SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 7
รู้จักรับมือ SARS ไวรัส "หวัด" เขย่าโลก


   การแพร่ระบาดของ โรคระบบทางเดินหายใจเฉียบพลันร้ายแรง หรือ โรคซาร์ส
(Severe Acute Respiratory Syndrome : SARS) ได้ฆ่าชีวิตผู้ป่วยทั่วโลกไปแล้วถึง 62
ราย ป่วยกว่า 1,700 คน

    นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ระบุว่า โรคซาร์สนี้ เกิดจากเชื้อไวรัสชนิดใหม่ ที่อยู่ใน
ตระกูลเดียวกับ"โคโรน่าไวรัส" ที่เป็นตัวการก่อไข้หวัด อย่างไรก็ดี ผู้เชี่ยวชาญจำานวน
หนึ่ง ชี้ว่า "โรคซาร์ส" เกิดจากเชื้อไวรัส 2 ชนิด

1. เป็นไวรัสในกลุ่ม "โคโรนาไวรัส" (Corona Virus) ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคหวัดธรรมดา

2. เป็นไวรัสอยู่ในกลุ่ม "พาราไมโซไวรัส" (Paramyxo Virus) ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคหัด
คางทูม และโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ

ต้นเหตุของการเกิดโรคยังซับซ้อน และยังอธิบายได้ไม่ชัดเจน

ต้นกำาเนิดของโรค
    องค์การอนามัยโลกระบุว่า พบเชื้อที่เมืองกวางตุ้งของจีน ก่อนข้ามไปยังเกาะฮ่องกง
ซึ่งเป็นที่ที่เหยื่อรายแรกได้ติดเชื้อก่อนเดินทางกลับไปเวียดนาม สิงคโปร์ แคนาดา และ
หลังจากนั้น ก็แพร่ระบาดไปทั่วโลก

    นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ขององค์การอนามัยโลกระบุว่า ชนิดของเชื้อไวรัสนี้ น่าจะ
มีต้นกำาเนิดจากสัตว์มากกว่าคน และไม่เกี่ยวข้องอันใด กับเชื้อไวรัสที่ก่อให้เกิดอาการ
ของโรคไข้หวัดใหญ่ในคน แต่เป็นเชื้อไวรัสพวกเดียวกับที่ก่อให้เกิดโรคปอดบวมและ
โรคทางเดินทางหายใจเพราะติดเชื้อ ซึงแม้แต่เชื้อแบคทีเรียบางชนิดก็เป็นสาเหตุของ
                                     ่
การเกิดโรคได้เช่นกัน และยังไม่มีหลักฐานอันใดที่บ่งชี้ว่าเป็นอาวุธชีวภาพ

อาการผูติดโรคเป็นอย่างไร?
       ้
     องค์การอนามัยโลกนั้นระบุว่า ผู้ติดเชื้อไวรัสจนเป็นโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันร้าย
แรงจะมีอาการไข้ขึ้นสูง 38-40 องศาเซลเซียส, ไอแหบแห้ง, หายใจขัดและเป็นช่วงสั้นๆ
เมื่อนำาตัวผู้ป่วยไปเอกซเรย์ จะพบความผิดปกติที่ปอด ซึงดูคล้ายเป็นปอดบวม
                                                         ่

   ส่วนอาการรองๆ ลงมาที่ทำาให้พิจารณาตัดสินได้ว่า เป็นโรคซาร์สหรือไม่ ได้แก่
อาการปวดศีรษะ หนาวสั่น กล้ามเนื้อตึง เบื่ออาหาร มึนงงและท้องร่วง

    แต่อาการต่างๆ เหล่านี้ จะเกิดขึ้นหลังจากการฝังตัวของเชื้อแล้ว 2-7 วัน และ 3-5 วัน
เป็นส่วนใหญ่ ก่อนผู้ป่วยจะรู้สึกตัวเหมือนมีอาการของไข้หวัดใหญ่

ควรปฏิบติกบผู้ปวยอย่างไร?
       ั ั     ่
   ที่จริง เวลานี้ ทางฝ่ายแพทย์ยังไม่มีและไม่รู้ว่า จะมีตัวยาเฉพาะสำาหรับการรักษาผู้
ป่วยหรือไม่ นอกจากการใช้ "ริบาไวริน" ที่เป็นยาแอนตี้ไวรัส ควบคู่กับยาสเตียรอยด์ไป
พลางๆ และสามารถรักษาให้หายได้ ถ้าหากผู้ป่วยได้รับยาตั้งแต่ระยะต้นของการติดเชื้อ

โรคซาร์สนี้แพร่ระบาดไปได้อย่างไร?
ผ่านฝอยละอองนำ้าลายผู้ติดเชื้อที่ไอหรือจาม ประชิดตัวในระยะที่ไม่เกิน 3 เมตร
โดยทีเชื้อไวรัสซาร์สยังสามารถลอยตัวอยู่ในอากาศนอกตัวคนไข้ได้นานราว 3-6 ชั่วโมง
      ่
และเกาะติดอยู่กับข้างของเครื่องใช้ในบริเวณ ซึงหากมีใครสัมผัสในระยะเวลาดังกล่าว
                                                    ่
แล้วใช้บริเวณที่มีเชื้อไวรัสนี้อยู่ ป้ายเข้าที่ตา จมูกหรือปาก ก็อาจติดเชื้อไวรัสร้ายนี้ได้

   มีระยะการฟักตัวสั้น 2-7 วัน โดยส่วนใหญ่จะอยู่ระหว่าง 3-5 วัน การแพร่ระบาดของ
โรคนี้จะช้ากว่าโรคไข้หวัดใหญ่

   อย่างไรก็ตาม เชื้อโรคสามารถอยู่ในอณูอากาศในเวลาอันสั้นเพียงไม่กี่วินาที

การติดต่อ
  การใกล้ชิดและสัมผัสกับผูป่วย โดยเฉพาะของเหลว เช่น นำ้าลาย นำ้ามูก เจ้าหน้าที่
                          ้
แพทย์ พยาบาลและเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล รวมทั้งญาติผป่วยมีความเสียงต่อการติดเชื้อ
                                                ู้              ่
และทำาให้เกิดการแพร่ระบาดมากที่สุด

วิธป้องกัน
   ี
- แยกผู้ป่วยในห้องต่างหาก ที่มีการควบคุมระบบถ่ายเทอากาศและฆ่าเชื้อโรคอย่างดี

- แพทย์ พยาบาล และญาติผู้ป่วย ต้องสวมอุปกรณ์ป้องกันที่มีประสิทธิภาพเมื่อเข้าใกล้
คนป่วย เช่น หน้ากากป้องกันการติดเชื้อ แว่นตา ผ้ากันเปื้อน ผ้าคลุมศีรษะ และถุงมือ

- หากไม่จำาเป็นควรงดเดินทางไปประเทศที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยง

- คนที่เดินทางกลับจากต่างประเทศที่จัดอยู่ในกลุ่มเสี่ยงต่อการติดเชื้อ ควรรีบอาบนำ้า
ทำาความสะอาดร่างกาย และกักตัวเอง ไม่พบปะกับใคร ห่างจากคนใกล้ชิดเป็นเวลา
อย่างน้อย 7 วัน

- เมื่อพบว่ามีอาการไม่แน่ใจว่าจะติดเชื้อหรือไม่ ควรอยู่ห่างจากคนใกล้ชิดไม่ตำ่ากว่า 5
เมตร แล้วให้ไปพบแพทย์ทันที

- เจ้าหน้าที่โรงพยาบาล โรงแรม พนักงานสายการบินระหว่างประเทศ ตลอดทั้งแม่บ้าน
ของชาวต่างชาติโดยเฉพาะประเทศที่มีการระบาดของโรคดังกล่าว เป็นอีกหนึ่งกลุ่ม
เสี่ยงทีต้องระมัดระวังเป็นพิเศษเช่นกัน หากไม่แน่ใจควรสวมหน้ากากป้องกันการติดเชื้อ
        ่

   •
   การรักษา
      จนถึงขณะนี้ ยังไม่พบว่ามียาตัวใดที่จะสามารถรักษาหรือป้องกันโรคนี้ได้

   •   การรักษาผู้ป่วย ต้องใช้แพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง และทำาการรักษาพยาบาล
       อย่างใกล้ชิดเท่านั้น

   •   ผู้ป่วยที่อยู่ระยะฟักฟื้นต้องเฝ้าดูอาการอย่างใกล้ชิด และควรพักผ่อนอยู่ในบ้าน
       อย่างน้อย 7 วัน

ที่มา : ข่าวจาก นสพ. มติชน ฉบับวันที่ 3 เม.ย 2546
       http://www.matichon.co.th/matichon/matichon.php
ข้อมูลล่าสุดเกียวกับโรคซาร์ส
               ่




๑. เชื้อไวรัสซาร์ส มีการกลายพันธุ์ได้เร็ว ปัจจุบันพบว่ามีอย่างน้อย ๑๙ สายพันธุ์ เชื้อทีกลายพันธุ์อาจมีการก่ออันตราย
                                                                                       ่

รุนแรงขึ้น หรืออาจอ่อนตัวลง แต่สามารถอยู่ในคนเราได้ยาวนาน โดยก่อให้เกิดอาการรุนแรงน้อยลงก็ได้



๒. ระยะฟักตัว (นับแต่เริ่มติดเชื้อจนมีอาการเจ็บป่วย) การศึกษาในฮ่องกง พบว่ามีระยะฟักตัว ๒-๑๖ วัน (เฉลี่ย ๖ วัน)

องค์การอนามัยโลกกำาหนดระยะฟักตัว ๒-๗ วัน (ไม่เกิน ๑๐ วัน) ดังนั้นการกักบริเวณผู้ติดเชื้อเพื่อเฝ้าดูอาการจึงกำาหนดเป็น

๑๐-๑๔ วัน



๓. อาการ จากการศึกษาในฮ่องกงและแคนาดา พบอาการสำาคัญของผูป่วยโรคซาร์ส ได้แก่ ไข้ ตัวร้อน (ร้อยละ ๙๙-๑๐๐),
                                                        ้

หนาวสั่น (ร้อยละ ๗๓.๒), ปวด เมื่อยกล้ามเนื้อ (ร้อยละ ๔๙.๓-๖๐.๙), ไอ (ร้อยละ ๕๗.๓-๖๙.๔), ปวดศีรษะ (ร้อยละ

๓๕.๔-๕๕.๘), เวียนศีรษะ (ร้อยละ ๔๒.๘) และหายใจลำาบาก ส่วนอาการอื่นที่อาจพบได้ มีทองเดิน, ไอมีเสมหะ, นำ้ามูก
                                                                                ้

ไหล, คลื่นไส้ อาเจียน



การตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบมีเม็ดเลือดขาวตำ่า, เกล็ดเลือดตำ่า, เอนไซม์ตับ (AST, ALT) สูงผิด ปกติ, ภาพถ่ายรังสี (เ

อกซเรย์) ทรวงอกมีความผิดปกติ ร้อยละ ๗๘.๓



๔. การวินิจฉัย องค์การอนามัยโลกได้ทบทวนปรับปรุงวิธีวินิจฉัยโรคซาร์ส ดังนี้

ผูป่วยที่น่าสงสัย (suspect case) ว่าจะเป็นโรคนี้ หมายถึง
  ้



๑. ผูป่วยที่เข้ารับการรักษาด้วยอาการต่อไปนี้
     ้


ก. ไข้สูงมากกว่า ๓๘ องศาเซลเซียส และ


ข. ไอ หรือหายใจลำาบาก และ


ค. มีประวัติอย่างใดอย่างหนึ่ง (หรือมากกว่า) ในการสัมผัสโรคภายใน ๑๐ วัน ดังนี้


- มีประวัติสัมผัสใกล้ชิดกับผูป่วยที่มีผลการวินิจฉัยจากโรงพยาบาลว่าน่าสงสัย หรือน่าจะเป็นโรคซาร์สในช่วง ๑๐ วันก่อนเริ่ม
                             ้

ป่วย (การสัมผัสใกล้ชิด หมายถึง การดูแลรักษาผู้ป่วย การอยู่อาศัยด้วยกัน หรือสัมผัสโดยตรงกับนำ้ามูก นำ้าลายของผู้ป่วย

การไอ หรือจาม)


- มีประวัติการเดินทางไปในประเทศ หรือพื้นที่ที่มีการแพร่ระบาดของโรคในช่วง ๑๐ วันก่อนเริ่มป่วย



๒. ผูป่วยที่เสียชีวิตหลังจากวันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖ ด้วยโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันที่ไม่สามารถอธิบายสาเหตุ และไม่
     ้

ได้ผ่าศพพิสูจน์ โดยมีประวัติอย่างใดอย่างหนึ่งตามข้อ ค. ผูป่วยที่น่าจะเป็น (probable case) หมายถึง
                                                         ้
- ผู้   ป่วยที่

น่า     สงสัย

ซึ่ง    มีผล

        การ
เอกซเรย์ปอดพบว่ามีลักษณะเข้าได้กับปอดบวม หรือภาวะหายใจล้มเหลว (respiratory distress syndrome)



- ผูป่วยที่น่าสงสัย ซึ่งเสียชีวิตและได้รับการผ่าพิสูจน์ศพเข้าได้กับพยาธิสภาพของภาวะหายใจล้มเหลว ที่ไม่ทราบสาเหตุ
    ้

ชัดเจน



การยืนยันผลการวินิจฉัย

ในปัจจุบัน การวินิจฉัยยืนยันการเป็นโรคนี้สามารถทำาได้โดยการตรวจหาไวรัสซาร์สด้วยวิธีการต่างๆ ได้แก่ การตรวจหาไวรัส

ซาร์ส (ไวรัสโคโรนา) ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน หรือการเพาะหาเชื้อในหลอดทดลอง, การตรวจหาภูมิต้านทาน (แอน

ติบอดี) ต่อไวรัสซาร์ส โดยวิธี IFA และ ELISA, การตรวจวินิจฉัยทางโมเลกุลโดยการเพิ่มจำานวนรหัสพันธุกรรม ที่เรียกว่า

Real time PCR (ช่วยให้ความแม่นยำา และใช้เวลาเพียง ๒ ชั่วโมง)



๕. การรักษา ส่วนใหญ่จะเป็นการรักษาตามอาการ และใช้อุปกรณ์ช่วยการหายใจ (ในรายที่มีภาวะหายใจล้มเหลว) ใน

ปัจจุบันยังไม่มียาหรือวิธีการรักษาจำาเพาะ มีการทดลองใช้เซรุ่มจากผู้ที่หายจากโรค ซึ่งพบว่าได้ผลถ้าให้ระยะสัปดาห์แรก

ของโรค ในขณะนี้มีการพยายามทดลองหายาต้านไวรัสซาร์สโดยจำาเพาะ ซึ่งคาดว่าอาจนำามาใช้ในอนาคต



๖. อัตราตายของโรคซาร์ส แต่เดิมรายงานว่ามีอัตราเสียชีวิตร้อยละ ๓-๕ ของผู้ที่เป็นโรคนี้ (ซึ่งไม่แตกต่างจากโรค

ปอดบวมทั่วไป) และอัตราเสียชีวิตจะสูงขึ้นตามอายุ (ส่วนใหญ่มีอายุเกิน ๔๐ ปี)



ในปัจจุบันมีข้อมูลชัดเจนขึ้นว่า อัตราตายของโรคนี้น่าจะอยู่ระหว่างร้อยละ ๙.๙-๑๖.๖ และอัตราตายจะเพิ่มสูงขึ้นตามอายุที่

มากขึ้น ในเด็กไม่มีการเสียชีวิตเลย ผูป่วยอายุ ๑๕-๓๔ ปี เสียชีวิตเพียงร้อยละ ๐.๗ และจะสูงขึ้นเรื่อยๆ ตามอายุ สำาหรับ
                                     ้

กลุ่มอายุเกิน ๗๕ ปี จะเสียชีวิตถึงร้อยละ ๖๒.๖



๗. การป้องกัน โรคนี้สามารถติดต่อโดยการสัมผัสละอองนำ้าลาย เสมหะ เข้าทางปากและจมูก แต่เดิมเชื่อว่าเชื้อไวรัส

โคโรนาจะมีชีวิตอยู่นอกร่างกายมนุษย์ได้ไม่เกิน ๓ ชั่วโมง แต่จากข้อมูลการศึกษาใหม่ๆ พบว่าอยู่ได้นานกว่า ๑ วัน โดย

เฉพาะในอุจจาระและปัสสาวะจะอยู่ได้นานหลายวัน



การแพร่กระจายเชื้อซาร์ส เดิมเชื่อว่าติดต่อทางระบบหายใจ แต่จากการศึกษาในฮ่องกงพบว่า เชื้อนี้มอยู่ในนำ้าเหลือง
                                                                                            ี

อุจจาระ และปัสสาวะของผู้ป่วยเมื่อย่างเข้าสัปดาห์ที่ ๓ ของการป่วย ทำาให้น่าเป็นห่วงว่า นอกจากติดต่อทางเดินหายใจแล้ว

เชื้อซาร์สยังอาจติดต่อทางอาหารการกิน (เช่น เชื้อบิด อหิวาต์) ได้อีกด้วย



การป้องกันที่ดีที่สุด ได้แก่ การล้างมือ, การเข้มงวดในเรื่องสุขอนามัย, การใส่หน้ากากอนามัย



การกักกันผู้สัมผัสโรคนาน ๑๐-๑๔ วัน เป็นมาตรการจำาเป็นสำาหรับตัดวงจรการระบาด (จนถึงวันที่ ๗ พฤษภาคม ในจีนมีการ

กักกันผูสัมผัสโรคมากกว่า ๒๐,๐๐๐ คน)
        ้

การพัฒนาวัคซีน คาดว่าน่าจะมีวัคซีนใช้ป้องกันโรคนี้ได้ภายใน ๑-๒ ปีข้างหน้า

(รายละเอียดเกี่ยวกับโรคซาร์ส สามารถอ่านได้จากบทความเรื่อง "Sever acute respiratory syndrome
(SARS)" ของ นฤมล จิรพนากร และ ยง ภู่วรวรรณ ในวารสารคลินิก ฉบับเดือนพฤษภาคม ๒๕๔๖)

โรคซาร์สยังไม่ซา

จนถึงเดือนพฤษภาคม ทั่วโลกพบการแพร่กระจายของโรคซาร์สมากขึ้น และมีผู้ที่ตายจากโรคนี้เพิ่มมากขึ้น (ดูตาราง) โดย

เฉพาะอย่างยิ่งในประเทศจีน ฮ่องกง และไต้หวัน ในประเทศจีน แต่เดิมทางการจีนมีการปิดข่าว จนโรคได้ลุกลามจาก

กวางตุ้งไปยังปักกิ่ง และมณฑลต่างๆ รวมทั้งแพร่ต่อไปยังประเทศต่างๆ วันที่ ๒๐ เมษายน รัฐบาลได้สั่งปลดรัฐมนตรี

สาธารณสุข และนายกเทศมนตรีนครปักกิ่ง ที่ไม่สามารถสกัดการระบาดของโรคนี้ หลังจากนั้นทางการได้ดำาเนินการควบคุม

โรคอย่างเข้มงวด และมีการรายงานสถานการณ์โรคอย่างเปิดเผยทางสื่อมวลชนทุกวัน รวมทั้งได้ให้ผู้เชี่ยวชาญองค์การ

อนามัยโลกเข้าไปมีส่วนร่วมในการตรวจสอบ และเสนอแนะในการควบคุมโรคอย่างโปร่งใส



การระบาดของโรคหนักหน่วงที่สุดในนครหลวงปักกิ่ง มีการสั่งปิดโรงเรียนและมหาวิทยาลัย นานนับเดือน (ใช้วิธีเรียนทาง

ไกลที่บ้านแทน) โรงพยาบาลหลายแแห่งถูกสั่งปิด และมีการกักกันผู้สัมผัสโรคมากกว่า ๒๐,๐๐๐ คน ทั้งนี้เพื่อสกัดกั้นไม่ให้

มีโรคลุกลาม ในปัจจุบันจีนได้ทำาการรณรงค์ใหญ่ "ทำาสงครามกับโรคซาร์ส" ทั่วทั้งประเทศ เพราะถือเป็นภัยคุกคามที่ร้ายแรง

ต่อชีวิตและความมั่นคง (จนมีชาวตะวันตกเปรียบเปรยว่าเป็นเหมือนกรณี ๑๑ กันยายน ตึกเวิร์ลเทรดในสหรัฐอเมริกาถูกผู้

ก่อการร้ายถล่ม)



ในไต้หวัน เริ่มมีการระบาดรุนแรง จนรัฐมนตรีสาธารณสุขต้องประกาศลาออก เมื่อวันที่ ๑๗ พฤษภาคม ทั่วโลกถือว่า โรค

ซาร์ส-วายร้ายตัวใหม่ เป็นภัยคุกคามต่อมนุษยชาติ นักวิทยาศาสตร์และแพทย์ทั่วโลกได้ร่วมมือกันหาทางป้องกันและ

ควบคุมโรคนี้อย่างไม่เคยมีมาก่อน และมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างไม่ปิดบัง รวมทั้งมีการสร้างเครือข่ายการทำางานและแลก

เปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน ตัวอย่างแห่งความสำาเร็จเบื้องแรกก็คือการใช้เวลาเพียงเดือนเศษในการค้นหาจนพบสาเหตุของโรค

(พบเชื้อไวรัสโคโรนา หรือไวรัสซาร์สตัวใหม่) ในขณะที่โรคเอดส์ใช้เวลาเกือบ ๒ ปีกว่าจะทราบว่าเชื้อเอชไอวีเป็นสาเหตุ
บริหารสมอง เป็น 2 เท่า
    คุณเคยมีอาการแบบนี้หรือเปล่า คิดช้า หลงๆลืม นึกไม่ออกว่าตัวเองจะทำาอะไร อาการเหล่านี้หมายถึงคุณต้องรีบกลับมาบริ
    หารเป็น   2 เท่ากันแล้ว คลิกที่นี่
•         สีเคมีกาย มากสี มากโรค
•         กระเป๋ากันง่วง
•         แนะนำาหมอชาวบ้าน
    ดูวีดิโอย้อนหลัง

    อ่านฉบับย้อนหลัง




    โรคฮิต ชีวิตติดจอออนไลน์
    e-health สำาหรับ Windows
    e-health สำาหรับ Mac

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว Utai Sukviwatsirikul
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบWan Ngamwongwan
 
Infectious epidemic
Infectious epidemicInfectious epidemic
Infectious epidemictaem
 
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน sucheera Leethochawalit
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...Loveis1able Khumpuangdee
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกPrachaya Sriswang
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า Utai Sukviwatsirikul
 
คำแนะนำ Dengvaxia สำหรับแพทย์ 9 ธค 17
คำแนะนำ Dengvaxia สำหรับแพทย์ 9 ธค 17คำแนะนำ Dengvaxia สำหรับแพทย์ 9 ธค 17
คำแนะนำ Dengvaxia สำหรับแพทย์ 9 ธค 17Pawin Numthavaj
 
โรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดโรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดWan Ngamwongwan
 
Vaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนVaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนWitsalut Saetae
 
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนกลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนPawat Logessathien
 
การให้วัคซีน VZV และ dT
การให้วัคซีน VZV และ dTการให้วัคซีน VZV และ dT
การให้วัคซีน VZV และ dTChananart Yuakyen
 

La actualidad más candente (20)

แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
 
Infectious epidemic
Infectious epidemicInfectious epidemic
Infectious epidemic
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
Ppe for yasothon hospital personnel
Ppe for yasothon hospital personnelPpe for yasothon hospital personnel
Ppe for yasothon hospital personnel
 
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
 
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
แนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาผู้ป่วยมาลาเรียในประเทศไทย พ.ศ.2557
 
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
 
คำแนะนำ Dengvaxia สำหรับแพทย์ 9 ธค 17
คำแนะนำ Dengvaxia สำหรับแพทย์ 9 ธค 17คำแนะนำ Dengvaxia สำหรับแพทย์ 9 ธค 17
คำแนะนำ Dengvaxia สำหรับแพทย์ 9 ธค 17
 
Management of tb ppt
Management of tb pptManagement of tb ppt
Management of tb ppt
 
Dangue fever pp
Dangue fever ppDangue fever pp
Dangue fever pp
 
โรคไข้หวัด
โรคไข้หวัดโรคไข้หวัด
โรคไข้หวัด
 
Vaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนVaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชน
 
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนกลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
 
การให้วัคซีน VZV และ dT
การให้วัคซีน VZV และ dTการให้วัคซีน VZV และ dT
การให้วัคซีน VZV และ dT
 
Pah guideline 2013
Pah guideline 2013Pah guideline 2013
Pah guideline 2013
 

Similar a Sars

2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อpissamaiza Kodsrimoung
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อnuting
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23mewsanit
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)chalunthorn teeyamaneerat
 
Exanthematous fever in children
Exanthematous fever in childrenExanthematous fever in children
Exanthematous fever in childrenThorsang Chayovan
 
แนวทางการเฝ้าระวังและสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
แนวทางการเฝ้าระวังและสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019แนวทางการเฝ้าระวังและสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
แนวทางการเฝ้าระวังและสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019CharinNoppakaobelser
 
Surveillance Systems
Surveillance SystemsSurveillance Systems
Surveillance SystemsUltraman Taro
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรียสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรียนายสามารถ เฮียงสุข
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 
Proparsol upper respiratory tract infection
Proparsol upper respiratory tract infectionProparsol upper respiratory tract infection
Proparsol upper respiratory tract infectionklanarong ratidech
 

Similar a Sars (20)

2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
corona virus 65.ppt
corona virus 65.pptcorona virus 65.ppt
corona virus 65.ppt
 
02 lepto
02 lepto02 lepto
02 lepto
 
Management of patient with asthma
Management of patient with asthmaManagement of patient with asthma
Management of patient with asthma
 
01 recent advance 2
01 recent advance 201 recent advance 2
01 recent advance 2
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
 
Exanthematous fever in children
Exanthematous fever in childrenExanthematous fever in children
Exanthematous fever in children
 
2523
25232523
2523
 
แนวทางการเฝ้าระวังและสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
แนวทางการเฝ้าระวังและสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019แนวทางการเฝ้าระวังและสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
แนวทางการเฝ้าระวังและสอบสวนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
 
Asthma
AsthmaAsthma
Asthma
 
Surveillance Systems
Surveillance SystemsSurveillance Systems
Surveillance Systems
 
Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรียสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 
Proparsol upper respiratory tract infection
Proparsol upper respiratory tract infectionProparsol upper respiratory tract infection
Proparsol upper respiratory tract infection
 

Sars

  • 1. รู้จักรับมือ SARS ไวรัส "หวัด" เขย่าโลก การแพร่ระบาดของ โรคระบบทางเดินหายใจเฉียบพลันร้ายแรง หรือ โรคซาร์ส (Severe Acute Respiratory Syndrome : SARS) ได้ฆ่าชีวิตผู้ป่วยทั่วโลกไปแล้วถึง 62 ราย ป่วยกว่า 1,700 คน นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ระบุว่า โรคซาร์สนี้ เกิดจากเชื้อไวรัสชนิดใหม่ ที่อยู่ใน ตระกูลเดียวกับ"โคโรน่าไวรัส" ที่เป็นตัวการก่อไข้หวัด อย่างไรก็ดี ผู้เชี่ยวชาญจำานวน หนึ่ง ชี้ว่า "โรคซาร์ส" เกิดจากเชื้อไวรัส 2 ชนิด 1. เป็นไวรัสในกลุ่ม "โคโรนาไวรัส" (Corona Virus) ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคหวัดธรรมดา 2. เป็นไวรัสอยู่ในกลุ่ม "พาราไมโซไวรัส" (Paramyxo Virus) ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคหัด คางทูม และโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ ต้นเหตุของการเกิดโรคยังซับซ้อน และยังอธิบายได้ไม่ชัดเจน ต้นกำาเนิดของโรค องค์การอนามัยโลกระบุว่า พบเชื้อที่เมืองกวางตุ้งของจีน ก่อนข้ามไปยังเกาะฮ่องกง ซึ่งเป็นที่ที่เหยื่อรายแรกได้ติดเชื้อก่อนเดินทางกลับไปเวียดนาม สิงคโปร์ แคนาดา และ หลังจากนั้น ก็แพร่ระบาดไปทั่วโลก นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ขององค์การอนามัยโลกระบุว่า ชนิดของเชื้อไวรัสนี้ น่าจะ มีต้นกำาเนิดจากสัตว์มากกว่าคน และไม่เกี่ยวข้องอันใด กับเชื้อไวรัสที่ก่อให้เกิดอาการ ของโรคไข้หวัดใหญ่ในคน แต่เป็นเชื้อไวรัสพวกเดียวกับที่ก่อให้เกิดโรคปอดบวมและ โรคทางเดินทางหายใจเพราะติดเชื้อ ซึงแม้แต่เชื้อแบคทีเรียบางชนิดก็เป็นสาเหตุของ ่ การเกิดโรคได้เช่นกัน และยังไม่มีหลักฐานอันใดที่บ่งชี้ว่าเป็นอาวุธชีวภาพ อาการผูติดโรคเป็นอย่างไร? ้ องค์การอนามัยโลกนั้นระบุว่า ผู้ติดเชื้อไวรัสจนเป็นโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันร้าย แรงจะมีอาการไข้ขึ้นสูง 38-40 องศาเซลเซียส, ไอแหบแห้ง, หายใจขัดและเป็นช่วงสั้นๆ เมื่อนำาตัวผู้ป่วยไปเอกซเรย์ จะพบความผิดปกติที่ปอด ซึงดูคล้ายเป็นปอดบวม ่ ส่วนอาการรองๆ ลงมาที่ทำาให้พิจารณาตัดสินได้ว่า เป็นโรคซาร์สหรือไม่ ได้แก่ อาการปวดศีรษะ หนาวสั่น กล้ามเนื้อตึง เบื่ออาหาร มึนงงและท้องร่วง แต่อาการต่างๆ เหล่านี้ จะเกิดขึ้นหลังจากการฝังตัวของเชื้อแล้ว 2-7 วัน และ 3-5 วัน เป็นส่วนใหญ่ ก่อนผู้ป่วยจะรู้สึกตัวเหมือนมีอาการของไข้หวัดใหญ่ ควรปฏิบติกบผู้ปวยอย่างไร? ั ั ่ ที่จริง เวลานี้ ทางฝ่ายแพทย์ยังไม่มีและไม่รู้ว่า จะมีตัวยาเฉพาะสำาหรับการรักษาผู้ ป่วยหรือไม่ นอกจากการใช้ "ริบาไวริน" ที่เป็นยาแอนตี้ไวรัส ควบคู่กับยาสเตียรอยด์ไป พลางๆ และสามารถรักษาให้หายได้ ถ้าหากผู้ป่วยได้รับยาตั้งแต่ระยะต้นของการติดเชื้อ โรคซาร์สนี้แพร่ระบาดไปได้อย่างไร?
  • 2. ผ่านฝอยละอองนำ้าลายผู้ติดเชื้อที่ไอหรือจาม ประชิดตัวในระยะที่ไม่เกิน 3 เมตร โดยทีเชื้อไวรัสซาร์สยังสามารถลอยตัวอยู่ในอากาศนอกตัวคนไข้ได้นานราว 3-6 ชั่วโมง ่ และเกาะติดอยู่กับข้างของเครื่องใช้ในบริเวณ ซึงหากมีใครสัมผัสในระยะเวลาดังกล่าว ่ แล้วใช้บริเวณที่มีเชื้อไวรัสนี้อยู่ ป้ายเข้าที่ตา จมูกหรือปาก ก็อาจติดเชื้อไวรัสร้ายนี้ได้ มีระยะการฟักตัวสั้น 2-7 วัน โดยส่วนใหญ่จะอยู่ระหว่าง 3-5 วัน การแพร่ระบาดของ โรคนี้จะช้ากว่าโรคไข้หวัดใหญ่ อย่างไรก็ตาม เชื้อโรคสามารถอยู่ในอณูอากาศในเวลาอันสั้นเพียงไม่กี่วินาที การติดต่อ การใกล้ชิดและสัมผัสกับผูป่วย โดยเฉพาะของเหลว เช่น นำ้าลาย นำ้ามูก เจ้าหน้าที่ ้ แพทย์ พยาบาลและเจ้าหน้าที่โรงพยาบาล รวมทั้งญาติผป่วยมีความเสียงต่อการติดเชื้อ ู้ ่ และทำาให้เกิดการแพร่ระบาดมากที่สุด วิธป้องกัน ี - แยกผู้ป่วยในห้องต่างหาก ที่มีการควบคุมระบบถ่ายเทอากาศและฆ่าเชื้อโรคอย่างดี - แพทย์ พยาบาล และญาติผู้ป่วย ต้องสวมอุปกรณ์ป้องกันที่มีประสิทธิภาพเมื่อเข้าใกล้ คนป่วย เช่น หน้ากากป้องกันการติดเชื้อ แว่นตา ผ้ากันเปื้อน ผ้าคลุมศีรษะ และถุงมือ - หากไม่จำาเป็นควรงดเดินทางไปประเทศที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยง - คนที่เดินทางกลับจากต่างประเทศที่จัดอยู่ในกลุ่มเสี่ยงต่อการติดเชื้อ ควรรีบอาบนำ้า ทำาความสะอาดร่างกาย และกักตัวเอง ไม่พบปะกับใคร ห่างจากคนใกล้ชิดเป็นเวลา อย่างน้อย 7 วัน - เมื่อพบว่ามีอาการไม่แน่ใจว่าจะติดเชื้อหรือไม่ ควรอยู่ห่างจากคนใกล้ชิดไม่ตำ่ากว่า 5 เมตร แล้วให้ไปพบแพทย์ทันที - เจ้าหน้าที่โรงพยาบาล โรงแรม พนักงานสายการบินระหว่างประเทศ ตลอดทั้งแม่บ้าน ของชาวต่างชาติโดยเฉพาะประเทศที่มีการระบาดของโรคดังกล่าว เป็นอีกหนึ่งกลุ่ม เสี่ยงทีต้องระมัดระวังเป็นพิเศษเช่นกัน หากไม่แน่ใจควรสวมหน้ากากป้องกันการติดเชื้อ ่ • การรักษา จนถึงขณะนี้ ยังไม่พบว่ามียาตัวใดที่จะสามารถรักษาหรือป้องกันโรคนี้ได้ • การรักษาผู้ป่วย ต้องใช้แพทย์ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง และทำาการรักษาพยาบาล อย่างใกล้ชิดเท่านั้น • ผู้ป่วยที่อยู่ระยะฟักฟื้นต้องเฝ้าดูอาการอย่างใกล้ชิด และควรพักผ่อนอยู่ในบ้าน อย่างน้อย 7 วัน ที่มา : ข่าวจาก นสพ. มติชน ฉบับวันที่ 3 เม.ย 2546 http://www.matichon.co.th/matichon/matichon.php
  • 3. ข้อมูลล่าสุดเกียวกับโรคซาร์ส ่ ๑. เชื้อไวรัสซาร์ส มีการกลายพันธุ์ได้เร็ว ปัจจุบันพบว่ามีอย่างน้อย ๑๙ สายพันธุ์ เชื้อทีกลายพันธุ์อาจมีการก่ออันตราย ่ รุนแรงขึ้น หรืออาจอ่อนตัวลง แต่สามารถอยู่ในคนเราได้ยาวนาน โดยก่อให้เกิดอาการรุนแรงน้อยลงก็ได้ ๒. ระยะฟักตัว (นับแต่เริ่มติดเชื้อจนมีอาการเจ็บป่วย) การศึกษาในฮ่องกง พบว่ามีระยะฟักตัว ๒-๑๖ วัน (เฉลี่ย ๖ วัน) องค์การอนามัยโลกกำาหนดระยะฟักตัว ๒-๗ วัน (ไม่เกิน ๑๐ วัน) ดังนั้นการกักบริเวณผู้ติดเชื้อเพื่อเฝ้าดูอาการจึงกำาหนดเป็น ๑๐-๑๔ วัน ๓. อาการ จากการศึกษาในฮ่องกงและแคนาดา พบอาการสำาคัญของผูป่วยโรคซาร์ส ได้แก่ ไข้ ตัวร้อน (ร้อยละ ๙๙-๑๐๐), ้ หนาวสั่น (ร้อยละ ๗๓.๒), ปวด เมื่อยกล้ามเนื้อ (ร้อยละ ๔๙.๓-๖๐.๙), ไอ (ร้อยละ ๕๗.๓-๖๙.๔), ปวดศีรษะ (ร้อยละ ๓๕.๔-๕๕.๘), เวียนศีรษะ (ร้อยละ ๔๒.๘) และหายใจลำาบาก ส่วนอาการอื่นที่อาจพบได้ มีทองเดิน, ไอมีเสมหะ, นำ้ามูก ้ ไหล, คลื่นไส้ อาเจียน การตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบมีเม็ดเลือดขาวตำ่า, เกล็ดเลือดตำ่า, เอนไซม์ตับ (AST, ALT) สูงผิด ปกติ, ภาพถ่ายรังสี (เ อกซเรย์) ทรวงอกมีความผิดปกติ ร้อยละ ๗๘.๓ ๔. การวินิจฉัย องค์การอนามัยโลกได้ทบทวนปรับปรุงวิธีวินิจฉัยโรคซาร์ส ดังนี้ ผูป่วยที่น่าสงสัย (suspect case) ว่าจะเป็นโรคนี้ หมายถึง ้ ๑. ผูป่วยที่เข้ารับการรักษาด้วยอาการต่อไปนี้ ้ ก. ไข้สูงมากกว่า ๓๘ องศาเซลเซียส และ ข. ไอ หรือหายใจลำาบาก และ ค. มีประวัติอย่างใดอย่างหนึ่ง (หรือมากกว่า) ในการสัมผัสโรคภายใน ๑๐ วัน ดังนี้ - มีประวัติสัมผัสใกล้ชิดกับผูป่วยที่มีผลการวินิจฉัยจากโรงพยาบาลว่าน่าสงสัย หรือน่าจะเป็นโรคซาร์สในช่วง ๑๐ วันก่อนเริ่ม ้ ป่วย (การสัมผัสใกล้ชิด หมายถึง การดูแลรักษาผู้ป่วย การอยู่อาศัยด้วยกัน หรือสัมผัสโดยตรงกับนำ้ามูก นำ้าลายของผู้ป่วย การไอ หรือจาม) - มีประวัติการเดินทางไปในประเทศ หรือพื้นที่ที่มีการแพร่ระบาดของโรคในช่วง ๑๐ วันก่อนเริ่มป่วย ๒. ผูป่วยที่เสียชีวิตหลังจากวันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๖ ด้วยโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันที่ไม่สามารถอธิบายสาเหตุ และไม่ ้ ได้ผ่าศพพิสูจน์ โดยมีประวัติอย่างใดอย่างหนึ่งตามข้อ ค. ผูป่วยที่น่าจะเป็น (probable case) หมายถึง ้
  • 4. - ผู้ ป่วยที่ น่า สงสัย ซึ่ง มีผล การ
  • 5. เอกซเรย์ปอดพบว่ามีลักษณะเข้าได้กับปอดบวม หรือภาวะหายใจล้มเหลว (respiratory distress syndrome) - ผูป่วยที่น่าสงสัย ซึ่งเสียชีวิตและได้รับการผ่าพิสูจน์ศพเข้าได้กับพยาธิสภาพของภาวะหายใจล้มเหลว ที่ไม่ทราบสาเหตุ ้ ชัดเจน การยืนยันผลการวินิจฉัย ในปัจจุบัน การวินิจฉัยยืนยันการเป็นโรคนี้สามารถทำาได้โดยการตรวจหาไวรัสซาร์สด้วยวิธีการต่างๆ ได้แก่ การตรวจหาไวรัส ซาร์ส (ไวรัสโคโรนา) ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน หรือการเพาะหาเชื้อในหลอดทดลอง, การตรวจหาภูมิต้านทาน (แอน ติบอดี) ต่อไวรัสซาร์ส โดยวิธี IFA และ ELISA, การตรวจวินิจฉัยทางโมเลกุลโดยการเพิ่มจำานวนรหัสพันธุกรรม ที่เรียกว่า Real time PCR (ช่วยให้ความแม่นยำา และใช้เวลาเพียง ๒ ชั่วโมง) ๕. การรักษา ส่วนใหญ่จะเป็นการรักษาตามอาการ และใช้อุปกรณ์ช่วยการหายใจ (ในรายที่มีภาวะหายใจล้มเหลว) ใน ปัจจุบันยังไม่มียาหรือวิธีการรักษาจำาเพาะ มีการทดลองใช้เซรุ่มจากผู้ที่หายจากโรค ซึ่งพบว่าได้ผลถ้าให้ระยะสัปดาห์แรก ของโรค ในขณะนี้มีการพยายามทดลองหายาต้านไวรัสซาร์สโดยจำาเพาะ ซึ่งคาดว่าอาจนำามาใช้ในอนาคต ๖. อัตราตายของโรคซาร์ส แต่เดิมรายงานว่ามีอัตราเสียชีวิตร้อยละ ๓-๕ ของผู้ที่เป็นโรคนี้ (ซึ่งไม่แตกต่างจากโรค ปอดบวมทั่วไป) และอัตราเสียชีวิตจะสูงขึ้นตามอายุ (ส่วนใหญ่มีอายุเกิน ๔๐ ปี) ในปัจจุบันมีข้อมูลชัดเจนขึ้นว่า อัตราตายของโรคนี้น่าจะอยู่ระหว่างร้อยละ ๙.๙-๑๖.๖ และอัตราตายจะเพิ่มสูงขึ้นตามอายุที่ มากขึ้น ในเด็กไม่มีการเสียชีวิตเลย ผูป่วยอายุ ๑๕-๓๔ ปี เสียชีวิตเพียงร้อยละ ๐.๗ และจะสูงขึ้นเรื่อยๆ ตามอายุ สำาหรับ ้ กลุ่มอายุเกิน ๗๕ ปี จะเสียชีวิตถึงร้อยละ ๖๒.๖ ๗. การป้องกัน โรคนี้สามารถติดต่อโดยการสัมผัสละอองนำ้าลาย เสมหะ เข้าทางปากและจมูก แต่เดิมเชื่อว่าเชื้อไวรัส โคโรนาจะมีชีวิตอยู่นอกร่างกายมนุษย์ได้ไม่เกิน ๓ ชั่วโมง แต่จากข้อมูลการศึกษาใหม่ๆ พบว่าอยู่ได้นานกว่า ๑ วัน โดย เฉพาะในอุจจาระและปัสสาวะจะอยู่ได้นานหลายวัน การแพร่กระจายเชื้อซาร์ส เดิมเชื่อว่าติดต่อทางระบบหายใจ แต่จากการศึกษาในฮ่องกงพบว่า เชื้อนี้มอยู่ในนำ้าเหลือง ี อุจจาระ และปัสสาวะของผู้ป่วยเมื่อย่างเข้าสัปดาห์ที่ ๓ ของการป่วย ทำาให้น่าเป็นห่วงว่า นอกจากติดต่อทางเดินหายใจแล้ว เชื้อซาร์สยังอาจติดต่อทางอาหารการกิน (เช่น เชื้อบิด อหิวาต์) ได้อีกด้วย การป้องกันที่ดีที่สุด ได้แก่ การล้างมือ, การเข้มงวดในเรื่องสุขอนามัย, การใส่หน้ากากอนามัย การกักกันผู้สัมผัสโรคนาน ๑๐-๑๔ วัน เป็นมาตรการจำาเป็นสำาหรับตัดวงจรการระบาด (จนถึงวันที่ ๗ พฤษภาคม ในจีนมีการ กักกันผูสัมผัสโรคมากกว่า ๒๐,๐๐๐ คน) ้ การพัฒนาวัคซีน คาดว่าน่าจะมีวัคซีนใช้ป้องกันโรคนี้ได้ภายใน ๑-๒ ปีข้างหน้า (รายละเอียดเกี่ยวกับโรคซาร์ส สามารถอ่านได้จากบทความเรื่อง "Sever acute respiratory syndrome
  • 6. (SARS)" ของ นฤมล จิรพนากร และ ยง ภู่วรวรรณ ในวารสารคลินิก ฉบับเดือนพฤษภาคม ๒๕๔๖) โรคซาร์สยังไม่ซา จนถึงเดือนพฤษภาคม ทั่วโลกพบการแพร่กระจายของโรคซาร์สมากขึ้น และมีผู้ที่ตายจากโรคนี้เพิ่มมากขึ้น (ดูตาราง) โดย เฉพาะอย่างยิ่งในประเทศจีน ฮ่องกง และไต้หวัน ในประเทศจีน แต่เดิมทางการจีนมีการปิดข่าว จนโรคได้ลุกลามจาก กวางตุ้งไปยังปักกิ่ง และมณฑลต่างๆ รวมทั้งแพร่ต่อไปยังประเทศต่างๆ วันที่ ๒๐ เมษายน รัฐบาลได้สั่งปลดรัฐมนตรี สาธารณสุข และนายกเทศมนตรีนครปักกิ่ง ที่ไม่สามารถสกัดการระบาดของโรคนี้ หลังจากนั้นทางการได้ดำาเนินการควบคุม โรคอย่างเข้มงวด และมีการรายงานสถานการณ์โรคอย่างเปิดเผยทางสื่อมวลชนทุกวัน รวมทั้งได้ให้ผู้เชี่ยวชาญองค์การ อนามัยโลกเข้าไปมีส่วนร่วมในการตรวจสอบ และเสนอแนะในการควบคุมโรคอย่างโปร่งใส การระบาดของโรคหนักหน่วงที่สุดในนครหลวงปักกิ่ง มีการสั่งปิดโรงเรียนและมหาวิทยาลัย นานนับเดือน (ใช้วิธีเรียนทาง ไกลที่บ้านแทน) โรงพยาบาลหลายแแห่งถูกสั่งปิด และมีการกักกันผู้สัมผัสโรคมากกว่า ๒๐,๐๐๐ คน ทั้งนี้เพื่อสกัดกั้นไม่ให้ มีโรคลุกลาม ในปัจจุบันจีนได้ทำาการรณรงค์ใหญ่ "ทำาสงครามกับโรคซาร์ส" ทั่วทั้งประเทศ เพราะถือเป็นภัยคุกคามที่ร้ายแรง ต่อชีวิตและความมั่นคง (จนมีชาวตะวันตกเปรียบเปรยว่าเป็นเหมือนกรณี ๑๑ กันยายน ตึกเวิร์ลเทรดในสหรัฐอเมริกาถูกผู้ ก่อการร้ายถล่ม) ในไต้หวัน เริ่มมีการระบาดรุนแรง จนรัฐมนตรีสาธารณสุขต้องประกาศลาออก เมื่อวันที่ ๑๗ พฤษภาคม ทั่วโลกถือว่า โรค ซาร์ส-วายร้ายตัวใหม่ เป็นภัยคุกคามต่อมนุษยชาติ นักวิทยาศาสตร์และแพทย์ทั่วโลกได้ร่วมมือกันหาทางป้องกันและ ควบคุมโรคนี้อย่างไม่เคยมีมาก่อน และมีการเปิดเผยข้อมูลอย่างไม่ปิดบัง รวมทั้งมีการสร้างเครือข่ายการทำางานและแลก เปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน ตัวอย่างแห่งความสำาเร็จเบื้องแรกก็คือการใช้เวลาเพียงเดือนเศษในการค้นหาจนพบสาเหตุของโรค (พบเชื้อไวรัสโคโรนา หรือไวรัสซาร์สตัวใหม่) ในขณะที่โรคเอดส์ใช้เวลาเกือบ ๒ ปีกว่าจะทราบว่าเชื้อเอชไอวีเป็นสาเหตุ
  • 7. บริหารสมอง เป็น 2 เท่า คุณเคยมีอาการแบบนี้หรือเปล่า คิดช้า หลงๆลืม นึกไม่ออกว่าตัวเองจะทำาอะไร อาการเหล่านี้หมายถึงคุณต้องรีบกลับมาบริ หารเป็น 2 เท่ากันแล้ว คลิกที่นี่ • สีเคมีกาย มากสี มากโรค • กระเป๋ากันง่วง • แนะนำาหมอชาวบ้าน ดูวีดิโอย้อนหลัง อ่านฉบับย้อนหลัง โรคฮิต ชีวิตติดจอออนไลน์ e-health สำาหรับ Windows e-health สำาหรับ Mac