญหาของผู้ป่วยทั้งหมดได้ (หาก
Psycho - social Factors ยังไม่ได้รับการแก้ไข ผู้ป่วยก็จะยังไม่หาย )
การรักษาด้วยไฟฟ้า /
การรักษาโดยการทาให้ชักด้วยไฟฟ้า
(Electroconvulsive Therapy : ECT)
การรักษาด้วยไฟฟ้า ?
1 ล้านคนในโลก
5 หมื่นคนในสหรัฐอเมริกา
2 หมื่นคน ในประเทศไทย 26
ติด ELECTRODE
18
เครื่อง ECT
ชนิด Trymatron syetem IV
’30s ’50s ’60s ’70s ’80s ’90s ’00 ’02
ECT
(1938)
Chlorpromazine
Haloperidol
Fluphenazine
Thioridazine
Loxapine
Perphenazine
First-generation
antipsychotics
Second-generation
antipsychotics
Clozapine
Risperidone
Olanzapine
Quetiapine
Ziprasidone
Developments of Biological Treatments
for Psychotic Disorders
Kapur S, Remington. Ann Rev Med. 2001;52:503.
Worrel et al. Am J Health Syst Pharm. 2000;57:238. (อ้างใน มานิตย์ ศรีสุรภา
นนท์,2551)
Aripiprazole
Partial D2
agonists
ประวัติของการรักษาด้วยไฟฟ้า ECT)
-1933 : insulin coma therapy ( Dr. Manfred Sakel)
- 1934 : Phamacoconvulsive Therapy : ใช้สารหรือยาทาให้
ชัก อาการดีขึ้น
- 1938 : ECT ( Ugo Cerletti & Lucio Bini) (unmodified)
1940 >>> Modified
- ไทยเริ่มใช้ 2488 (1945) ที่โรงพยาบาลสมเด็จเจ้าพระยา
ความหมาย
การรักษาโดยการทาให้ชักด้วยไฟฟ้าจานวนหนึ่ง (70-150 volts)
กระตุ้นผ่านทาง electrodes เข้าไปในสมอง (Frontotemporal region)
ช่วงระยะเวลาหนึ่ง(0.1 – 0.5 sec) แล้วทาให้เกิดอาการชักแบบ
grandmal (grandmal seizure) โดยมี Phase ต่างๆ ตามลาดับดังนี้
1. Unconscious
2. Tonic Phase (stage) 10-15 วินาที
3. Clonic Phase (stage) ประมาณ 30 วินาที
4. Apnea 5. Confusion
Unmodified – modified / bilateral-unilaterl
sin wave-brief pulse wave
ECT บาบัดรักษาอาการทางจิตเวชได้
อย่างไร ?
Not fully understood !!
Neuroendocrine Theory : ออกฤทธิ์คล้ายยาต้านเศร้า
ปรับสมดุล NT ( DA, NE, 5-HT (serotonin)
ขณะชักเพิ่ม Cerebral Blood Flow (prefrontal region) : ใช้ออกซิเจน
กลูโคสมากขึ้น
หลักชัก Cerebral Blood Flow ลดลง ใช้ออกซิเจน กลูโคสลดลง
Punishment / Amnesia ???
The Brain
ECT ใช้สาหรับผู้ป่วยจิตเวชกลุ่มไหนได้บ้าง
MDD
ห้ามใช้ ECT ใน...
Brain Tumor, Cardiovascular Disease, BP สูง, กระดูก
และข้อมีปัญหา
ผลข้างเคียง: Sub shock, กระดูกหัก ข้อเคลื่อน หยุดหายใจนาน
ปวดกล้ามเนื้อ ปวดหัว Amnesia, N/V ,
ภาวะเสี่ยง : ตาย (1 ใน10,000) จากหยุดหายใจ
นาน/ กระดูก spine หัก /สาลัก มีการอุดกั้นของ
ทางเดินหายใจ
จะให้การพยาบาลผู้ป่วยที่จะได้รับ
ECT อย่างไร
ก่อนทา : เตรียมความพร้อม ในเรื่องของประวัติต่างๆ ที่อาจเป็นอันตราย
และเรื่อง Lab ต่างๆ เรื่องจิตใจ เรื่องทางกฏหมาย (ใบยินยอม) อย่าลืม
NPO ปัสสาวะก่อนทา V/S
ขณะทา ออกซิเจน จัดท่า support สังเกต ระวังภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
ดูแลขณะสับสน ระวังอุบัติเหตุ (sub shock, prolong apnea,fracture)
หลังทา ให้ออกซิเจนต่อ ผูกยึด(หากจาเป็น) ดูแลใกล้ชิด V/S ประเมิน
การรับรู้......ให้อาหาร สังเกตผลข้างเคียง บรรเทาอาการ ลดความกังวล
การบาบัดทางจิตสังคม
จิตบาบัด(Psychotherapy) : รายบุคคล รายกลุ่ม ครอบครัว
การให้การปรึกษา (Counseling) : รายบุคคล รายกลุ่ม
ใช้หลักการที่เรียนในเรื่องสัมพันธภาพเพื่อการบาบัด การสื่อสาร
เพื่อการบาบัด การใช้ตนเองเป็นเครื่องมือในการบาบัดมาใช้
Psycho-education : การให้จิตศึกษา (สอน ให้ความรู้
ทางสุขภาพจิตและจิตเวช เช่น ความเครียด โรคทาง
จิตเวช ฯลฯ
การบาบัดทางจิตสังคม (ต่อ)
กิจกรรมบาบัด : นันทนาการ กีฬา ดนตรี ศิลปะ อ่านข่าว ฯลฯ
การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบาบัด : ให้เหมาะและเอื้อต่อการรักษา
สะดวก สะอาด ปลอดภัย ส่งเสริมการฟื้นฟูกาย ใจ
ขั้นตอนของ Counseling
Counseling 5 ขั้นตอน
1. การสร้างสัมพันธภาพ
2. การสารวจและทาความเข้าใจกับปัญหา
3. การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
4. การวางแผนแก้ไขปัญหา
5. การประเมินผลและยุติการปรึกษา
1. การสร้างสัมพันธภาพ
- ทักทาย
- ใส่ใจ
- สร้างความคุ้นเคย
- ให้ไว้วางใจ ยอมรับ
- ให้เล่าเรื่องราว ระบายความรู้สึก
2. การสารวจและทาความเข้าใจกับปัญหา
-ใช้คาพูดกระตุ้นให้เขาสะดวกใจหรือสบาย
ใจที่จะเล่าเรื่องราวปัญหาต่าง ๆ ให้เราฟัง
- ฟัง ฟังด้วยใจ ใช้หลักหรือแนวคิด
ขั้นบันใด ( L-A-D-D-E-R) ดังนี้
L = Look : ต้องดู หรือสังเกตผู้รับการปรึกษา
A = Ask : ซักถาม พูดคุย ให้ความสนใจ ใส่ใจในตัวเขา
D = Don’t interrupt : อย่าพึ่งไปรบกวนหรือปิดกั้น
การเล่าหรือระบายความทุกข์ อย่าหันเห หรือออกนอกเรื่อง
D = Don’t change the subject : ฟังเรื่องราวหรือ
สิ่งที่เขาเล่าก่อนอย่ารีบเปลี่ยนเรื่องหรือตัดบท หรือ
รีบยุติการสนทนา (ยกเว้นบางกรณี)
E = Emotion : สนใจและใส่ใจในอารมณ์
ความรู้สึกของ CL (โดยเฉพาะอารมณ์ที่ทาให้ทุกข์)
R = Response: ใส่ใจ และตอบสนองคาพูด คาถาม
อารมณ์และพฤติกรรมของ CL (ผู้ทุกข์ ผู้โทรฯ)
2. การสารวจและทาความเข้าใจกับปัญหา (ต่อ)
- ให้ทบทวนความคิด ความรู้สึก ตัวเอง
- เราต้องเข้าใจ ยอมรับในปัญหาหรือเรืองราวที่เขาเล่า โดยไม่
ตาหนิหรือไม่ใส่ใจถึงแม้ฟังดูแล้วคิดว่าเป็นเรื่องธรรมดา/ เรื่องง่ายๆ
- ปัญหาที่เขาเริ่มเล่าอาจไม่ใช่ปัญหาที่แท้จริง ถ้าเขายังไม่มั่นใจ หรือไม่
ไว้วางใจ หรือไม่ยอมรับ ไม่เชื่อมั่นเราอย่างเพียงพอ หรือระแวงสงสัย
Superficial Problem
True
Problem
3. การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
- ลักษณะปัญหามี 3 แบบ (แก้ได้หมด แก้ได้บางส่วน แก้ไม่ได้)
- ทาอย่างไรให้ทุกข็น้อยที่สุด
- ช่วยให้เขารู้ถึงเหตุของปัญหาที่แท้จริงว่าคืออะไร
- ลาดับความสาคัญของปัญหา
- วิเคราะห์ปัญหาด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ / หรือวิธีอื่นๆ
- ไม่ด่วนบอกวิธีแก้ปัญหาให้เขา (เขามักถามหาคาตอบ)
- ให้เขาคิดเอง หรือถามถึงวิธีที่เคยใช้ (ซึ่งมักไม่โอเค จึงมาหาเรา)
4. การวางแผนแก้ไขปัญหา
- กระตุ้นให้เขาคิดหาหนทางเองก่อน
- ให้ข้อมูลเพิ่มเพื่อช่วยให้เขาวางแผนได้ / ตัดสินใจได้
- ให้เขามองเห็นทางสว่าง ได้เบาใจในปัญหาหรือความ
ทุกข์ที่กาลังเผชิญ (เพราะไม่ใช่แก้ง่ายๆ )
- ให้เห็นข้อดี ข้อเสีย ของแต่ละทางเลือกในการแก้ปัญหา
- วางแผนเพื่อนาสู่การปฏิบัติจริง
- อาจต้องลองพูด / ทาให้ดู ( ใช้ศาสตร์และศิลป์)
5. การประเมินผลและยุติการปรึกษา
-เป็นขั้นตอนสุดท้าย
- ให้เขาทบทวนเรื่องราวปัญหา แนวทางในการแก้ปัญหา
ทั้งหมดที่พูดคุยกันมา
- ประเมินอารมณ์ความรู้สึก ( น่าจะทุกข์น้อยลง)
- ให้ความมั่นใจ
- ให้กาลังใจ
- นัดครั้งต่อไป (แล้วแต่กรณี)
ปุจฉา – วิสัชนา ในห้องนะครับ
ประมาณครั้งละ 1 ชม
ติดขัดตรงไหน ถามในเฟสก็ได้ครับ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Finish giตัด
Finish giตัดFinish giตัด
Finish giตัด
saowaluk2556
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
taem
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
Kanti Bkk
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
Rachanont Hiranwong
 

La actualidad más candente (20)

Mna thai
Mna thaiMna thai
Mna thai
 
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
 
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
 
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
 
Cpg alcoholism
Cpg alcoholismCpg alcoholism
Cpg alcoholism
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
Pc18
Pc18Pc18
Pc18
 
Bio psy social_therapy
Bio psy social_therapyBio psy social_therapy
Bio psy social_therapy
 
Finish giตัด
Finish giตัดFinish giตัด
Finish giตัด
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
Respiratory1 2
Respiratory1 2Respiratory1 2
Respiratory1 2
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
 
Asthma guideline children
Asthma guideline childrenAsthma guideline children
Asthma guideline children
 
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscineความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
ความแตกต่างระหว่าง Drotaverine และ hyoscine
 
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาสรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
 
Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 

Similar a การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม

Psychoactive substance
Psychoactive substancePsychoactive substance
Psychoactive substance
taveena
 
โรคแพนิก (Panic disorder).pdf
โรคแพนิก (Panic disorder).pdfโรคแพนิก (Panic disorder).pdf
โรคแพนิก (Panic disorder).pdf
609262
 
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
MedicineAndHealth
 
เคล็ดลับนอนหลับ2
เคล็ดลับนอนหลับ2เคล็ดลับนอนหลับ2
เคล็ดลับนอนหลับ2
topsaby99
 

Similar a การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม (20)

การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมการบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
 
Psychoactive substance
Psychoactive substancePsychoactive substance
Psychoactive substance
 
emergency_2552.ppt
emergency_2552.pptemergency_2552.ppt
emergency_2552.ppt
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็ก
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptoms
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
โรคแพนิก (Panic disorder).pdf
โรคแพนิก (Panic disorder).pdfโรคแพนิก (Panic disorder).pdf
โรคแพนิก (Panic disorder).pdf
 
Psychiatric Emergency
Psychiatric EmergencyPsychiatric Emergency
Psychiatric Emergency
 
Aerius drug monograph
Aerius drug monograph Aerius drug monograph
Aerius drug monograph
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
 
DOAs for MT student.pptx
DOAs for MT student.pptxDOAs for MT student.pptx
DOAs for MT student.pptx
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 
Septic abortion
Septic abortionSeptic abortion
Septic abortion
 
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยาการเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
การเลิกบุหรี่ในร้านขายยา
 
Cancer pain พระนั่งเกล้า
Cancer pain พระนั่งเกล้าCancer pain พระนั่งเกล้า
Cancer pain พระนั่งเกล้า
 
เคล็ดลับนอนหลับ2
เคล็ดลับนอนหลับ2เคล็ดลับนอนหลับ2
เคล็ดลับนอนหลับ2
 
230111167342525149 (1).pdf
230111167342525149 (1).pdf230111167342525149 (1).pdf
230111167342525149 (1).pdf
 
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทยปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย
 

Más de Utai Sukviwatsirikul

Más de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม

  • 1. การให้การปรึกษาทางสุขภ การบาบัดทางชีวภาพ และ การบาบัดทางจิตสังคม โดย ผศ.สมบัติ สกุลพรรณ์ กลุ่มวิชาการพยาบาลจิตเวช คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เอกสารประกอบการสอน กระบวนวิชา 556412 : การพยาบาลจิตเวช
  • 2. 1.Psychotic Disorders ( โรคจิต ) 2. Mood Disorders ( โรคอารมณ์แปรปรวน) 3. Anxiety Disorders (โรควิตกกังวล) โรคทางจิตเวช 3 กลุ่มหลัก
  • 3. • Psychiatric Disorders ( โรคทางจิตเวช) • Bio Psycho • Social กรรม ?? Multifactor
  • 4.
  • 5.
  • 7. Neurotransmitter (NT ) 3 กลุ่มใหญ่ • 1. กลุ่ม Amino acid : Excitatory --> glutamate , aspartate : Inhibitory--> GABA , glycine • 2. กลุ่ม Monoamines : Catecholamine : DA , E , NE : Indoleamines : serotonin (5-HT) , Ach , melatonin , histamine 3. กลุ่ม Peptides (Neuromodurators): substance P. vasopressin, somatostatin,neurotensin, Endorphin
  • 8. การบาบัดรักษาโรคทางจิตเวช Treatments for Psychiatric Disorders บาบัดรักษาตามเหตุปัจจัย ของความเจ็บป่วย
  • 10. ปัจจัยทางจิตสังคม บาบัดรักษาด้วย จิตบาบัด (รายบุคคล รายกลุ่ม) ครอบครัวบาบัด ชุมชน สิ่งแวดล้อม และกิจกรรมบาบัด และการให้การปรึกษา ( Counseling : โดยเฉพาะกลุ่ม เสี่ยง หรือกลุ่มที่ป่วยแล้วก็ใช้ได้)
  • 12. Transcranial magnetic stimulation (2) Methods of Action Compared to Other Antidepressants
  • 15. ผลของยาทางจิตเวชที่มีต่อ CNS โดยทั่วไป 1. ยามีผลต่อ Enzymes ที่ใช้สังเคราะห์ / สลาย สารสื่อประสาท ที่บริเวณ Synaptic Cleft และ Terminal bouton 2. ยามีผลต่อการ ย้อนกลับของ NT ( Reuptake) 3. ยามีผลต่อการเก็บ (Storage) ของ NT ที่ Vesicle 4. ยามีผลต่อ Receptor site ของ NT ( Sensitivity , Block)
  • 16. ประเภทของยาที่ใช้รักษาอาการ( โรค )ทางจิตเวช 1. ยาต้านโรคจิต ( Antipsychotics , Neuroleptics or Major Tranquilizers ) 2. ยาคลายกังวล , ต้านความวิตกกังวล ( Antianxiety , Minor Tranquilizers ) 3. ยาต้านเศร้า , ระงับอารมณ์เศร้า ( Antidepressants ) 4. ยาควบคุมอารมณ์ ( Mood Stabilizing Drugs, antimanic drug)
  • 17. ประเภทของยาที่ใช้รักษาอาการ( โรค )ทางจิตเวช (ต่อ) 5. ยารักษา (ป้องกัน) อาการข้างเคียงจากการใช้ยาต้านโรค จิต ( Anticholinergic Drugs , Antiparkinsonian Agents ) 6. ยานอนหลับ ( Hypnotic Drug , Sedative Drugs , CNS- Depressants ) 7. ยาที่มีผลต่อระบบประสาทส่วนกลางอื่น ๆ ( Others CNS Drugs ) : Dopaminergic D. , Anticonvuisants , CNS Stimulants เช่น Ritalin HCL
  • 18. กลุ่มอาการของโรคจิตเภท (และโรคจิตอื่น) แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม Delusions (หลงผิด), hallucinations (ประสาทหลอน), thought disorders & excitement etc. 1. Positive symptoms 2.Negative symptoms Apathy (ไร้อารมณ์), flat affect (อารมณ์เฉยเมย), withdrawal, loss of drive etc.
  • 19. Antipsychotics 1. Phenothiazines 1.1 Aliphatic :Chlorpromazine (Largactil ,Thorazine ) 1.2 Piperidine : Thioridazine 1.3 Piperazine : Perphenazine ( Trilafon ) : Trifluoperazine ( Stelazine ) 2. Thioxanthenes : Clopenthixol ( Clopixol ) 3. Butyrophenones : Haloperidol ( Haldol )
  • 20. Antipsychotics 4. Dibenzoxazepine : Loxapine ( Loxitane ) 5. Dihydroindolones : Molindone ( Moban ) ** 6. Diphenybutypiperidine : Pimozide (Orap) 7. Benzisoxazole : Resperidone ( Resperidol ) 8. Dibenzodiazepine : Clozapine ( Clozaril ) 9. Thienobenzodiazepine : Olazapine ( Zyprexa ) 10. Dibenzothiazepine : Quetiapine ( Seroquel )
  • 21. Antipsychotics: Grouping by chemical class 1) Classical (Typical) Type/Agents ( กลุ่มเก่า ) ได้แก่ กลุ่ม Phenothiazine และอีก 5 กลุ่ม (2 - 6) 2) Atypical Type/Agents หรือ The newest drugs ได้แก่กลุ่ม 7 - 10 เช่น Clozapine , olazapine (zyprexa) Resperidol , Seraquel 3) 3. Partial D2 agonists (PDAs)
  • 22. Antipsychotics: Grouping by Potency class 1. High Potency : few milligrams have significant antipsychotic effects. - Haldol , Trilafon, Stelazine (fluphenazine :prolixin 2. Medium Potency - Perphenazine 3. Low Potency - CPZ , Melleril , ( chloprothixene : taractan)
  • 23. Antipsychotics: Grouping by Length of Action 1) Long-acting preparations : compounded as decanoic acid ester / are given intramuscularly and have effects that last for several weeks. - Haloperidol decanoate - Fluphenazine decanote 2) Intermediate- acting preparations:Fluphenazine enanthate 3) Short-acting preparations : with half-livesof only a few hours : Fluphenazine preparations
  • 24. Antipsychotics Drugs Indications - โรค Schizophrenia และโรคจิตอย่างอื่น - โรค Delusional Disorder - โรค Mania - โรค Depressive disorder with psychotic feature - อาการคลื่นไส้ อาเจียน สะอึก (N / V and hiccough - สงบประสาท(Tranquilizer) สาหรับผู้ป่วยที่วุ่นวาย ก้าวร้าว เพ้อคลั่ง (Delirium)
  • 25. Antipsychotics Drugs Actions The phamacological actions of antipsychotics have 2 major characteristics: 1) They all bind to DA receptors 2) little sedation and direct blockadge of pain perception ค่าครึ่งชีวิต 1-2 วัน ฉีด Peak = 30 min, กิน Peak = 90 min
  • 26. Antipsychotics Four Dopaminergic Pathways of actions 1. Mesolimbic pathway : post-synaptic receptor blockage ( Though ,Emotion , Feeling )(อาการทางบวก) 2. Mesocortical pathway : (อาการทางลบ) 3. Tubuloinfundibular P. : Behavior , Prolactin H. 4. Nigrostriatal pathway : Motor activity , Muscle tone ----------------->EPS
  • 27.
  • 28.
  • 29. การออกฤทธิ์ของยากลุ่มเก่า (Classical) จะออกฤทธิ์ โดยเป็น Postsynaptic dopamine type 2 receptor blockage ซึ่งจะออกฤทธิ์ผ่าน 3 pathways ได้แก่ - Mesolimbic pathway - Tubuloinfundibular pathway - Nigrostriatal pathway Antipsychotics
  • 30. การออกฤทธิ์ของยากลุ่มใหม่ (Atypical) จะออกฤทธิ์โดยเป็น Postsynaptic dopamine type 1 ,2,4 และ 5-HT type 2 ** receptor blockage ซึ่งจะออกฤทธิ์ผ่าน ทั้ง 4 pathways ได้แก่ - Mesolimbic pathway : positive symptoms - Tubuloinfundibular pathway: H. effects - Nigrostriatal pathway : EPS - Mesocortical pathway : negative symptoms** ** Action นี้ ลดอาการทางลบ Antipsychotics
  • 31. Antipsychotics ผลข้างเคียง/ไม่พึงประสงค์ (Side Effects / Adverse Effects) 1. Anticholinergic effects : PNS : - Dry mouth + nose - Constipation - Urinary retention - Blurred vision CNS : - Agitation ( Severe ) - Hallucination - Disorientation - Seizure *** ***---------> ลด Convulsive Threshold 2. Anti- histaminergic effects : H 1 receptor blockage ทาให้เกิด Sedative Effect ( ง่วงมาก..สลบ )
  • 32. Antipsychotics Side Effects / Adverse Effects (ต่อ) 3. Antidopaminergic Effects : Extrapyramidal Symptoms (EPS) - Akathisia - Parkinsonian-Like syndrome - Acute Dystonia ( Oculogyric Crisis ) - Tardive Dyskinesia : TD ( Bizarre facial and tongue movement , stiff neck and difficulty swallowing ) 4. Cardiovacular Effects : - Arrhythmia - Orthostatic hypotention - Ventricular fibrillation---> Death
  • 33. Antipsychotics Side Effects / Adverse Effects (ต่อ) 5. Neuroleptic Malignant Syndrome : NMS - Hyperpyraxia - Spasm / Rigidity - Hypertension ( Fluctuation ) - Tachycardia - Tachypnea - Consciousness Confusion - Others Complication 6. Hormonal / Immunological Effects : - Impotence - Galactorrhea - Amenorrhoea - Leukopenia - Overweight - Photosensitivity
  • 34. Antipsychotics Drugs Interactions - Antipsychotic drugs are most commonly metabolized by the liver,other medication that affect the rate of hepatic drug detoxification may have and an effect on antipsychotic drug excretion. - Cimetidine reduce antipsychotic effects and lead to medication failure.
  • 35. Antipsychotics Drugs Interactions( cont.) -Anticonvulsant medication may low plasma concentrations of antipsychotics. - Tricyclic antidepressantssmay increase in serum levels when used together with antipsychotics. - SSRI may significantly increase antipsychotic drug levels and lead to serious adverse reactions.
  • 36. Antipsychotics Drugs Interactions( cont.) - Some cardiac drug such as epinephrine may interact with low-potency antipsychotics such as CPZ may result in severe hypotention. - Antacids,especialy those formulateed as gels,may decrease oral antipsychotics drug absorbtion and should not be administered within 4 hours of an antipsychotic dose.
  • 37. Antipsychotic : Contraindication / Precaution 1. ผู้ป่วยที่มีปฏิกิริยาไวต่อแสง หรือแพ้ยา 2. ผู้ป่วยที่ได้รับ CNS Depressants ขนาดสูง หรือ Coma 3. ผู้ที่มีโรคประจาตัว (โรคหลอดเลือดหัวใจ,โรคไต, โรคตับ โรค Parkinson , โรคเบาหวาน , โรคลมชัก , ความ ดันโลหิตสูง 4. ผู้สูงอายุ เด็ก หญิงตั้งครรภ์ ต้องระมัดระวังการ ให้ยา
  • 38. Name Mode of administration Sedation EPS Anticholi- nergic Orthostatic hypotension Dose range (mg) CPZ po,pr,im.iv 3+ 2+ 2+ 2+ 30-800 Mellaril Po 3+ 1+ 3+ 3+ 150-800 Stelazine Po, im 1+ 3+ 1+ 1+ 2-40 Haldol Po, im 1+ 3+ 1+ 1+ 1-15 Respiridone Po 1+ 3+ 1+ 1+ 4-60 Clozaril *** Po 3+ 1 3+ 3+ 300-900 Zyprexa Po 3+ 1+ 3+ 3+ 5-10 Seroquel po 3+ 1+ 3+ 3+ 300
  • 39. Drug Administration 1. ฉีดกล้ามเนื้อใหญ่ ลึก โดยเฉพาะ Long acting….ไม่คลึงบริเวณที่ฉีด 2. ระวังความดันต่าขณะเปลี่ยนท่า ยาระคายเคืองง่าย (ตา ผิวอ่อน) 3. ระวังในกลุ่มเสี่ยง (แพ้ยา สูงอายุ ตับไม่ดี ฯลฯ) 4.ยาทาให้ง่วง ระวังอุบัติเหตุ 5. ดูแลช่องปาก (ปากแห้ง) แพ้แสง 6. เฝ้าระวังผลข้างเคียงอื่นๆ และ ระวังการทิ้งยา ซ่อนยา และเก็บยาไว จานวนมากเพื่อการทาร้ายตัวเอง
  • 40. 8 กลุ่มยาต้านเศร้าที่ใช้ในปัจจุบัน ( พิเชฐ อุดมรัตน์,2548 ) 1. Tricyclic Antidepressants (TCAs), MAOI ( ไม่ใช้) 2. Tetracyclic Antidepressant. 3. Selective Serotonin Reuptake Inhibitors (SSRIs) 4. Reversible Inhibitor of Monoamine Oxidase type A (RIMA)
  • 41. 5. Serotonine and Noradrenaline Reuptake Inhibitor (SNRI) เช่น Venlafaxine 6. Selective Serotonine Reuptake Enhancer (SSRE) 7. Noradrenergic and Specific Serotonine Antagonism (NaSSA) เช่น Mirtazapine 8. 5-HT2 receptor blockers
  • 42. กลุ่ม 1, 3 นิยมใช้ทั่วไป เพราะบริหารยาง่าย ราคาไม่แพง มีผลิตในประเทศ เช่น Imipramine ,Amitriptyline และ Fluoxetine ( Prozac) ,Sertraline (Zoloft)
  • 43. Antidepressant Grouping by chemical class 1. Classical / Conventional Antidepressant - Monoamine Oxidase Inhibitor : MAOI เช่น Phenelzine (Nardil) , Isocarboxazid( Marplan)** ไม่นิยมแล้ว - Tricyclic : Amitryptyline , Imipramine ( Tofranil) Clomipramine ( Anafranil ) **** นิยมใช้มานาน - Secondary Generation Antidepressants : - Bicyclic A. - Tetracyclic A.
  • 44. 2. Atypical Antidepressant ได้แก่กลุ่ม SSRIs และ กลุ่มที่ 4-8 3. Miscellaneous อื่น ๆ นอกจากที่กล่าวมาเช่น - BZD as antidepressant --> Alprazolam(Xanax) - Adrenergic Stimulant : เช่น Salbutamol - Amphetamine Antidepressant Grouping by chemical class
  • 45. Antidepressant Indication : - Major Depression - Bipolar Disorders - OCD (Clomipramine) - Eating Disorder - Anxiety D. อื่น ๆ - Enuresis ในเด็กอายุไม่ถึง 6 ปี ( Imipramine ) Action : - ยับยั้งการ Reuptake ของ 5-HT , NE - ยับยั้ง Presynaptic alpha - adrenergic receptors - Desensitize postsynaptic beta - adrenergic receptors ( จานวน/ความไวต่อการถูกกระตุ้นลดลง ประมาณ 2-3 wks) เรียกว่า Down Regulation
  • 46. ปัจจัยที่ควรพิจารณาก่อนการเลือกใช้ antidepressants 1. ประวัติการตอบสนองต่อยาต่าง ๆ ของญาติ/ผู้ป่วย 2. เภสัชวิทยาของยาแต่ละตัว (คนแก่หรือการทางาน ของตับไม่ดี ต้องเลือกใช้ยาที่ค่าครึ่งชีวิตต่า) 3. S/E ของยา และ Drug interaction กับยาอื่นที่กินอยู่ 4. กลุ่มอาการร่วม(Comorbid symptoms) เช่น ผู้ป่วยที่มี อาการปวดร่วมด้วย ควรใช้ยาที่มีฤทธิ์แก้ปวดด้วย เช่น Amitriptyline 5. ราคายาแต่ละชนิด (Atypical จะแพงกว่า Classical ) 6. พยายามเลี่ยงการใช้ยาหลายตัวโดยไม่จาเป็น
  • 47. Antidepressant Side Effect / Adverse Effects : 1. Anticholinergic Effects : ( ปากแห้ง ท้องผูก ตา พร่ามัว ปัสสาวะคั่ง (TCAs : พบมากใน amitriptyline) 2. Cardiovascular Effects : ( BP สูง, Tachycardia Arrhythmia ความดันในลูกตาสูง ) 3. Decreases seizure threshold (TCA) 4. นอนไม่หลับ ปวดหัว น้าหนักลด กระวน กระวาย ความต้องการทางเพศลดลง (SSRI)
  • 48. Antidepressant Contraindication / Precaution : 1. ไม่ใช้ TCAs ร่วมกับ MAOIs 2. ไม่ใช้ TCAs ในผู้ป่วยต้อหิน (ยาทาให้ความ ดันในลูกตาสูง) 3. ระวังการใช้ในผู้ป่วย BP สูงโดยเฉพาะกลุ่ม MAOI
  • 49. Nursing Alert !! Alcohol and antidepressants.!! Alcohol adds to the CNS depression produced by antidepressants, and client must be made aware that alcohol - related impairment occur after fewer drinks than in persons not taking these medications.
  • 50. Mood Stabilizing Drugs The neurobiology of mania is as yet incompletely understood, and perhaps as a result the precise mechanism of action of mood stabilizers remains unknown !!!!! Discovery of Lithium : 75 years ago : 1949 John Cade found the calming effect of Li in rat and manic patients. : Major drawbacks of Li : not effective in some manic patients and narrow therapeutic index.
  • 51. Mood Stabilizing Drugs -Lithium Carbonate (Licarb , Lithobid, Eskalith) - Carbamazepine ( Tegretol) - Vaproic acid (Depakene) Anticonvulsants -Divalproex (Depakote) Are typically used to control the symptoms of mania and, once controlled, to prevent its recurrence.
  • 52. Mood Stabilizing Drug Indication : Mania / Bipolar Disorders (Manic Symptoms Depressive symptoms) Li : Schizophrenia / Schizoaffective disorder / Aggression / PTSD Li Action : ไม่ทราบกลไกที่แน่นอน แต่เชื่อว่า 1. ออกฤทธิ์ผ่านทางานของ DA,NE,E ,GABA , Ach (Mania) 2. ลด beta-adrenergic receptor หรือ alpha-adrenergic หรือ 5-HT receptor ( Depression ) 3. Replace some ions,esp Na+, K+ , Mg+ 4. Phosphoinositide metabolism ( 2 nd messenger system.)
  • 53. Mood Stabilizing Drug การบริหารยา Li - Before Rx : CBC ,Cr& e ,TFT , U/A, ECG ( >50 Ys of age) -During Rx: Plasma Li ( ทุก 5-7 วัน แล้ว ทุกๆ 1-2 เดือน ตาม สภาพผู้ป่วย), Cr,TFT ( ทุก 6-12 เดือน), U/A ( ทุก 12 เดือน) Therapeutic level : 1.0-1.5 mEq/L บางท่านให้ 0.8-1.2 meq/l ***** Clinical observed is necessary !!! Maintainance level : 0.6-1.4 mEq/L บางท่านให้ 0.6 -1.2 meq/l
  • 54. Nursing Tip !! Assessing for Lithium Toxicity Symptoms : Depend on Serum Levels Levels of 2-3 mEq/l : - Agitation - Ataxia - Blurred vision - Confusion - Vertigo - Slurred speech - Hypertonia - Manic like behavior Levels over 3 mEq/l : - Arrhythmias -Hypotention - Seizures - Spasticity - Peripheral vascular collapse - Stupor - Twitching of muscle groups - Coma
  • 55. Nursing Tip !! Treatment : Early symptoms are treated by decreasing the dose or stoping treatment for 24-48 hours :Late symptoms are treated with gastric lavage, restoration of fluid and electrolyte balance, and increasing lithium excretion by giving aminophyline, mannitol, or urea. Nursing Action
  • 56. 1.Observe carefully for symptoms of lithium toxicity. 2. Report symptoms of toxicity whenever observed. 3. Educated client to make own observations. 4. Any situation where the client may lose excess sodium(as in heavy sweating during exercise) may produce lithium toxicity.
  • 57. Antianxiety Drugs : Any of a group of drugs, such as benzodiazepines, that are used to treat anxiety without causing excessive sedation. Also called anxiolytics , minor tranquilizer. And also used to reduce tension and irritability. Types of anxiolytic drugs 1. Benzodiazepines 2. Glycerol derivatives 3. Buspirone *** 4. Barbiturate*****
  • 58. 1. Benzodiazepines (BDZs) - Chlordiazepoxide (Librium) - Diazepam (Valium) - Lorazepam (Ativan) - Oxazepam (Zerax ,Euhypnos ) - Clorazepate ( Traxene) - Clonazepam (Rivotril) - Alprazolam (Xanax,ANPRESS ) - Flurazepam ( Dalmadorm) - Nitrazepam (Mogadon)
  • 60. Antianxiety Indication : - Decrease--> Anxiety , Tension , Convulsion - Anxiety Disorders : Panic D. , Phobia etc. - Hypnotic : Insomnia - DT ( Alcohol withdrawal Syndrome ) - Depression ( Adjunctive Drug )------> Xanax
  • 61. Action : BDZs act on the GABA a receptor to increase its affinity for GABA [ BZDs -Receptor Binding ( Supramolecular Complex กับ GABA - Receptor ] : เมื่อ GABA activity เพิ่ม ----> muscle relaxant และ anticonvulsant : มีผลต่อระดับ และ Turnover rate ของ NT ตัวอื่น ๆ ด้วย คือ NE 5-HT DA : มีผลต่อระบบฮอร์โมนด้วย คือ ACTH Corticosterone และProlactin
  • 62. Librium and Valium เป็นยาตัวแรก ๆที่ถูก นามาใช้ โดยการรับประทานจะดูดซึมและ นาไปใช้ได้ดีกว่าการฉีดเข้ากล้าม Valium ผ่านรกได้ดี ทาให้ความเข้มข้นใน Fetus เท่า ๆ กับในแม่ จึงต้องระวังอย่างมาก
  • 63. ประโยชน์ทางคลินิคอื่น ๆ ของ BDZs - ใช้เป็นยานอนหลับ (Hypnotic drugs) Fluraxepam - ใช้แก้ Muscle strain - ใช้ใน Status epilepticus โดยใช้ valium ฉีดเข้าเส้น เลือดดา ได้ผลทุกราย - Alcohol withdrawal : Diazepam ( Oxazepam : เป็น metabolite ตัวหนึ่งของ DZP มี half-life ประมาณ 7 ชั่วโมง - ใช้เป็น pre-anesthetic medication
  • 64. อาการไม่พึงประสงค์( side effects) - Oversedation - Tolerance - Physical dependence - Dysmorphogenesis diazepam ทาให้เกิด Cleft lip and palate (พบได้ทั้งในหนู และในคน) - Overdose - Drugs interaction ( Alcohol and others CNS depressants)
  • 65. Glycerol derivative : Meprobamate
  • 66. Meprobamate ( Miltown , Equanil ) : เริ่มใช้เป็นยาคลายกังวล ในอเมริกาตั้งแต่ปี 1995 - กลไกการออกฤทธิ์ไม่ทราบแน่ชัด - ออกฤทธิ์เร็วภายใน 1 ชั่วโมง half-life 10 hr - ยาผ่านรก ผ่านน้านมได้ - ผลข้างเคียงมีมาก ( ง่วง คันผิวหนัง คลื่นใส้อาเจียน และ ท้องร่วงได้ ) - ติดยาได้ ห้ามใช้ในเด็กอายุต่ากว่า 6 ปี
  • 67. Buspirone ชื่อเคมี Azapirone (azapirodecanedione) : เดิมใช้เป็น antipsychotics และมีฤทธิ์ antidepressant ด้วย - การออกฤทธิ์ไม่ผ่าน GABA แต่จะจับกับ 5-HT 1A receptor - ลดการส่งกระแสประสาทของ serotonin neuron รวมทั้งลด การสังเคราะห์และการหลั่งของ Serotonin - ใช้ได้ผลใน moderate anxiety ใน panic ไม่ได้ผล - ไม่ช่วยลด withdrawal reactions ของ BDZs - อาการง่วงจากยามีน้อยมาก
  • 68. Barbiturate Barbiturate เช่น Phenobarbital,Secobarbital,Pentobarbital ,Thiopental - การออกฤทธิ์ : เพิ่ม GABA activity เหมือน BDZs โดย binding กับ BDZs receptor แต่ คนละตาแหน่งกัน โดยจะมีผลทาให้ GABA - gate chloride channel เปิดนานขึ้น ไม่ใช่เปิดบ่อยขึ้นเหมือน BDZs - ดูดซึมได้ดีทั้งทางปาก และทวารหนัก ไม่ให้ฉีดทางผิวหนังเพราะ เป็นด่างสูงจะทาลายเนื้อเยื่อ - Side effects ส่วนใหญ่คล้าย BDZs - ***ปัจจุบันไม่นิยมใช้คลายกังวล (ตัวอื่นดีกว่า)
  • 69. Generic name Trade name form 1 dose(mg.) Daily dose Alprazolam xanax Tablet .25-1.25 3 Times Chlordiazepoxide Librium Capsule,Tab,Inj. 5-25 3-4 Chorazepate Tranxene Cap, Tab 7.5-15 2-4 Diazepam Valium All form 2-10 2-4 Halazepam Paxipam Tab 20-40 3-4 Lorazepam Ativan Tab. Inj 1-3 2-3 Oxazepam Serax,Zexopam Cap, Tab 10-30 3-4 Prazepam Centrax Tab 7.5-20 อาจให้ 20-40 mg. ครั้งเดียวก่อนนอน Buspirone Buspar,Barpil Cap, Tab 5-10 3 Meprobamate Miltown 400 3-4
  • 70. ข้อควรคานึงก่อนการรักษาด้วยยาทางจิตเวช 1. Diagnosis : ต้องวินิจฉัยโรคให้ถูก แล้วรักษาให้ถูก ถ้าไม่ มั่นใจไม่ควรให้ยา ( ยังไม่รักษา ดีกว่ารักษาผิด) 2. Choice of Drug : การเลือกใช้ยา ( ประวัติการตอบสนอง ต่อยา,ความร่วมมือ, S/E , ประวัติการตอบสนองต่อยาของญาติที่ป่วย, เศรษฐกิจ ,ระยะเวลาการรักษา, ผู้รักษา เช่น ประสบการณ์การใช้ยาแต่ละตัว ) 3. Polypharmacy : การใช้ยาหลายตัวมีผลเสีย ( Drug Interaction , S/E , Complication) 4. ความแตกต่างของเชื้อชาติ ถิ่นที่อยู่ ( รูปร่าง พันธุกรรม อาหาร สิ่งแวดล้อม ความเชื่อ วัฒนธรรม ) 5. ให้ความรู้ความเข้าใจในการเจ็บป่วยและการรักษาด้วยยา ของ ผู้ป่วยและญาติ สาคัญยิ่ง
  • 71. ข้อควรคานึงก่อนการรักษาด้วยยาทางจิตเวช 6. Drug Interaction : การมีปฏิสัมพันธ์กันของยาแต่ละชนิด และ/ หรือ ปฏิสัมพันธ์กับสารเคมีบางตัว หรือการเสริมฤทธิ์ หรือการต้านฤทธิ์ 7. Drug Administration : การบริหารยา ( เมื่อไหร่ฉีด กิน ) 8. ผู้ป่วยได้รับยาจริงหรือเปล่า ได้รับตามขนาดที่ควรได้รับหรือ เปล่า 9. ข้อจากัดในการรักษาด้วยยา ของผู้ป่วยบางประเภท ( เด็ก ผู้สูงอายุ หญิงตั้งครรภ์/ให้นมบุตร โรคบางชนิด เช่น โรคไต เบาหวาน 10 ยาทางจิตเวช ไม่ได้แก้ปัญหาของผู้ป่วยทั้งหมดได้ (หาก Psycho - social Factors ยังไม่ได้รับการแก้ไข ผู้ป่วยก็จะยังไม่หาย )
  • 73. การรักษาด้วยไฟฟ้า ? 1 ล้านคนในโลก 5 หมื่นคนในสหรัฐอเมริกา 2 หมื่นคน ในประเทศไทย 26 ติด ELECTRODE
  • 75. ’30s ’50s ’60s ’70s ’80s ’90s ’00 ’02 ECT (1938) Chlorpromazine Haloperidol Fluphenazine Thioridazine Loxapine Perphenazine First-generation antipsychotics Second-generation antipsychotics Clozapine Risperidone Olanzapine Quetiapine Ziprasidone Developments of Biological Treatments for Psychotic Disorders Kapur S, Remington. Ann Rev Med. 2001;52:503. Worrel et al. Am J Health Syst Pharm. 2000;57:238. (อ้างใน มานิตย์ ศรีสุรภา นนท์,2551) Aripiprazole Partial D2 agonists
  • 76. ประวัติของการรักษาด้วยไฟฟ้า ECT) -1933 : insulin coma therapy ( Dr. Manfred Sakel) - 1934 : Phamacoconvulsive Therapy : ใช้สารหรือยาทาให้ ชัก อาการดีขึ้น - 1938 : ECT ( Ugo Cerletti & Lucio Bini) (unmodified) 1940 >>> Modified - ไทยเริ่มใช้ 2488 (1945) ที่โรงพยาบาลสมเด็จเจ้าพระยา
  • 77. ความหมาย การรักษาโดยการทาให้ชักด้วยไฟฟ้าจานวนหนึ่ง (70-150 volts) กระตุ้นผ่านทาง electrodes เข้าไปในสมอง (Frontotemporal region) ช่วงระยะเวลาหนึ่ง(0.1 – 0.5 sec) แล้วทาให้เกิดอาการชักแบบ grandmal (grandmal seizure) โดยมี Phase ต่างๆ ตามลาดับดังนี้ 1. Unconscious 2. Tonic Phase (stage) 10-15 วินาที 3. Clonic Phase (stage) ประมาณ 30 วินาที 4. Apnea 5. Confusion Unmodified – modified / bilateral-unilaterl sin wave-brief pulse wave
  • 79. Not fully understood !! Neuroendocrine Theory : ออกฤทธิ์คล้ายยาต้านเศร้า ปรับสมดุล NT ( DA, NE, 5-HT (serotonin) ขณะชักเพิ่ม Cerebral Blood Flow (prefrontal region) : ใช้ออกซิเจน กลูโคสมากขึ้น หลักชัก Cerebral Blood Flow ลดลง ใช้ออกซิเจน กลูโคสลดลง Punishment / Amnesia ???
  • 82. ห้ามใช้ ECT ใน... Brain Tumor, Cardiovascular Disease, BP สูง, กระดูก และข้อมีปัญหา ผลข้างเคียง: Sub shock, กระดูกหัก ข้อเคลื่อน หยุดหายใจนาน ปวดกล้ามเนื้อ ปวดหัว Amnesia, N/V , ภาวะเสี่ยง : ตาย (1 ใน10,000) จากหยุดหายใจ นาน/ กระดูก spine หัก /สาลัก มีการอุดกั้นของ ทางเดินหายใจ
  • 83. จะให้การพยาบาลผู้ป่วยที่จะได้รับ ECT อย่างไร ก่อนทา : เตรียมความพร้อม ในเรื่องของประวัติต่างๆ ที่อาจเป็นอันตราย และเรื่อง Lab ต่างๆ เรื่องจิตใจ เรื่องทางกฏหมาย (ใบยินยอม) อย่าลืม NPO ปัสสาวะก่อนทา V/S ขณะทา ออกซิเจน จัดท่า support สังเกต ระวังภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ดูแลขณะสับสน ระวังอุบัติเหตุ (sub shock, prolong apnea,fracture) หลังทา ให้ออกซิเจนต่อ ผูกยึด(หากจาเป็น) ดูแลใกล้ชิด V/S ประเมิน การรับรู้......ให้อาหาร สังเกตผลข้างเคียง บรรเทาอาการ ลดความกังวล
  • 84. การบาบัดทางจิตสังคม จิตบาบัด(Psychotherapy) : รายบุคคล รายกลุ่ม ครอบครัว การให้การปรึกษา (Counseling) : รายบุคคล รายกลุ่ม ใช้หลักการที่เรียนในเรื่องสัมพันธภาพเพื่อการบาบัด การสื่อสาร เพื่อการบาบัด การใช้ตนเองเป็นเครื่องมือในการบาบัดมาใช้ Psycho-education : การให้จิตศึกษา (สอน ให้ความรู้ ทางสุขภาพจิตและจิตเวช เช่น ความเครียด โรคทาง จิตเวช ฯลฯ
  • 85. การบาบัดทางจิตสังคม (ต่อ) กิจกรรมบาบัด : นันทนาการ กีฬา ดนตรี ศิลปะ อ่านข่าว ฯลฯ การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อการบาบัด : ให้เหมาะและเอื้อต่อการรักษา สะดวก สะอาด ปลอดภัย ส่งเสริมการฟื้นฟูกาย ใจ
  • 86. ขั้นตอนของ Counseling Counseling 5 ขั้นตอน 1. การสร้างสัมพันธภาพ 2. การสารวจและทาความเข้าใจกับปัญหา 3. การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา 4. การวางแผนแก้ไขปัญหา 5. การประเมินผลและยุติการปรึกษา
  • 87. 1. การสร้างสัมพันธภาพ - ทักทาย - ใส่ใจ - สร้างความคุ้นเคย - ให้ไว้วางใจ ยอมรับ - ให้เล่าเรื่องราว ระบายความรู้สึก
  • 89. L = Look : ต้องดู หรือสังเกตผู้รับการปรึกษา A = Ask : ซักถาม พูดคุย ให้ความสนใจ ใส่ใจในตัวเขา D = Don’t interrupt : อย่าพึ่งไปรบกวนหรือปิดกั้น การเล่าหรือระบายความทุกข์ อย่าหันเห หรือออกนอกเรื่อง
  • 90. D = Don’t change the subject : ฟังเรื่องราวหรือ สิ่งที่เขาเล่าก่อนอย่ารีบเปลี่ยนเรื่องหรือตัดบท หรือ รีบยุติการสนทนา (ยกเว้นบางกรณี) E = Emotion : สนใจและใส่ใจในอารมณ์ ความรู้สึกของ CL (โดยเฉพาะอารมณ์ที่ทาให้ทุกข์) R = Response: ใส่ใจ และตอบสนองคาพูด คาถาม อารมณ์และพฤติกรรมของ CL (ผู้ทุกข์ ผู้โทรฯ)
  • 91. 2. การสารวจและทาความเข้าใจกับปัญหา (ต่อ) - ให้ทบทวนความคิด ความรู้สึก ตัวเอง - เราต้องเข้าใจ ยอมรับในปัญหาหรือเรืองราวที่เขาเล่า โดยไม่ ตาหนิหรือไม่ใส่ใจถึงแม้ฟังดูแล้วคิดว่าเป็นเรื่องธรรมดา/ เรื่องง่ายๆ - ปัญหาที่เขาเริ่มเล่าอาจไม่ใช่ปัญหาที่แท้จริง ถ้าเขายังไม่มั่นใจ หรือไม่ ไว้วางใจ หรือไม่ยอมรับ ไม่เชื่อมั่นเราอย่างเพียงพอ หรือระแวงสงสัย Superficial Problem True Problem
  • 92. 3. การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา - ลักษณะปัญหามี 3 แบบ (แก้ได้หมด แก้ได้บางส่วน แก้ไม่ได้) - ทาอย่างไรให้ทุกข็น้อยที่สุด - ช่วยให้เขารู้ถึงเหตุของปัญหาที่แท้จริงว่าคืออะไร - ลาดับความสาคัญของปัญหา - วิเคราะห์ปัญหาด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ / หรือวิธีอื่นๆ - ไม่ด่วนบอกวิธีแก้ปัญหาให้เขา (เขามักถามหาคาตอบ) - ให้เขาคิดเอง หรือถามถึงวิธีที่เคยใช้ (ซึ่งมักไม่โอเค จึงมาหาเรา)
  • 93. 4. การวางแผนแก้ไขปัญหา - กระตุ้นให้เขาคิดหาหนทางเองก่อน - ให้ข้อมูลเพิ่มเพื่อช่วยให้เขาวางแผนได้ / ตัดสินใจได้ - ให้เขามองเห็นทางสว่าง ได้เบาใจในปัญหาหรือความ ทุกข์ที่กาลังเผชิญ (เพราะไม่ใช่แก้ง่ายๆ ) - ให้เห็นข้อดี ข้อเสีย ของแต่ละทางเลือกในการแก้ปัญหา - วางแผนเพื่อนาสู่การปฏิบัติจริง - อาจต้องลองพูด / ทาให้ดู ( ใช้ศาสตร์และศิลป์)
  • 94. 5. การประเมินผลและยุติการปรึกษา -เป็นขั้นตอนสุดท้าย - ให้เขาทบทวนเรื่องราวปัญหา แนวทางในการแก้ปัญหา ทั้งหมดที่พูดคุยกันมา - ประเมินอารมณ์ความรู้สึก ( น่าจะทุกข์น้อยลง) - ให้ความมั่นใจ - ให้กาลังใจ - นัดครั้งต่อไป (แล้วแต่กรณี)
  • 95. ปุจฉา – วิสัชนา ในห้องนะครับ ประมาณครั้งละ 1 ชม ติดขัดตรงไหน ถามในเฟสก็ได้ครับ