SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 8
Descargar para leer sin conexión
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การใหเหตุผล สาขาวิชาคณิตศาสตร1
รายวิชา ค 40101 คณิตศาสตรพื้นฐาน โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
การใหเหตุผล
แมวามนุษยจะกาวหนาไปถึง การสรางสมองกลขึ้นมาใหทําตามคําสั่ง แตสมองกลนั้นก็
สามารถทําตามในสิ่งที่มนุษยเรียบเรียงไวอยางเปนระเบียบเทานั้น ไมอาจคิดในเรื่องของเหตุผลได
เหมือนสมองจริง การคิดในเรื่องเหตุผลนี่เองที่ทําใหมนุษยเหนือกวาสิ่งอื่นใด
กระบวนการของการใหเหตุผลนั้นเปนการตอบคําถามวา “ทําไม” ซึ่งประกอบดวยสวนสําคัญ
สองสวน คือ
สวนที่เปนเหตุ สวนที่เปนผล
ในการตอบคําถามวาทําไม บางครั้งผูตอบอาจใชวิธียกตัวอยาง เชน “ทําไมคุณถึงรูวาแพเกสร
ดอกไม” ผูตอบอาจตอบวา “ที่ผานมาเมื่อเวลาอยูใกลดอกไมจะจามและมีผื่นคันขึ้นมาทุกที”
การอางเหตุผลแบบนี้เปนการอางเหตุผลอีกแบบหนึ่งที่ใชประสบการณในอดีต
การใหเหตุผล มี 2 แบบ คือ
1) การใหเหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning)
2) การใหเหตุผลแบบนิรนัย (Deductive Reasoning)
การใหเหตุผลแบบอุปนัย
เปนการสรุปผลโดยอาศัยตัวอยางที่มากพอ หรือประสบการณยอยหลาย ๆ ครั้ง หลายแง
หลายมุม และสรุปเปนความรูทั่วไป เชน
ตัวอยางที่ 1 หลุยส ปาสเตอร (Louis Pasteur ค.ศ. 1822 – 1892) นักวิทยาศาสตรขาวเยอรมัน ทาน
ทดลองฉีดอหิวาหเขาไปในตัวไกปริมาณมากพอที่นาจะทําใหไกตาย หลายสัปดาหตอมาไกไมตาย ทด
จึงทดลองฉีดครั้งที่สองไมตาย แตตัวอื่นๆตาย ทานทดลองอีกหลายครั้ง และทานไดทดลองเชื้อโรค
รายแรงกับสัตวชนิดอื่นๆอีก เชน โรคพิษสุนัขบากับสุนัข โรคนะบาดของวัว ควาย แพะ แกะ โดย
วิธีฉีดเชื้อโรคเขาไปครั้งแรก และทิ้งระยะหนึ่ง จึงฉีดเชื้อโรคเขาไปอีก ปรากฏไดผลดีคือ สัตวไมตาย
ดวยโรคระบาด แมวาจะปลอยไวในหมูสัตวที่เปนโรคระบาดก็ตาม ทานทดลองหลายครั้ง หลานหน
หลายตัวอยาง
แลวทานสรุปวาการฉีดเชื้อโรคครั้งแรก เมื่อทิ้งระยะหนึ่งเชื้อโรคจะออนกําลังลง เมื่อฉีดครั้งที่
สองรางกายจะสรางภูมิคุมกันโรคขึ้น วิธีนี้เรียกวา ฉีดวัคซีน ผลสรุปของหลุยส ปาสเตอร เปนความรูที่
ไดมาดวยเหตุผลแบบอุปนัย #
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การใหเหตุผล สาขาวิชาคณิตศาสตร2
รายวิชา ค 40101 คณิตศาสตรพื้นฐาน โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
ตัวอยางที่ 2 หมอดูอาศัยประสบการณจากตัวอยางชีวิตคนทั้งที่ดี และไมดีในอดีตมาหลายชั่วอายุคน
แลวสรุปเปนวิชาหมอดู ทํานายโชคชะตาราศีสําหรบคนในปจจุบัน
ความรูดังกลาวเปนตัวอยางหนึ่งของความรูที่ไดมาดวยการใหเหตุผลแบบอุปนัย #
ตัวอยางที่ 3 คนขับรถรับจางในกรุงเทพฯ ขับรถไปเสนทางหนึ่งใชเวลาประมาณ 50 นาที แตเมื่อเลือก
ไปอีกเสนทางหนึ่งใชเวลาประมาณ 30 นาที เขาทดลองอีกหลายครั้ง และเมื่อสอบถามคนอื่นที่ใช
เสนทางทั้งสองก็ใชเวลาเทากับเขา
จึงสรุปวา เสนทางที่สองใชเวลานอยกวาเสนทางแรกเสมอ การสรุปเกี่ยวกับการใชเสนทางขับ
รถดังกลาว เปนตัวอยางของการใหเหตุผลแบบอุปนัย #
ตัวอยางที่ 4 แมคากลวยทอดใสงา และมะพราวเปนสวนผสมในแปงที่ทอด ปรากฏวา กลวยทอด
กรอบ หอม อรอย เมื่อลดมะพราวใหนอยลง ปรากฏวากลวยทอดกลับนอยลง หลังจากสังเกตหลายครั้ง
แมคาจึงไดขอสรุปวา ควรใสมะพราวปริมาณเทาใด
จึงจะทําใหกลวยทอดกรอบพอดี ขอสรุปดังกลาวเปนขอสรุปที่ไดมาดวยการใหเหตุผลแบบ
อุปนัย #
ตัวอยางที่ 5 นักเรียนสังเกตการบวกจํานวนคี่ ดังนี้
1+ 3 = 4 สังเกตวาไดผลบวกเปน 22
1+ 3 + 5 = 9 สังเกตวาไดผลบวกเปน 32
1+ 3 + 5 + 7 = 16 สังเกตวาไดผลบวกเปน 42
1+ 3 + 5 + 7 + 9 = 25 สังเกตวาไดผลบวกเปน 52
นักเรียนทดลองตอไปอีกหลายตัวอยางแลว
จึงสรุปวา “ถาบวกจํานวนคี่ n เทอมแรกนาจะไดผลลัพธเปน n2
” #
ขอสรุปนี้ก็ไดมาจากการใหเหตุผลแบบอุปนัยเชนกัน กลาวคือ สังเกตหลาย ๆ ตัวอยางแลว
สรุปทั้งหมด
การสรุปความรูจากตัวอยางที่กลาวมา มีจุดออนอยูที่วาเราสังเกต ทดลองจากตัวอยางจํานวน
หนึ่ง และสรุปวาทั้งหมดวาเปนไปตามที่เราสังเกตได ซึ่งอาจสรุปผิด อาจมีตัวอยางที่เราไมไดสังเกต
ทดลอง ไมเปนไปตามที่เราสรุปไวก็ได เราคงเคยพบวาหมอดูไมอาจทํานายไดถูกตองทุกเรื่องไป
เพราะวิชาหมอดูเขาสรุปมาจากประสบการณในอดีต นั้น ไมไดมาจากทุกคนในโลกนี้ ทั้งในอดีต
ปจจุบัน และอนาคต
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การใหเหตุผล สาขาวิชาคณิตศาสตร3
รายวิชา ค 40101 คณิตศาสตรพื้นฐาน โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
ความรูในทางวิทยาศาสตรที่สรางความเจริญใหกับโลกปจจุบันมีรากฐานมาจากการใหเหตุผล
แบบอุปนัย นักวิทยาศาสตรเปนคนชางสังเกต ชางคิด ชางทดลอง ตองใชเวลานานและกวาจะสรุปผล
ออกมาได ตองตรวจสอบแลวตรวจสอบอีก จึงกลาประกาศใหสาธารณชนทราบและกวาจะเปนที่
ยอมรับ บางทานตองใชเวลานาน บางทานเสียชีวิตไปกอนที่ผลงานของตนจะเปนที่ยอมรับ บางทานเปน
ที่เชื่อถือมาเปนรอยป ภายหลังมีผูพบวาความรูนั้นไมถูกตองก็มี เชน เรื่องโลกกลม
อยางไรก็ตาม แมการใหเหตุผลแบบอุปนัยจะมีจุดออน แตก็มีคุณคามาก จึงไดมีนักวิทยา
ศาสตรื และนักปรัชญา หลายทานคิดหลักการที่จะทําให การสรุปผลโดยวิธีนี้มีโอกาสถูกตองมากขึ้น
วิธีการหนึ่งที่ไดรับความนิยม คือ วิธีของ สจวต มิลล (Stuart Mill ค.ศ. 11806 – 1873) นักปรัชญาชาว
อังกฤษ ซึ่งมีหลักดังนี้
1) ตัวอยางหรือประสบการณยอยที่จะนํามาอางจะตองเปนตัวแทนที่ดีที่สุดเทาที่จะทําได และ
จะตองมากที่สุดเทาที่จะทําไดเชนกัน จะทําใหผลสรุปมีโอกาสใกลเคียงความถูกตองมากที่สุด
หลักการนี้ในปจจุบันจะพบเห็นวาไดมีการใชในหลายอาชีพ เชน
นักวิจัย จะสํารวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีตอรัฐบาล นักวิจัยไมอาจถามคนททั้งประเทศ
ได จึงตองสุมถามความคิดเห็นจากกลุมตัวอยางที่เปนตัวแทนของประชาชนโดยการสุมตัวอยางมาจาก
ทุกอาชีพ
เจาของโรงงาน ตองการจะรูวาผลิตผลแตละครั้งมีขอบกพรองกี่เปอรเซ็นต ก็ไมจําเปนตอง
ตรวจสอบทั้งหมด เพียงแตสุมจากตัวอยางบางสวน เชน จากทั้งหมด 1,000 ชิ้น อาจสุมตัวอยางมา 50
ชิ้น ถาตรวจพบวาผลผลิตบกพรอง 5 ชิ้น คาดการณไดวาผลผลิตจะบกพรอง 5 ใน 50 นั่นคือ 100 ใน
1,000 ทางบริษัทตัวแทนจําหนายจะตองมีการประกันสิ้นคาซอมฟรี หรือเปลี่ยนคืนภายในระยะเวลาที่
กําหนด เพื่อมิใหเสียชื่อเสียง หรือมิฉะนั้นตองปรับปรุงวิธีการผลิตเพื่อใชจํานวนที่บกพรองลดนอยลง
ครู ตองการวิเคราะหขอสอบของแตละวิชาวาแตละขอยากหรืองายเกินไป ก็ไมจําเปนตองนํา
กระดาษคําตอบมาดูทั้งหมด นํากระดาษคําตอบของคนเกงมา 27 % และนํากระดาษคําตอบของคน
ออนมา 27 % ของจํานวนนักเรียนที่เขาสอบทั้งหมด เพื่อดูวาขอใดมีคนทําไดมากไดนอย ขอใดที่คน
ออนทําไดมากถือวาเปนของาย แตถาขอที่คนเกงทําไดนอยก็ถือวาขอนั้นเปนขอยาก
2) ตัวอยางแตกตางกันและเหตุผลที่เกิดกับตัวอยางนั้นเหตุเดียวกัน และทําใหเกิดผล
เชนเดียวกันทุกครั้ง เราอาจจะสรุปวาเหตุนั้นทําใหเกิดผลนั้น เชน
จากการศึกษาประวัตินักเรียนที่เรียนเกงคณิตศาสตร 100 คน พบวาทุกคนขยันทําแบบฝกหัด
เพิ่มเติมจากหนังสืออื่น ๆ ดวย จึงสรุปวา การขยันทําแบบฝกหัดจากหนังสืออื่น ๆ ดวย จะทําใหเกง
คณิตศาสตร
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การใหเหตุผล สาขาวิชาคณิตศาสตร4
รายวิชา ค 40101 คณิตศาสตรพื้นฐาน โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
3) ถาจากประสบการณยอยมีตัวอยางหนึ่งที่มีเหตุแตกตางไปจากเดิม เราก็สรุปวาผลที่
แตกตางกันอาจมาจากสาเหตุที่แตกตางกันนั้น เชน
เกษตรกร เลี้ยงเปดดวยรํา ปลายขาวและหอยมาเปนเวลานานหลายชั่วอายุคนพบวาไขเปดมีสี
แดง ตอมาขาดแคลนหอยจึงใชโปรตีนจากพืช ปรากฏวา ไขเปดมีสีเหลือง จึงสงสัยวา อาหารโปรตีน
จากพืช นาจะเปนสาเหตุทําใหสีของไขแดงเปลี่ยนไป
4) พิจารณาทั้งเหตุที่เหมือนกันและเหตุที่ตางกัน เชน
นิด หนอย โหนง และหนุย มีอาการแพเปนผื่นแดงขึ้นตามตัว เรียกวาลมพิษ สวนนิดมีอาการ
ปวดทองดวย เมื่อซักประวัติการกินอาหาร และสถานที่ที่ทั้ง 4 คนไปไหนมา พบวา
สถานที่ อาหารที่กิน
นิด ไปโรงเรียน ขาว น้ําพริก ปูมา น้ําตาลสด
หนอย อยูบาน ขาว แกงไก ปูมา มะละกอ
โหนง ไปตลาด ขาว ผัดเผ็ดไก ปูมา
หนุย ไปอําเภอ ขาว ผัดพริกขิง ปูมา
สิ่งที่ทุกกินเหมือนกันหมดทุกคนคือ ขาว และปูมา จึงนาสงสัยปูมา เพราะเราไมเคยพบใครกิน
ขาวแลวเปนลมพิษ สําหรับนิดมีอาการปวดทองดวย จึงนาสงสัย น้ําพริกกับน้ําตาลสด เพราะนิดกิน
สองอยางนี้ตางจากคนอื่น
5) การขจัดตัวอยางที่เราทราบเหตุผลและผลแลวออกไปจนเหลือที่เราตองการ เชน
นักวิจัย เรื่องพืชทดลองใชสาร ก ข ค ผสมเปยปุยใชกับพืชชนิดใหม ปรากฏวาพืชงอกงาม
ตนอวบสมบูรณใหผลดก เขาสงสัยวาสารใดทําใหผลดก จึงพิจารณาจากสารทั้งสามชนิด ถาหากทราบ
มากอนแลววา สาร ก บํารุงราก สาร ข บํารุงตน นักวิจัยสงสัยวานาจะเปนสาร ค ที่บํารุงผล
6) การเพิ่มระดับความเขมขนในการกระทําอาจทําใหเกิดผลตางกันไป เชน
การทดลองของปาสกาล (Blaise Pascal ค.ศ. 1623 – 1662) นักวิทยาศาสตร และคณิตศาสตร
ชาวฝรั่งเศส ทานทดลองนําปรอทใสลงในหลอดแกวปลายเปด 1 ขาง ยาว 1 เมตรจนเต็ม ใชมือปด
ปลายเปดแลวคว่ําลงในอางที่มีน้ํา เมื่อปลอยมือปรากฏวาปรอทลดลงมาเหลือ 69 เซนติเมตร และเมื่อลด
ระดับความสูงของสถานที่ทดลองต่ําลงมา ปรอทจะสูงขึ้นเรื่อย ๆ การทดลองของทานทําใหทานคนพบ
เรื่องความกดดันของอากาศ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การใหเหตุผล สาขาวิชาคณิตศาสตร5
รายวิชา ค 40101 คณิตศาสตรพื้นฐาน โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
การใหเหตุผลแบบนิรนัย
การใหเหตุผลแบบนิรนัย เปนการอางเหตุผลจากความรูพื้นฐานชุดหนึ่งที่ยอมรับมากอน
ความรูพื้นฐานที่ตองยอมรับมาใชอางเหตุผลนี้มีชื่อเรียกตาง ๆ กัน เชน เหตุ(premise) สมมติฐาน
(hypothesis) หรือสัจพจน(axiom หรือ postulate) วิธการสรุปความรูพื้นฐานที่ยอมรับมากอนนี้ เปนที่
นิยมใชมาตั้งแตสมัยกรีกโบราณวา 2000 ป มาแลว เชน เทลีส ใชวิธีนิรนัยพิสูจนความรูทางเรขาคณิต
ใหเปนระบบเปนเหตุผลตอเนื่องกัน
ตัวอยางที่ 6 ถาเรายอมรับวา
1. สิ่งมีชีวิตทุกชนิดตองการกินอาหาร
และ 2. คนเปนสิ่งมีชีวิต
เราจะสรุปไดวา คนตองการกินอาหาร #
จะเห็นไดวาการใหเหตุผลนี้ประกอบดวยสองสวน สวนแรกมีสองขอตกเราตองยอมรับกัน
กอน เรียกวา เหตุ หรือ สมมุติฐาน อีกสวนก็คือ ผลสรุป ซึ่งการตัดสินใจวาสรุปถูกตอก็ตอเมื่อ
สมเหตุสมผล (valid) ในการตรวจสอบความสมเหตุสมผลนั้นทําไดหลายวิธี ดั้งเดิมที่ใชกันในสมัย
โบราณ ไดแก วิธีของอริสโตเติลซึ่งในปจจุบันไดพัฒนามาใชแผนภาพแทนเซตของ เวน – ออยเลอร
ซึ่งใชสําหรับขอความที่เขียนแทนดอยแผนภาพแทนเซตได
วิธีของ เวน – ออยเลอร
วิธีของ เวน – ออยเลอร จะวาดแผนภาพใหสอดคลองกับเหตุ หรือ สมมุติฐานทุกกรณีที่
เปนไปได แลวดูวาแผนภาพแตละกรณีสอดคลองกับผลสรุปตามที่สรุปไวหรือไม ถาทุกแผนภาพ
สอดคลองกับผลสรุปตามที่สรุปไว เรากลาววาการใหเหตุผลนั้นสมเหตุสมผล แตถามีบางกรณีของ
แผนภาพไมแสดงผลสรุปตามที่สรุปไวจะกลาววาการใหเหตุผลนั้นไมสมเหตุสมผล
กอนที่จะใชแผนภาพ เซตของ เวน – ออยเลอร ชวยในการตรวจสอบความสมเหตุสมผล เรา
จะตองตกลงกันกอนวา ขอความแตละแบบจะวาดแผนภาพแสดงไดอยางไร
ให a เปนสมาชิกของเซต A
b เปนสมาชิกของเซต B
1.) a ทุกตัวเปน b 2.) ไมมี a ตัวใดเปน b
A B A B
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การใหเหตุผล สาขาวิชาคณิตศาสตร6
รายวิชา ค 40101 คณิตศาสตรพื้นฐาน โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
3.) a บางตัวเปน b (บริเวณแรเงา) 4.) a บางตัวไมเปน b (บริเวณแรเงา)
A B A B
5.) ถาไมทราบความสัมพันธระหวาง A กับ B จะเขียนแผนภาพไดหลายแบบดังนี้
A B A B
A B B A A B
ตัวอยางที่ 7 จงตรวจสอบวา การใหเหตุผลตอไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม
สมมุติฐาน 1. คนทุกคนเปนสุนัข
2. สุนัขทุกตัวกินอาหาร
ผล 1. คนทุกคนกินอาหาร
วิธีทํา วาดภาพใหสอดคลองตามสมมุติฐานทั้งสองจะไดดังรูป
เมื่อนําผลมาตรวจสอบจะเห็นวาสอดคลอง
กับแผนภาพ ดังนั้นการใหเหตุผลนี้
คน สุนัข พวกกินอาหาร สมเหตุสมผล #
ตัวอยางที่ 8 จงตรวจสอบความสมเหตุสมผล
สมมุติฐาน 1. ลิงทุกตัวบินได
2. คนบางคนเปนลิง
ผล คนบางคนบินได
วิธีทํา วาดแผนภาพตามสมมุติฐานได 2 กรณี ดังนี้
สิ่งที่บินได สิ่งที่บินได
ลิง คน
คน ลิง
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การใหเหตุผล สาขาวิชาคณิตศาสตร7
รายวิชา ค 40101 คณิตศาสตรพื้นฐาน โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
จะเห็นไดวา บริเวณที่แรเงานั้นอยูในวงสิ่งที่บินไดเมื่อตรวจดูผลสรุปกับแผนภาพ
จะไดวา คนบางคนบินไดสอดคลองกับทั้งสองภาพ
ดังนั้นการใหเหตุผลนี้ สมเหตุสมผล #
ตัวอยางที่ 9 จงตรวจสอบความสมเหตุสมผล
สมมุติฐาน 1. ไมมีคนจนใดเปนคนขยัน
2. ไมมีคนขยันใดเปนคนไมดี
ผล ไมมีคนจนใดเปนคนไมดี
วิธีทํา พิจารณาจากรูปแบบทั้งหมดที่เปนไปได
กรณีที่ 1 คนจน คนไมดี คนขยัน
กรณีที่ 2 คนจน คนไมดี คนขยัน
กรณีที่ 3 คนจน คนไมดี คนขยัน
กรณีที่ 4 คนจน คนไมดี คนขยัน
จะเห็นวาสมมุติฐานไมไดบอกความสัมพันธระหวางคนจนกับคนมาดีมาให ดังนั้น แผนภาพ
ความสัมพันธระหวางทั้งสองพวกจึงเปนไปไดหลายกรณี และนอกจากนี้เรายังพบอีกวาบางกรณี
ผลสรุปไมสอดคลองกับแผนภาพ ดังนั้น การสรุปจึงไมสมเหตุสมผล #
ตัวอยางที่ 10 จงตรวจสอบความสมเหตุสมผล
สมมุติฐาน 1. นกบางชนิดบินได
2. ปลาบางชนิดบินได
ผล นกบางชนิดไมใชปลา
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การใหเหตุผล สาขาวิชาคณิตศาสตร8
รายวิชา ค 40101 คณิตศาสตรพื้นฐาน โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ
วิธีทํา วาดแผนภาพตามสมมุติฐานไดดังนี้
นก สิ่งที่บินได ปลา
นก สิ่งที่บินได ปลา
ปลา
นก สิ่งที่บินได
จะเห็นวามีบางแผนภาพที่ผลสรุปไมสอดคลอง
ดังนั้นผลสรุป ไมสมเหตุสมผล #
การใหเหตุผลเปนเรื่องจําเปนสําหรับการดํารงชีวิต ความเชื่อ การยอมรับ การโตแยง
ตลอดจนการตัดสินใจ ตองอาศัยเหตุผลประกอบ หากเหตุผลดี ถูกหลักการจะทําใหการตัดสินใจไม
ผิดพลาด
นอกจากประโยชนดังกลาว การใหเหตุผลยังเปนพื้นฐานของการศึกษาหาความรูในศาสตรอีก
หลายสาขา เชน คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมศาสตร รัฐศาสตร ฯลฯ
ที่มา จากหนังสือการใหเหตุผล ของ ผศ.ดร.สมวงษ แปลงประสพโชค

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)kulwadee
 
9789740335146
97897403351469789740335146
9789740335146CUPress
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาkrujee
 
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์Ausa Suradech
 
การให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยการให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยLaongphan Phan
 

La actualidad más candente (15)

07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
 
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
 
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
9789740335146
97897403351469789740335146
9789740335146
 
บัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหาบัตรรายการเนื้อหา
บัตรรายการเนื้อหา
 
Reasoning
ReasoningReasoning
Reasoning
 
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์
เล่ม 2 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นการทดลองทางวิทยาศาสตร์
 
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
 
เหตุผลกับภาษา
เหตุผลกับภาษาเหตุผลกับภาษา
เหตุผลกับภาษา
 
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
 
12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง
12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง
12 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง
 
11 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องหอคอยฮานอย
11 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องหอคอยฮานอย11 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องหอคอยฮานอย
11 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องหอคอยฮานอย
 
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
 
การให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยการให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัย
 

Destacado

Trabajo De Educacion Fisica
Trabajo De Educacion FisicaTrabajo De Educacion Fisica
Trabajo De Educacion Fisicaguest65c993
 
exposicion de Educacion Fisica
exposicion de  Educacion Fisicaexposicion de  Educacion Fisica
exposicion de Educacion Fisicaguest65c993
 
Pis pasep e cofins o efeito do desalinhamento das definicões legal e fiscal d...
Pis pasep e cofins o efeito do desalinhamento das definicões legal e fiscal d...Pis pasep e cofins o efeito do desalinhamento das definicões legal e fiscal d...
Pis pasep e cofins o efeito do desalinhamento das definicões legal e fiscal d...berbone
 
La Mujer En El Arte.
La Mujer En El Arte.La Mujer En El Arte.
La Mujer En El Arte.guest3c4c0f
 
Manual de redação do Distrito 13
Manual de redação do Distrito 13Manual de redação do Distrito 13
Manual de redação do Distrito 13guilhermeguerraoc
 

Destacado (9)

Trabajo De Educacion Fisica
Trabajo De Educacion FisicaTrabajo De Educacion Fisica
Trabajo De Educacion Fisica
 
Pablo y Vale
Pablo y ValePablo y Vale
Pablo y Vale
 
G045053740
G045053740G045053740
G045053740
 
Hortaliças
HortaliçasHortaliças
Hortaliças
 
exposicion de Educacion Fisica
exposicion de  Educacion Fisicaexposicion de  Educacion Fisica
exposicion de Educacion Fisica
 
Pis pasep e cofins o efeito do desalinhamento das definicões legal e fiscal d...
Pis pasep e cofins o efeito do desalinhamento das definicões legal e fiscal d...Pis pasep e cofins o efeito do desalinhamento das definicões legal e fiscal d...
Pis pasep e cofins o efeito do desalinhamento das definicões legal e fiscal d...
 
La Mujer En El Arte.
La Mujer En El Arte.La Mujer En El Arte.
La Mujer En El Arte.
 
Estrategias de ensino
Estrategias de ensinoEstrategias de ensino
Estrategias de ensino
 
Manual de redação do Distrito 13
Manual de redação do Distrito 13Manual de redação do Distrito 13
Manual de redação do Distrito 13
 

Similar a Valid

กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4supphawan
 
จัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือจัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือkrujee
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdfkrujee
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdfkrujee
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdfkrujee
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3Khunnawang Khunnawang
 
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาkrujee
 
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาkrujee
 

Similar a Valid (20)

03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 
จัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือจัดหมู่หนังสือ
จัดหมู่หนังสือ
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
 
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
1ความรู้เกี่ยวกับห้องสมุดpdf
 
ใบงานท 2-8
ใบงานท   2-8ใบงานท   2-8
ใบงานท 2-8
 
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
 
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
 
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 

Más de ครูนิก อดิศักดิ์ (9)

Chap5 1
Chap5 1Chap5 1
Chap5 1
 
matrices
matricesmatrices
matrices
 
analytic-conic
analytic-conicanalytic-conic
analytic-conic
 
relations-function
relations-functionrelations-function
relations-function
 
number-theory
number-theorynumber-theory
number-theory
 
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้นตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
 
Real-number
Real-numberReal-number
Real-number
 
sets
setssets
sets
 
principles of mathematic
 principles of mathematic principles of mathematic
principles of mathematic
 

Valid

  • 1. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การใหเหตุผล สาขาวิชาคณิตศาสตร1 รายวิชา ค 40101 คณิตศาสตรพื้นฐาน โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ การใหเหตุผล แมวามนุษยจะกาวหนาไปถึง การสรางสมองกลขึ้นมาใหทําตามคําสั่ง แตสมองกลนั้นก็ สามารถทําตามในสิ่งที่มนุษยเรียบเรียงไวอยางเปนระเบียบเทานั้น ไมอาจคิดในเรื่องของเหตุผลได เหมือนสมองจริง การคิดในเรื่องเหตุผลนี่เองที่ทําใหมนุษยเหนือกวาสิ่งอื่นใด กระบวนการของการใหเหตุผลนั้นเปนการตอบคําถามวา “ทําไม” ซึ่งประกอบดวยสวนสําคัญ สองสวน คือ สวนที่เปนเหตุ สวนที่เปนผล ในการตอบคําถามวาทําไม บางครั้งผูตอบอาจใชวิธียกตัวอยาง เชน “ทําไมคุณถึงรูวาแพเกสร ดอกไม” ผูตอบอาจตอบวา “ที่ผานมาเมื่อเวลาอยูใกลดอกไมจะจามและมีผื่นคันขึ้นมาทุกที” การอางเหตุผลแบบนี้เปนการอางเหตุผลอีกแบบหนึ่งที่ใชประสบการณในอดีต การใหเหตุผล มี 2 แบบ คือ 1) การใหเหตุผลแบบอุปนัย (Inductive Reasoning) 2) การใหเหตุผลแบบนิรนัย (Deductive Reasoning) การใหเหตุผลแบบอุปนัย เปนการสรุปผลโดยอาศัยตัวอยางที่มากพอ หรือประสบการณยอยหลาย ๆ ครั้ง หลายแง หลายมุม และสรุปเปนความรูทั่วไป เชน ตัวอยางที่ 1 หลุยส ปาสเตอร (Louis Pasteur ค.ศ. 1822 – 1892) นักวิทยาศาสตรขาวเยอรมัน ทาน ทดลองฉีดอหิวาหเขาไปในตัวไกปริมาณมากพอที่นาจะทําใหไกตาย หลายสัปดาหตอมาไกไมตาย ทด จึงทดลองฉีดครั้งที่สองไมตาย แตตัวอื่นๆตาย ทานทดลองอีกหลายครั้ง และทานไดทดลองเชื้อโรค รายแรงกับสัตวชนิดอื่นๆอีก เชน โรคพิษสุนัขบากับสุนัข โรคนะบาดของวัว ควาย แพะ แกะ โดย วิธีฉีดเชื้อโรคเขาไปครั้งแรก และทิ้งระยะหนึ่ง จึงฉีดเชื้อโรคเขาไปอีก ปรากฏไดผลดีคือ สัตวไมตาย ดวยโรคระบาด แมวาจะปลอยไวในหมูสัตวที่เปนโรคระบาดก็ตาม ทานทดลองหลายครั้ง หลานหน หลายตัวอยาง แลวทานสรุปวาการฉีดเชื้อโรคครั้งแรก เมื่อทิ้งระยะหนึ่งเชื้อโรคจะออนกําลังลง เมื่อฉีดครั้งที่ สองรางกายจะสรางภูมิคุมกันโรคขึ้น วิธีนี้เรียกวา ฉีดวัคซีน ผลสรุปของหลุยส ปาสเตอร เปนความรูที่ ไดมาดวยเหตุผลแบบอุปนัย #
  • 2. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การใหเหตุผล สาขาวิชาคณิตศาสตร2 รายวิชา ค 40101 คณิตศาสตรพื้นฐาน โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ ตัวอยางที่ 2 หมอดูอาศัยประสบการณจากตัวอยางชีวิตคนทั้งที่ดี และไมดีในอดีตมาหลายชั่วอายุคน แลวสรุปเปนวิชาหมอดู ทํานายโชคชะตาราศีสําหรบคนในปจจุบัน ความรูดังกลาวเปนตัวอยางหนึ่งของความรูที่ไดมาดวยการใหเหตุผลแบบอุปนัย # ตัวอยางที่ 3 คนขับรถรับจางในกรุงเทพฯ ขับรถไปเสนทางหนึ่งใชเวลาประมาณ 50 นาที แตเมื่อเลือก ไปอีกเสนทางหนึ่งใชเวลาประมาณ 30 นาที เขาทดลองอีกหลายครั้ง และเมื่อสอบถามคนอื่นที่ใช เสนทางทั้งสองก็ใชเวลาเทากับเขา จึงสรุปวา เสนทางที่สองใชเวลานอยกวาเสนทางแรกเสมอ การสรุปเกี่ยวกับการใชเสนทางขับ รถดังกลาว เปนตัวอยางของการใหเหตุผลแบบอุปนัย # ตัวอยางที่ 4 แมคากลวยทอดใสงา และมะพราวเปนสวนผสมในแปงที่ทอด ปรากฏวา กลวยทอด กรอบ หอม อรอย เมื่อลดมะพราวใหนอยลง ปรากฏวากลวยทอดกลับนอยลง หลังจากสังเกตหลายครั้ง แมคาจึงไดขอสรุปวา ควรใสมะพราวปริมาณเทาใด จึงจะทําใหกลวยทอดกรอบพอดี ขอสรุปดังกลาวเปนขอสรุปที่ไดมาดวยการใหเหตุผลแบบ อุปนัย # ตัวอยางที่ 5 นักเรียนสังเกตการบวกจํานวนคี่ ดังนี้ 1+ 3 = 4 สังเกตวาไดผลบวกเปน 22 1+ 3 + 5 = 9 สังเกตวาไดผลบวกเปน 32 1+ 3 + 5 + 7 = 16 สังเกตวาไดผลบวกเปน 42 1+ 3 + 5 + 7 + 9 = 25 สังเกตวาไดผลบวกเปน 52 นักเรียนทดลองตอไปอีกหลายตัวอยางแลว จึงสรุปวา “ถาบวกจํานวนคี่ n เทอมแรกนาจะไดผลลัพธเปน n2 ” # ขอสรุปนี้ก็ไดมาจากการใหเหตุผลแบบอุปนัยเชนกัน กลาวคือ สังเกตหลาย ๆ ตัวอยางแลว สรุปทั้งหมด การสรุปความรูจากตัวอยางที่กลาวมา มีจุดออนอยูที่วาเราสังเกต ทดลองจากตัวอยางจํานวน หนึ่ง และสรุปวาทั้งหมดวาเปนไปตามที่เราสังเกตได ซึ่งอาจสรุปผิด อาจมีตัวอยางที่เราไมไดสังเกต ทดลอง ไมเปนไปตามที่เราสรุปไวก็ได เราคงเคยพบวาหมอดูไมอาจทํานายไดถูกตองทุกเรื่องไป เพราะวิชาหมอดูเขาสรุปมาจากประสบการณในอดีต นั้น ไมไดมาจากทุกคนในโลกนี้ ทั้งในอดีต ปจจุบัน และอนาคต
  • 3. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การใหเหตุผล สาขาวิชาคณิตศาสตร3 รายวิชา ค 40101 คณิตศาสตรพื้นฐาน โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ ความรูในทางวิทยาศาสตรที่สรางความเจริญใหกับโลกปจจุบันมีรากฐานมาจากการใหเหตุผล แบบอุปนัย นักวิทยาศาสตรเปนคนชางสังเกต ชางคิด ชางทดลอง ตองใชเวลานานและกวาจะสรุปผล ออกมาได ตองตรวจสอบแลวตรวจสอบอีก จึงกลาประกาศใหสาธารณชนทราบและกวาจะเปนที่ ยอมรับ บางทานตองใชเวลานาน บางทานเสียชีวิตไปกอนที่ผลงานของตนจะเปนที่ยอมรับ บางทานเปน ที่เชื่อถือมาเปนรอยป ภายหลังมีผูพบวาความรูนั้นไมถูกตองก็มี เชน เรื่องโลกกลม อยางไรก็ตาม แมการใหเหตุผลแบบอุปนัยจะมีจุดออน แตก็มีคุณคามาก จึงไดมีนักวิทยา ศาสตรื และนักปรัชญา หลายทานคิดหลักการที่จะทําให การสรุปผลโดยวิธีนี้มีโอกาสถูกตองมากขึ้น วิธีการหนึ่งที่ไดรับความนิยม คือ วิธีของ สจวต มิลล (Stuart Mill ค.ศ. 11806 – 1873) นักปรัชญาชาว อังกฤษ ซึ่งมีหลักดังนี้ 1) ตัวอยางหรือประสบการณยอยที่จะนํามาอางจะตองเปนตัวแทนที่ดีที่สุดเทาที่จะทําได และ จะตองมากที่สุดเทาที่จะทําไดเชนกัน จะทําใหผลสรุปมีโอกาสใกลเคียงความถูกตองมากที่สุด หลักการนี้ในปจจุบันจะพบเห็นวาไดมีการใชในหลายอาชีพ เชน นักวิจัย จะสํารวจความคิดเห็นของประชาชนที่มีตอรัฐบาล นักวิจัยไมอาจถามคนททั้งประเทศ ได จึงตองสุมถามความคิดเห็นจากกลุมตัวอยางที่เปนตัวแทนของประชาชนโดยการสุมตัวอยางมาจาก ทุกอาชีพ เจาของโรงงาน ตองการจะรูวาผลิตผลแตละครั้งมีขอบกพรองกี่เปอรเซ็นต ก็ไมจําเปนตอง ตรวจสอบทั้งหมด เพียงแตสุมจากตัวอยางบางสวน เชน จากทั้งหมด 1,000 ชิ้น อาจสุมตัวอยางมา 50 ชิ้น ถาตรวจพบวาผลผลิตบกพรอง 5 ชิ้น คาดการณไดวาผลผลิตจะบกพรอง 5 ใน 50 นั่นคือ 100 ใน 1,000 ทางบริษัทตัวแทนจําหนายจะตองมีการประกันสิ้นคาซอมฟรี หรือเปลี่ยนคืนภายในระยะเวลาที่ กําหนด เพื่อมิใหเสียชื่อเสียง หรือมิฉะนั้นตองปรับปรุงวิธีการผลิตเพื่อใชจํานวนที่บกพรองลดนอยลง ครู ตองการวิเคราะหขอสอบของแตละวิชาวาแตละขอยากหรืองายเกินไป ก็ไมจําเปนตองนํา กระดาษคําตอบมาดูทั้งหมด นํากระดาษคําตอบของคนเกงมา 27 % และนํากระดาษคําตอบของคน ออนมา 27 % ของจํานวนนักเรียนที่เขาสอบทั้งหมด เพื่อดูวาขอใดมีคนทําไดมากไดนอย ขอใดที่คน ออนทําไดมากถือวาเปนของาย แตถาขอที่คนเกงทําไดนอยก็ถือวาขอนั้นเปนขอยาก 2) ตัวอยางแตกตางกันและเหตุผลที่เกิดกับตัวอยางนั้นเหตุเดียวกัน และทําใหเกิดผล เชนเดียวกันทุกครั้ง เราอาจจะสรุปวาเหตุนั้นทําใหเกิดผลนั้น เชน จากการศึกษาประวัตินักเรียนที่เรียนเกงคณิตศาสตร 100 คน พบวาทุกคนขยันทําแบบฝกหัด เพิ่มเติมจากหนังสืออื่น ๆ ดวย จึงสรุปวา การขยันทําแบบฝกหัดจากหนังสืออื่น ๆ ดวย จะทําใหเกง คณิตศาสตร
  • 4. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การใหเหตุผล สาขาวิชาคณิตศาสตร4 รายวิชา ค 40101 คณิตศาสตรพื้นฐาน โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ 3) ถาจากประสบการณยอยมีตัวอยางหนึ่งที่มีเหตุแตกตางไปจากเดิม เราก็สรุปวาผลที่ แตกตางกันอาจมาจากสาเหตุที่แตกตางกันนั้น เชน เกษตรกร เลี้ยงเปดดวยรํา ปลายขาวและหอยมาเปนเวลานานหลายชั่วอายุคนพบวาไขเปดมีสี แดง ตอมาขาดแคลนหอยจึงใชโปรตีนจากพืช ปรากฏวา ไขเปดมีสีเหลือง จึงสงสัยวา อาหารโปรตีน จากพืช นาจะเปนสาเหตุทําใหสีของไขแดงเปลี่ยนไป 4) พิจารณาทั้งเหตุที่เหมือนกันและเหตุที่ตางกัน เชน นิด หนอย โหนง และหนุย มีอาการแพเปนผื่นแดงขึ้นตามตัว เรียกวาลมพิษ สวนนิดมีอาการ ปวดทองดวย เมื่อซักประวัติการกินอาหาร และสถานที่ที่ทั้ง 4 คนไปไหนมา พบวา สถานที่ อาหารที่กิน นิด ไปโรงเรียน ขาว น้ําพริก ปูมา น้ําตาลสด หนอย อยูบาน ขาว แกงไก ปูมา มะละกอ โหนง ไปตลาด ขาว ผัดเผ็ดไก ปูมา หนุย ไปอําเภอ ขาว ผัดพริกขิง ปูมา สิ่งที่ทุกกินเหมือนกันหมดทุกคนคือ ขาว และปูมา จึงนาสงสัยปูมา เพราะเราไมเคยพบใครกิน ขาวแลวเปนลมพิษ สําหรับนิดมีอาการปวดทองดวย จึงนาสงสัย น้ําพริกกับน้ําตาลสด เพราะนิดกิน สองอยางนี้ตางจากคนอื่น 5) การขจัดตัวอยางที่เราทราบเหตุผลและผลแลวออกไปจนเหลือที่เราตองการ เชน นักวิจัย เรื่องพืชทดลองใชสาร ก ข ค ผสมเปยปุยใชกับพืชชนิดใหม ปรากฏวาพืชงอกงาม ตนอวบสมบูรณใหผลดก เขาสงสัยวาสารใดทําใหผลดก จึงพิจารณาจากสารทั้งสามชนิด ถาหากทราบ มากอนแลววา สาร ก บํารุงราก สาร ข บํารุงตน นักวิจัยสงสัยวานาจะเปนสาร ค ที่บํารุงผล 6) การเพิ่มระดับความเขมขนในการกระทําอาจทําใหเกิดผลตางกันไป เชน การทดลองของปาสกาล (Blaise Pascal ค.ศ. 1623 – 1662) นักวิทยาศาสตร และคณิตศาสตร ชาวฝรั่งเศส ทานทดลองนําปรอทใสลงในหลอดแกวปลายเปด 1 ขาง ยาว 1 เมตรจนเต็ม ใชมือปด ปลายเปดแลวคว่ําลงในอางที่มีน้ํา เมื่อปลอยมือปรากฏวาปรอทลดลงมาเหลือ 69 เซนติเมตร และเมื่อลด ระดับความสูงของสถานที่ทดลองต่ําลงมา ปรอทจะสูงขึ้นเรื่อย ๆ การทดลองของทานทําใหทานคนพบ เรื่องความกดดันของอากาศ
  • 5. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การใหเหตุผล สาขาวิชาคณิตศาสตร5 รายวิชา ค 40101 คณิตศาสตรพื้นฐาน โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ การใหเหตุผลแบบนิรนัย การใหเหตุผลแบบนิรนัย เปนการอางเหตุผลจากความรูพื้นฐานชุดหนึ่งที่ยอมรับมากอน ความรูพื้นฐานที่ตองยอมรับมาใชอางเหตุผลนี้มีชื่อเรียกตาง ๆ กัน เชน เหตุ(premise) สมมติฐาน (hypothesis) หรือสัจพจน(axiom หรือ postulate) วิธการสรุปความรูพื้นฐานที่ยอมรับมากอนนี้ เปนที่ นิยมใชมาตั้งแตสมัยกรีกโบราณวา 2000 ป มาแลว เชน เทลีส ใชวิธีนิรนัยพิสูจนความรูทางเรขาคณิต ใหเปนระบบเปนเหตุผลตอเนื่องกัน ตัวอยางที่ 6 ถาเรายอมรับวา 1. สิ่งมีชีวิตทุกชนิดตองการกินอาหาร และ 2. คนเปนสิ่งมีชีวิต เราจะสรุปไดวา คนตองการกินอาหาร # จะเห็นไดวาการใหเหตุผลนี้ประกอบดวยสองสวน สวนแรกมีสองขอตกเราตองยอมรับกัน กอน เรียกวา เหตุ หรือ สมมุติฐาน อีกสวนก็คือ ผลสรุป ซึ่งการตัดสินใจวาสรุปถูกตอก็ตอเมื่อ สมเหตุสมผล (valid) ในการตรวจสอบความสมเหตุสมผลนั้นทําไดหลายวิธี ดั้งเดิมที่ใชกันในสมัย โบราณ ไดแก วิธีของอริสโตเติลซึ่งในปจจุบันไดพัฒนามาใชแผนภาพแทนเซตของ เวน – ออยเลอร ซึ่งใชสําหรับขอความที่เขียนแทนดอยแผนภาพแทนเซตได วิธีของ เวน – ออยเลอร วิธีของ เวน – ออยเลอร จะวาดแผนภาพใหสอดคลองกับเหตุ หรือ สมมุติฐานทุกกรณีที่ เปนไปได แลวดูวาแผนภาพแตละกรณีสอดคลองกับผลสรุปตามที่สรุปไวหรือไม ถาทุกแผนภาพ สอดคลองกับผลสรุปตามที่สรุปไว เรากลาววาการใหเหตุผลนั้นสมเหตุสมผล แตถามีบางกรณีของ แผนภาพไมแสดงผลสรุปตามที่สรุปไวจะกลาววาการใหเหตุผลนั้นไมสมเหตุสมผล กอนที่จะใชแผนภาพ เซตของ เวน – ออยเลอร ชวยในการตรวจสอบความสมเหตุสมผล เรา จะตองตกลงกันกอนวา ขอความแตละแบบจะวาดแผนภาพแสดงไดอยางไร ให a เปนสมาชิกของเซต A b เปนสมาชิกของเซต B 1.) a ทุกตัวเปน b 2.) ไมมี a ตัวใดเปน b A B A B
  • 6. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การใหเหตุผล สาขาวิชาคณิตศาสตร6 รายวิชา ค 40101 คณิตศาสตรพื้นฐาน โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ 3.) a บางตัวเปน b (บริเวณแรเงา) 4.) a บางตัวไมเปน b (บริเวณแรเงา) A B A B 5.) ถาไมทราบความสัมพันธระหวาง A กับ B จะเขียนแผนภาพไดหลายแบบดังนี้ A B A B A B B A A B ตัวอยางที่ 7 จงตรวจสอบวา การใหเหตุผลตอไปนี้สมเหตุสมผลหรือไม สมมุติฐาน 1. คนทุกคนเปนสุนัข 2. สุนัขทุกตัวกินอาหาร ผล 1. คนทุกคนกินอาหาร วิธีทํา วาดภาพใหสอดคลองตามสมมุติฐานทั้งสองจะไดดังรูป เมื่อนําผลมาตรวจสอบจะเห็นวาสอดคลอง กับแผนภาพ ดังนั้นการใหเหตุผลนี้ คน สุนัข พวกกินอาหาร สมเหตุสมผล # ตัวอยางที่ 8 จงตรวจสอบความสมเหตุสมผล สมมุติฐาน 1. ลิงทุกตัวบินได 2. คนบางคนเปนลิง ผล คนบางคนบินได วิธีทํา วาดแผนภาพตามสมมุติฐานได 2 กรณี ดังนี้ สิ่งที่บินได สิ่งที่บินได ลิง คน คน ลิง
  • 7. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การใหเหตุผล สาขาวิชาคณิตศาสตร7 รายวิชา ค 40101 คณิตศาสตรพื้นฐาน โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ จะเห็นไดวา บริเวณที่แรเงานั้นอยูในวงสิ่งที่บินไดเมื่อตรวจดูผลสรุปกับแผนภาพ จะไดวา คนบางคนบินไดสอดคลองกับทั้งสองภาพ ดังนั้นการใหเหตุผลนี้ สมเหตุสมผล # ตัวอยางที่ 9 จงตรวจสอบความสมเหตุสมผล สมมุติฐาน 1. ไมมีคนจนใดเปนคนขยัน 2. ไมมีคนขยันใดเปนคนไมดี ผล ไมมีคนจนใดเปนคนไมดี วิธีทํา พิจารณาจากรูปแบบทั้งหมดที่เปนไปได กรณีที่ 1 คนจน คนไมดี คนขยัน กรณีที่ 2 คนจน คนไมดี คนขยัน กรณีที่ 3 คนจน คนไมดี คนขยัน กรณีที่ 4 คนจน คนไมดี คนขยัน จะเห็นวาสมมุติฐานไมไดบอกความสัมพันธระหวางคนจนกับคนมาดีมาให ดังนั้น แผนภาพ ความสัมพันธระหวางทั้งสองพวกจึงเปนไปไดหลายกรณี และนอกจากนี้เรายังพบอีกวาบางกรณี ผลสรุปไมสอดคลองกับแผนภาพ ดังนั้น การสรุปจึงไมสมเหตุสมผล # ตัวอยางที่ 10 จงตรวจสอบความสมเหตุสมผล สมมุติฐาน 1. นกบางชนิดบินได 2. ปลาบางชนิดบินได ผล นกบางชนิดไมใชปลา
  • 8. เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การใหเหตุผล สาขาวิชาคณิตศาสตร8 รายวิชา ค 40101 คณิตศาสตรพื้นฐาน โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ วิธีทํา วาดแผนภาพตามสมมุติฐานไดดังนี้ นก สิ่งที่บินได ปลา นก สิ่งที่บินได ปลา ปลา นก สิ่งที่บินได จะเห็นวามีบางแผนภาพที่ผลสรุปไมสอดคลอง ดังนั้นผลสรุป ไมสมเหตุสมผล # การใหเหตุผลเปนเรื่องจําเปนสําหรับการดํารงชีวิต ความเชื่อ การยอมรับ การโตแยง ตลอดจนการตัดสินใจ ตองอาศัยเหตุผลประกอบ หากเหตุผลดี ถูกหลักการจะทําใหการตัดสินใจไม ผิดพลาด นอกจากประโยชนดังกลาว การใหเหตุผลยังเปนพื้นฐานของการศึกษาหาความรูในศาสตรอีก หลายสาขา เชน คณิตศาสตร วิทยาศาสตร สังคมศาสตร รัฐศาสตร ฯลฯ ที่มา จากหนังสือการใหเหตุผล ของ ผศ.ดร.สมวงษ แปลงประสพโชค