SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 26
ประวัติและวิวัฒนาการ วิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย อาจารย์สกุลศรี ศรีสารคาม
วิวัฒนาการของวิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย พ . ศ .2447-2469  พ . ศ . 2470-2474  ยุควิทยุโทรเลข ยุคทดลองส่งกระจายเสียง ยุควิทยุกับการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ . ศ . 2475-2482  ยุควิทยุกับการโฆษณาชวนเชื่อของรัฐบาลทหาร พ . ศ . 2483-2515  ยุควิทยุกับการเรียกร้องประชาธิปไตย พ . ศ . 2516-2525  ยุคขยายตัวทางธุรกิจ และเสรีภาพวิทยุ พ . ศ . 2525- ปัจจุบัน  แบ่งออกเป็น  6  ยุค
ยุควิทยุโทรเลข  ( พ . ศ . 2447-2469)  :  ร . 5 - 6 ,[object Object],[object Object],อาจารย์สกุลศรี ศรีสารคาม
ยุควิทยุโทรเลข  ( พ . ศ . 2447-2469)  :  ร . 5 - 6 ,[object Object],[object Object]
ยุควิทยุโทรเลข  ( พ . ศ . 2447-2469)  :  ร . 5 - 6 ,[object Object],[object Object],[object Object],อาจารย์สกุลศรี ศรีสารคาม ,[object Object],[object Object]
ยุคทดลองส่งกระจายเสียงและจัดตั้งสถานีวิทยุ  ( พ . ศ . 2470-2474)  :  ร . 7 ,[object Object],[object Object],[object Object]
ยุคทดลองส่งกระจายเสียงและจัดตั้งสถานีวิทยุ  ( พ . ศ . 2470-2474)  :  ร . 7 ,[object Object],[object Object],อาจารย์สกุลศรี ศรีสารคาม
ยุควิทยุกับการเปลี่ยนแปลงการปกครอง  ( พ . ศ . 2475-2482)  :  ร .7- ร .8 ,[object Object],พันเอกพหลพลพยุหเสนา ปรีดี พนมยงค์ หลวงพิบูลสงคราม
ยุควิทยุกับการเปลี่ยนแปลงการปกครอง  ( พ . ศ . 2475-2482)  :  ร .7- ร .8 ,[object Object],[object Object],[object Object]
ยุควิทยุกับการโฆษณาชวนเชื่อของรัฐบาลทหาร  ( พ . ศ . 2483-2515)  :  ร .8- ร .9 เกิดกรณีเรียกร้องดินแดนคืนจากฝรั่งเศส รัฐบาลหลวงพิบูลสงครามสร้างกระแสชาตินิยม ด้วยการแต่งเพลงกราว เพลงปลุกใจ ตั้งสถานีวิทยุเคลื่อนที่  12  สถานีตามแนวชายแดน เพื่อให้ประชาชนร่วมเรียกร้องดินแดนคืน “ วิทยุปลูกฝังความรู้สึกชาตินิยม”
ยุควิทยุกับการโฆษณาชวนเชื่อของรัฐบาลทหาร  ( พ . ศ . 2483-2515)  :  ร .8- ร .9 2484-2488  มีสงครามโลกครั้งที่  2 วิทยุกระจายเสียงมีบทบาทในการโฆษณาชวนเชื่อลิทธิการเมืองของประเทศสองฝ่ายที่ทำสงครามกัน
ยุควิทยุกับการโฆษณาชวนเชื่อของรัฐบาลทหาร  ( พ . ศ . 2483-2515)  :  ร .8- ร .9 ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],สถานีวิทยุของกรมไปรษณีย์โทรเลขชื่อว่า “ สถานีวิทยุ   1  ปณ . ”  ทำให้มีสถานีวิทยุกระจายเสียงเพิ่มขึ้น จากเดิมที่มีสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยรายเดียว
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ยุควิทยุกับการโฆษณาชวนเชื่อของรัฐบาลทหาร  ( พ . ศ . 2483-2515)  :  ร .8- ร .9 ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ยุควิทยุกับการโฆษณาชวนเชื่อของรัฐบาลทหาร  ( พ . ศ . 2483-2515)  :  ร .8- ร .9 อาจารย์สกุลศรี ศรีสารคาม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ จอมพลถนอม กิตติขจร
ยุควิทยุกับเรียกร้องประชาธิปไตย  ( พ . ศ . 2516-2525) อาจารย์สกุลศรี ศรีสารคาม ในช่วงประมาณปี  2516 -2526  เป็นช่วงที่เหตุการณ์ในประเทศไทยไม่สงบ มีการปฏิวัติรัฐประหารและการเดินขบวนเรียกร้องของนักศึกษาและประชาชนอยู่บ่อยครั้ง วิทยุถูกใช้เพื่อเป็นกระบอกเสียงของรัฐบาลในการโฆษณาชวนเชื่อและบิดเบือนข่าวสารเกี่ยวกับการเดินขบวนเรียกร้องประชาธิปไตยของนิสิตนักศึกษา ประชาชนเริ่มเดินขบวนขับไล่จอมพลถนอม
ยุควิทยุกับเรียกร้องประชาธิปไตย  ( พ . ศ . 2516-2525) ,[object Object],[object Object],X
ยุควิทยุกับเรียกร้องประชาธิปไตย  ( พ . ศ . 2516-2525) อาจารย์สกุลศรี ศรีสารคาม ขวาพิฆาตซ้าย รัฐบาลใช้วิทยุปลุกกระแสต่อต้านนักศึกษา  ขวา เท่ากับ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์  ซ้าย เท่ากับ คอมมิวนิสต์  ปลุกระดมมวลชนจนคนเชื่อว่านักศึกษาจะต่อสู้กับรัฐ
ยุควิทยุกับเรียกร้องประชาธิปไตย  ( พ . ศ . 2516-2525) -  6  ตุลา  2519  ทหารใช้วิทยุเป็นเครื่องมือต่อต้านกระแสการเคลื่อนไหวของนิสิตนักศึกษา -   หลังเหตุการณ์ รัฐบาลบังคับให้ทุกสถานีวิทยุถ่ายทอดรายการข่าว และรายการ “เพื่อแผ่นดินไทย”
ยุควิทยุกับเรียกร้องประชาธิปไตย  ( พ . ศ . 2516-2525) นิสิตนักศึกษาที่หนีไปร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์ ได้ใช้สื่อวิทยุ  “ เสียงประชาชนแห่งประเทศไทย ”  ตอบโต้รัฐบาล โดยส่งสัญญาณผ่านวิทยุคลื่นสั้น จากสถานีที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศจีน รายงานข่าว วิเคราะห์วิจารณ์การเมืองและสังคม การส่งสัญญาณของสถานีเสียงประชาชนแห่งประเทศไทย ได้ยุติลงในปี พ . ศ . 2526
ยุคการขยายตัวทางธุรกิจและเสรีภาพของวิทยุ  ( พ . ศ . 2526- ปัจจุบัน ) ธุรกิจวิทยุมีการแข่งขันกันสูง โดยค่ายเทปใช้สื่อวิทยุเพื่อส่งเสริมการขายเทป สถานีวิทยุเพิ่มอย่างรวดเร็วเป็นเท่าตัว ในช่วงปี  2525-2535  โดยส่วนมากเป็นสถานีวิทยุ  FM  รัฐเก็บค่าสัมปทาน และ ค่าเช่าเวลา     ส่งผลให้การแข่งขันรุนแรง
ยุคการขยายตัวทางธุรกิจและเสรีภาพของวิทยุ  ( พ . ศ . 2526- ปัจจุบัน ) อาจารย์สกุลศรี ศรีสารคาม 17-20  พ . ค .  2535  มีการเคลื่อนไหวชุมชนคัดค้านรัฐบาล พล . อ . สุจินดา คราประยูร วิทยุแม้จะมีเสรีในระดับหนึ่ง แต่ก็ยังไม่ได้รายงานความเป็นจริงเท่าที่ควร หลังเหตุการณ์สงบ นายอานันท์ ปันยารชุน เปิดเสรีสื่อของรัฐ โดยออกระเบียบว่าด้วยวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ พ . ศ . 2535
ยุคการขยายตัวทางธุรกิจและเสรีภาพของวิทยุ  ( พ . ศ . 2526- ปัจจุบัน ) ประกาศใช้พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ พ . ศ .2543 กำหนดให้มีคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์แห่งชาติ หรือ กสช .  ทำหน้าที่กำหนดนโยบาย  จัดทำแผนแม่บทกิจการวิทยุกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ สาระสำคัญคือ ให้มีการจัดสรรคลื่นความถี่ให้แก่ภาคประชาชน ไม่ต่ำกว่าร้อยละ  20
ยุคการขยายตัวทางธุรกิจและเสรีภาพของวิทยุ  ( พ . ศ . 2526- ปัจจุบัน ) อาจารย์สกุลศรี ศรีสารคาม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ยุคการขยายตัวทางธุรกิจและเสรีภาพของวิทยุ  ( พ . ศ . 2526- ปัจจุบัน ) อาจารย์สกุลศรี ศรีสารคาม ,[object Object],[object Object],[object Object]
ยุคการขยายตัวทางธุรกิจและเสรีภาพของวิทยุ  ( พ . ศ . 2526- ปัจจุบัน ) วิทยุผ่านระบบอินเตอร์เน็ต หรือ เว็บเรดิโอ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)Kruthai Kidsdee
 
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทยการเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทยปาริชาต แท่นแก้ว
 
หนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอล
หนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลหนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอล
หนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลNu Boon
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
แบบฟอร์มหนังสือภายนอก
แบบฟอร์มหนังสือภายนอกแบบฟอร์มหนังสือภายนอก
แบบฟอร์มหนังสือภายนอกjustymew
 
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious ReformationWarinthorn Limpanakorn
 
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย rattasath
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
จังหวัดกับตัวสะกด
จังหวัดกับตัวสะกดจังหวัดกับตัวสะกด
จังหวัดกับตัวสะกดTasnee Punyothachat
 
อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์tassanee chaicharoen
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 

La actualidad más candente (20)

วิจัย การรวมกลุ่ม
วิจัย การรวมกลุ่มวิจัย การรวมกลุ่ม
วิจัย การรวมกลุ่ม
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทยการเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
 
หนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอล
หนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอลหนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอล
หนังสือเชิญส่งทีมเข้าร่วมแข่งขันฟุตบอล
 
ดนตรีไทยสมัยรัตน
ดนตรีไทยสมัยรัตนดนตรีไทยสมัยรัตน
ดนตรีไทยสมัยรัตน
 
โจทย์การหารที่มีเศษป. 1 2
โจทย์การหารที่มีเศษป. 1   2โจทย์การหารที่มีเศษป. 1   2
โจทย์การหารที่มีเศษป. 1 2
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
แบบฟอร์มหนังสือภายนอก
แบบฟอร์มหนังสือภายนอกแบบฟอร์มหนังสือภายนอก
แบบฟอร์มหนังสือภายนอก
 
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
 
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
จังหวัดกับตัวสะกด
จังหวัดกับตัวสะกดจังหวัดกับตัวสะกด
จังหวัดกับตัวสะกด
 
อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์อนามัยเจริญพันธุ์
อนามัยเจริญพันธุ์
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษการเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
 

Más de Sakulsri Srisaracam

คู่มือ Design thinking & transmedia storytelling
คู่มือ Design thinking & transmedia storytellingคู่มือ Design thinking & transmedia storytelling
คู่มือ Design thinking & transmedia storytellingSakulsri Srisaracam
 
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movementการขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social MovementSakulsri Srisaracam
 
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชนความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชนSakulsri Srisaracam
 
The role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting processThe role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting processSakulsri Srisaracam
 
Social Media กับการทำข่าวสอบสวน
Social Media กับการทำข่าวสอบสวนSocial Media กับการทำข่าวสอบสวน
Social Media กับการทำข่าวสอบสวนSakulsri Srisaracam
 
Social TV & Transmedia for Documentary
Social TV & Transmedia for DocumentarySocial TV & Transmedia for Documentary
Social TV & Transmedia for DocumentarySakulsri Srisaracam
 

Más de Sakulsri Srisaracam (20)

คู่มือ Design thinking & transmedia storytelling
คู่มือ Design thinking & transmedia storytellingคู่มือ Design thinking & transmedia storytelling
คู่มือ Design thinking & transmedia storytelling
 
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movementการขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
การขับเคลื่อนประเด็นทางสังคม Social Movement
 
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชนความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
ความจริงบันเทิง (Factual Entertainment) รายการโทรทัศน์ทางเลือกใหม่ของประชาชน
 
Online community & journalism
Online community & journalismOnline community & journalism
Online community & journalism
 
The role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting processThe role of Social Media and the changing of news reporting process
The role of Social Media and the changing of news reporting process
 
Reseachconvergence
ReseachconvergenceReseachconvergence
Reseachconvergence
 
Social Media กับการทำข่าวสอบสวน
Social Media กับการทำข่าวสอบสวนSocial Media กับการทำข่าวสอบสวน
Social Media กับการทำข่าวสอบสวน
 
Social TV & Transmedia for Documentary
Social TV & Transmedia for DocumentarySocial TV & Transmedia for Documentary
Social TV & Transmedia for Documentary
 
Newsreportprocess
NewsreportprocessNewsreportprocess
Newsreportprocess
 
Social Media & Journalism
Social Media & JournalismSocial Media & Journalism
Social Media & Journalism
 
Digital Media & University
Digital Media & UniversityDigital Media & University
Digital Media & University
 
Irregularverb
IrregularverbIrregularverb
Irregularverb
 
Agreement of verb
Agreement of verbAgreement of verb
Agreement of verb
 
Adjectiveadverb
AdjectiveadverbAdjectiveadverb
Adjectiveadverb
 
Conjunctions
ConjunctionsConjunctions
Conjunctions
 
Conjunctions
ConjunctionsConjunctions
Conjunctions
 
Adjective & Adverb
Adjective & AdverbAdjective & Adverb
Adjective & Adverb
 
News21century
News21century News21century
News21century
 
Radio drama
Radio dramaRadio drama
Radio drama
 
TV Production 2
TV Production 2TV Production 2
TV Production 2
 

Thairadio

  • 2. วิวัฒนาการของวิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย พ . ศ .2447-2469 พ . ศ . 2470-2474 ยุควิทยุโทรเลข ยุคทดลองส่งกระจายเสียง ยุควิทยุกับการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ . ศ . 2475-2482 ยุควิทยุกับการโฆษณาชวนเชื่อของรัฐบาลทหาร พ . ศ . 2483-2515 ยุควิทยุกับการเรียกร้องประชาธิปไตย พ . ศ . 2516-2525 ยุคขยายตัวทางธุรกิจ และเสรีภาพวิทยุ พ . ศ . 2525- ปัจจุบัน แบ่งออกเป็น 6 ยุค
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10. ยุควิทยุกับการโฆษณาชวนเชื่อของรัฐบาลทหาร ( พ . ศ . 2483-2515) : ร .8- ร .9 เกิดกรณีเรียกร้องดินแดนคืนจากฝรั่งเศส รัฐบาลหลวงพิบูลสงครามสร้างกระแสชาตินิยม ด้วยการแต่งเพลงกราว เพลงปลุกใจ ตั้งสถานีวิทยุเคลื่อนที่ 12 สถานีตามแนวชายแดน เพื่อให้ประชาชนร่วมเรียกร้องดินแดนคืน “ วิทยุปลูกฝังความรู้สึกชาตินิยม”
  • 11. ยุควิทยุกับการโฆษณาชวนเชื่อของรัฐบาลทหาร ( พ . ศ . 2483-2515) : ร .8- ร .9 2484-2488 มีสงครามโลกครั้งที่ 2 วิทยุกระจายเสียงมีบทบาทในการโฆษณาชวนเชื่อลิทธิการเมืองของประเทศสองฝ่ายที่ทำสงครามกัน
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16. ยุควิทยุกับเรียกร้องประชาธิปไตย ( พ . ศ . 2516-2525) อาจารย์สกุลศรี ศรีสารคาม ในช่วงประมาณปี 2516 -2526 เป็นช่วงที่เหตุการณ์ในประเทศไทยไม่สงบ มีการปฏิวัติรัฐประหารและการเดินขบวนเรียกร้องของนักศึกษาและประชาชนอยู่บ่อยครั้ง วิทยุถูกใช้เพื่อเป็นกระบอกเสียงของรัฐบาลในการโฆษณาชวนเชื่อและบิดเบือนข่าวสารเกี่ยวกับการเดินขบวนเรียกร้องประชาธิปไตยของนิสิตนักศึกษา ประชาชนเริ่มเดินขบวนขับไล่จอมพลถนอม
  • 17.
  • 18. ยุควิทยุกับเรียกร้องประชาธิปไตย ( พ . ศ . 2516-2525) อาจารย์สกุลศรี ศรีสารคาม ขวาพิฆาตซ้าย รัฐบาลใช้วิทยุปลุกกระแสต่อต้านนักศึกษา ขวา เท่ากับ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซ้าย เท่ากับ คอมมิวนิสต์ ปลุกระดมมวลชนจนคนเชื่อว่านักศึกษาจะต่อสู้กับรัฐ
  • 19. ยุควิทยุกับเรียกร้องประชาธิปไตย ( พ . ศ . 2516-2525) - 6 ตุลา 2519 ทหารใช้วิทยุเป็นเครื่องมือต่อต้านกระแสการเคลื่อนไหวของนิสิตนักศึกษา - หลังเหตุการณ์ รัฐบาลบังคับให้ทุกสถานีวิทยุถ่ายทอดรายการข่าว และรายการ “เพื่อแผ่นดินไทย”
  • 20. ยุควิทยุกับเรียกร้องประชาธิปไตย ( พ . ศ . 2516-2525) นิสิตนักศึกษาที่หนีไปร่วมกับพรรคคอมมิวนิสต์ ได้ใช้สื่อวิทยุ “ เสียงประชาชนแห่งประเทศไทย ” ตอบโต้รัฐบาล โดยส่งสัญญาณผ่านวิทยุคลื่นสั้น จากสถานีที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของประเทศจีน รายงานข่าว วิเคราะห์วิจารณ์การเมืองและสังคม การส่งสัญญาณของสถานีเสียงประชาชนแห่งประเทศไทย ได้ยุติลงในปี พ . ศ . 2526
  • 21. ยุคการขยายตัวทางธุรกิจและเสรีภาพของวิทยุ ( พ . ศ . 2526- ปัจจุบัน ) ธุรกิจวิทยุมีการแข่งขันกันสูง โดยค่ายเทปใช้สื่อวิทยุเพื่อส่งเสริมการขายเทป สถานีวิทยุเพิ่มอย่างรวดเร็วเป็นเท่าตัว ในช่วงปี 2525-2535 โดยส่วนมากเป็นสถานีวิทยุ FM รัฐเก็บค่าสัมปทาน และ ค่าเช่าเวลา  ส่งผลให้การแข่งขันรุนแรง
  • 22. ยุคการขยายตัวทางธุรกิจและเสรีภาพของวิทยุ ( พ . ศ . 2526- ปัจจุบัน ) อาจารย์สกุลศรี ศรีสารคาม 17-20 พ . ค . 2535 มีการเคลื่อนไหวชุมชนคัดค้านรัฐบาล พล . อ . สุจินดา คราประยูร วิทยุแม้จะมีเสรีในระดับหนึ่ง แต่ก็ยังไม่ได้รายงานความเป็นจริงเท่าที่ควร หลังเหตุการณ์สงบ นายอานันท์ ปันยารชุน เปิดเสรีสื่อของรัฐ โดยออกระเบียบว่าด้วยวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ พ . ศ . 2535
  • 23. ยุคการขยายตัวทางธุรกิจและเสรีภาพของวิทยุ ( พ . ศ . 2526- ปัจจุบัน ) ประกาศใช้พระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกำกับกิจการวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ พ . ศ .2543 กำหนดให้มีคณะกรรมการกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์แห่งชาติ หรือ กสช . ทำหน้าที่กำหนดนโยบาย จัดทำแผนแม่บทกิจการวิทยุกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ สาระสำคัญคือ ให้มีการจัดสรรคลื่นความถี่ให้แก่ภาคประชาชน ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 20
  • 24.
  • 25.
  • 26. ยุคการขยายตัวทางธุรกิจและเสรีภาพของวิทยุ ( พ . ศ . 2526- ปัจจุบัน ) วิทยุผ่านระบบอินเตอร์เน็ต หรือ เว็บเรดิโอ