SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 3
Descargar para leer sin conexión
4. ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต 
รศ, วงหทัย ตันชีวะวงศ์ 
เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายผ่านเครื่องมือสื่อสารแบบพกพา (Wireless communication through portable devices) ได้แก่ สมาร์ทโฟน และสมาร์ทแท็บเล็ต มีพัฒนาการอย่างรวดเร็ว และได้รับความนิยมมาก เพราะเป็นการสื่อสารแบบจอสัมผัส (Touch-screen media) ทาให้พกพาสะดวก ใช้งานง่าย ผู้ใช้ไม่ต้องแบกน้าหนักของเครื่องมือสื่อสารเหมือนเดิม เมื่อมี เทคโนโลยีสื่อสารไร้สายความเร็วสูงรองรับก็ยิ่งทาให้ผู้ใช้สามารถสื่อสารได้ทุกที่ทุกเวลา และในหลายๆโอกาสมากยิ่งขึ้น 
ประเภทของโมบายแอพพลิเคชั่น (Mobile application) ที่มีมากมายบน สมาร์ทโฟน และสมาร์ทแท็บเล็ต ยิ่งทาให้ผู้ใช้ สามารถทาการสื่อสารไร้สายรูปแบบต่างๆได้คล่องตัวยิ่งขึ้น เช่น ผู้ใช้สามารถส่งอีเมล์ ค้นหาสถานที่ ถ่ายรูป เล่นเกม ดูดวง ตรวจการจราจร และพูดคุยในเครือข่ายสังคมออนไลน์ สลับกลับไปมาได้อย่างรวดเร็ว ปรากฎการณ์การใช้เทคโนโลยีการ สื่อสารไร้สายผ่านเครื่องมือสื่อสารแบบพกพาเหล่านี้เป็นที่มาของการวิจัยถึง ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นบน สมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต 
สมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตเป็นเครื่องมือสื่อสาร ของคนทุกๆ วัย ทุกสถานะทางสังคมและเศรษฐกิจ ทุกระดับการศึกษาและ อาชีพ แต่ผู้ใช้ส่วนใหญ่ยังเป็นคนรุ่นใหม่ช่วงวัยรุ่น วัยกาลังศึกษาเล่าเรียนและวัยทางานตอนต้น ศึกษาในระดับอุดมศึกษา และปริญญาตรี ผลวิจัยพบว่า การใช้สมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตไม่สัมพันธ์กับสถานะภาพทางเศรษฐกิจของผู้ใช้ ถึงแม้จะมี ยี่ห้อสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตที่ราคาถูกให้เลือกซื้อใช้งาน แต่กลับนิยมใช้เครื่องมือสื่อสารราคาแพงอย่างแอ็บเปิ้ลและซัม ซุง 
จากการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต ผู้ใช้แอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟน และแท็บเล็ตส่วนใหญ่สามารถระบุชื่อแอพพลิเคชั่นที่2
ใช้เปิดรับข้อมูลเป็นประจาได้ ประเภทแอพพลิเคชั่นที่นิยมใช้ คือ แอพพลิเคชั่นเพื่อการสื่อสารในสังคมแบบออนไลน์ (Social networking / Social media) ะใช้แอพพลิเคชั่นของสื่อมวลชนเพื่อเปิดรับข้อมูลข่าวสารมากเป็นอันดับที่สอง และใช้ โมบายเว็บบราวเซอร์เพื่อเข้าเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นอันดับที่สาม เมื่อดูผลวิจัยทั้งรายชื่อแอพพลิเคชั่นที่เปิดรับมากที่สุด ประกอบกับความถี่ในการใช้แอพพลิเคชั่นประเภทต่างๆ พบว่า มีผู้ใช้นิยมใช้แอพพลิเคชั่นของสื่อมวลชนหลายประเภท หนังสือพิมพ์ สถานีโทรทัศน์ และ นิตยสาร ทั้งสื่อไทยและสื่อต่างประเทศเช่น ไทยรัฐ ครอบครัวข่าว Thai TV3 บางกอก โพสต์ Thai PBA BBC และ Bloomberg และมีผู้นิยมใช้แอพพลิเคชั่นประเภทรวมรายการข่าวสารของสื่อมวลชนที่ผู้ใช้ฯ สามารถดูรายการโทรทัศน์ ละคร ข่าวและรายการวาไรตี้ต่างๆ ได้มากกว่า 1 สถานี หรือ ดูรายการประเภทต่างๆได้ใน แอพพลิเคชั่นเดียว เช่น TV Thailand Thai radio Thai news และ News 360 ฯลฯ 
ผลการวิจัยชี้ให้เห็น แนวโน้มของพฤติกรรมการเปิดรับข้อมูลข่าวสารแบบไร้สายผ่านเครื่องมือสื่อสารแบบจอสัมผัสจะมี เพิ่มมากขึ้นและอาจจะมากกว่าการเปิดรับผ่านสื่อมวลชนเดิม โดยเป็นการเปิดรับข้อมูลข่าวสารแบบเคลื่อนที่ เปิดรับได้ทุก ที่ทุกเวลาจากหลายๆแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต 
โมบายแอพพลิเคชั่นมีคุณลักษณะของสื่อใหม่ตามที่มาร์ติน ลีสเตอร์ เดนนิส แมคเควล และเฮนรี่ เจนกินส์ ระบุไว้ และตั้ง ข้อสังเกตว่า การใช้แอพพลิเคชั่นเพื่อแบ่งปัน (Sharing) ซึ่งหมายถึงการให้หรือการส่งข้อมูลรูปแบบต่างๆ เช่น ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และ ข้อความ ฯลฯ ต่อไปให้กับผู้อื่นนั้น นอกจากจะเป็นประโยชน์กับตัวผู้ใช้งานแอพพลิเคชั่นเองแล้ว ยัง เป็นประโยชน์กับผู้ประกอบการเจ้าของแอพพลิเคชั่นในแง่ธุรกิจด้วยความสามารถของแอพพลิเคชั่นเป็นปัจจัยสาคัญต่อการ ใช้เพื่อสื่อสาร แม้ว่า ผู้ใช้ฯแม้มีภูมิหลังทางประชากรต่างกันแต่มีความตั้งใจจะใช้แอพพลิเคชั่นเพื่อการสื่อสารในอนาคตไม่ ต่างกัน เพราะ แอพพลิเคชั่นถูกสร้างขึ้นมาเพื่อตอบสนองการใช้งานของผู้ใช้จานวนมากเป็นหลัก และมีมากมายหลาย ประเภท 
สาหรับผู้ใช้ แม้ว่าจะมีความแตกต่างกันทางลักษณะประชากร เช่น เพื่อการปฎิสัมพันธ์ทางสังคม เพื่อเปิดรับข้อมูลข่าวสาร เพื่อความสนุกเพลิดเพลิน ฯลฯ นอกจากนี้ยังอธิบายได้ว่าบางแอพพลิเคชั่นพัฒนามาจากเว็บไซต์ หรือสื่อ ซึ่งมีผู้เปิดรับ ข้อมูลข่าวสารเป็นประจาเป็นจานวนมากอยู่แล้ว บางเว็บไซต์และบางสื่อเมื่อพัฒนาต่อมาเป็นโมบายแอพพลิเคชั่น จึงมีผู้ นิยมใช้เป็นจานวนมากเช่นกันแม้การวิจัยจะยังไม่ได้ผลที่ชัดเจนว่า การใช้โมบายแอพพลิเคชั่นจะได้รับความนิยมมากกว่า การใช้ World Wide Web เพื่อการค้นหา/เปิดรับข้อมูลข่าวสาร หรือไม่ พฤติกรรมการค้นหาข้อมูลผ่านplatform แบบWorld Wide Web และ platform แบบ applicationบนสื่อแบบจอสัมผัส ก็เป็นสิ่งที่น่าติดตามศึกษาว่าจะพัฒนาไปในทิศทางใด และ โมบายแอพพลิเคชั่นจะยังเป็น Platform ที่นิยมใช้ในการสื่อสารแบบไร้สายและเคลื่อนที่ได้ ไปอีกนานใช่หรือไม
บรรณานุกรม 
ตารา 
1. McQuail, Denis. McQuail’s Mass Communication Theory, 6th ed., ( London : Sage, 2010) 
2. Lister, Martin. New Media in Everyday Life, New Media: A Critical Introduction, (London :Routledgeg , 2003) 
3. พิสณุ ฟองศรี. (2549). เทคนิควิธีประเมินโครงการ. สุราษฎร์ธานี : พิมพ์งาม. 
วารสารวิชาการ 
1. Davis, Fred. Perceived Usefulness, Perceived Ease of Use, and User Acceptance of Information Technology, MIS Quartery, September, 1989, (Accessed: August 8, 2012) 
2. Davis, Fred. User acceptance of information technology: system characteristics, user perceptions and behavioral impacts, International Journal of Machine Studies, 38 (3), 475-487 , (1993) (Accessed : August 8, 2012) 
ผลงานวิจัยจากอินเทอร์เน็ต 
1. Theories use in IS Research , Unified Theory of Acceptance and Use of Technology, Last updated September 30, 2005, http://www.istheory.yorku.ca/UTAUT.htm 
2. Long, .Li "A Critical Review of Technology Acceptance Literature." Retrieved April 19 (2010): 2011., also in www.swdsi.org/swdsi2010/SW2010_Preceedings/papers/PA104.pdf , (Access dates February 17, 2013) 
ผลงานวิจัย 
1. วงหทัย ตันชีวะวงศ์ , การปฏิสัมพันธ์ทางสังคมผ่านสื่อดิจิตอลของคนวัยทางานในเขตกรุงเทพมหานคร ศึกษาเฉพาะ อินเทอร์เน็ตและโทรศัพท์เคลื่อนที่, 2549

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Tangkwa Tom
 
บทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ตบทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ตBhisut Boonyen
 
งานนำเสนอIs
งานนำเสนอIsงานนำเสนอIs
งานนำเสนอIsChii's Pawadee
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1She's Ning
 
01 บทที่ 1-บทนำ1
01 บทที่ 1-บทนำ101 บทที่ 1-บทนำ1
01 บทที่ 1-บทนำ1M'suKanya MinHyuk
 
ปัญหาและกรณีศึกษาการใช้งานสารสนเทศ
ปัญหาและกรณีศึกษาการใช้งานสารสนเทศปัญหาและกรณีศึกษาการใช้งานสารสนเทศ
ปัญหาและกรณีศึกษาการใช้งานสารสนเทศNatthida Suwannarat
 
คำถาม
คำถามคำถาม
คำถามbangfa
 
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตปิยะดนัย วิเคียน
 
ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปิยะดนัย วิเคียน
 
Social networking, direct media
Social networking, direct mediaSocial networking, direct media
Social networking, direct mediapawineeyooin
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 

La actualidad más candente (13)

บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ตบทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ต
 
0222
02220222
0222
 
งานนำเสนอIs
งานนำเสนอIsงานนำเสนอIs
งานนำเสนอIs
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
01 บทที่ 1-บทนำ1
01 บทที่ 1-บทนำ101 บทที่ 1-บทนำ1
01 บทที่ 1-บทนำ1
 
ปัญหาและกรณีศึกษาการใช้งานสารสนเทศ
ปัญหาและกรณีศึกษาการใช้งานสารสนเทศปัญหาและกรณีศึกษาการใช้งานสารสนเทศ
ปัญหาและกรณีศึกษาการใช้งานสารสนเทศ
 
คำถาม
คำถามคำถาม
คำถาม
 
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
 
ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความเปลี่ยนแปลงจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Social networking, direct media
Social networking, direct mediaSocial networking, direct media
Social networking, direct media
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 

Similar a 4

ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningrubtumproject.com
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำPoonyapat Wongpong
 
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...Arrat Krupeach
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรM'suKanya MinHyuk
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องTanyarad Chansawang
 
ผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยีผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยีballjantakong
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศKriangx Ch
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำWilaiporn Seehawong
 

Similar a 4 (20)

ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
3
33
3
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยีผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยี
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Mil chapter 1_2(2)
Mil chapter 1_2(2)Mil chapter 1_2(2)
Mil chapter 1_2(2)
 
1
11
1
 
1
11
1
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 

Más de Mus Donganon (9)

10
1010
10
 
9
99
9
 
8
88
8
 
7
77
7
 
6
66
6
 
5
55
5
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 

4

  • 1. 4. ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต รศ, วงหทัย ตันชีวะวงศ์ เทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายผ่านเครื่องมือสื่อสารแบบพกพา (Wireless communication through portable devices) ได้แก่ สมาร์ทโฟน และสมาร์ทแท็บเล็ต มีพัฒนาการอย่างรวดเร็ว และได้รับความนิยมมาก เพราะเป็นการสื่อสารแบบจอสัมผัส (Touch-screen media) ทาให้พกพาสะดวก ใช้งานง่าย ผู้ใช้ไม่ต้องแบกน้าหนักของเครื่องมือสื่อสารเหมือนเดิม เมื่อมี เทคโนโลยีสื่อสารไร้สายความเร็วสูงรองรับก็ยิ่งทาให้ผู้ใช้สามารถสื่อสารได้ทุกที่ทุกเวลา และในหลายๆโอกาสมากยิ่งขึ้น ประเภทของโมบายแอพพลิเคชั่น (Mobile application) ที่มีมากมายบน สมาร์ทโฟน และสมาร์ทแท็บเล็ต ยิ่งทาให้ผู้ใช้ สามารถทาการสื่อสารไร้สายรูปแบบต่างๆได้คล่องตัวยิ่งขึ้น เช่น ผู้ใช้สามารถส่งอีเมล์ ค้นหาสถานที่ ถ่ายรูป เล่นเกม ดูดวง ตรวจการจราจร และพูดคุยในเครือข่ายสังคมออนไลน์ สลับกลับไปมาได้อย่างรวดเร็ว ปรากฎการณ์การใช้เทคโนโลยีการ สื่อสารไร้สายผ่านเครื่องมือสื่อสารแบบพกพาเหล่านี้เป็นที่มาของการวิจัยถึง ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นบน สมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต สมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตเป็นเครื่องมือสื่อสาร ของคนทุกๆ วัย ทุกสถานะทางสังคมและเศรษฐกิจ ทุกระดับการศึกษาและ อาชีพ แต่ผู้ใช้ส่วนใหญ่ยังเป็นคนรุ่นใหม่ช่วงวัยรุ่น วัยกาลังศึกษาเล่าเรียนและวัยทางานตอนต้น ศึกษาในระดับอุดมศึกษา และปริญญาตรี ผลวิจัยพบว่า การใช้สมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตไม่สัมพันธ์กับสถานะภาพทางเศรษฐกิจของผู้ใช้ ถึงแม้จะมี ยี่ห้อสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ตที่ราคาถูกให้เลือกซื้อใช้งาน แต่กลับนิยมใช้เครื่องมือสื่อสารราคาแพงอย่างแอ็บเปิ้ลและซัม ซุง จากการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้โมบายแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต ผู้ใช้แอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟน และแท็บเล็ตส่วนใหญ่สามารถระบุชื่อแอพพลิเคชั่นที่2
  • 2. ใช้เปิดรับข้อมูลเป็นประจาได้ ประเภทแอพพลิเคชั่นที่นิยมใช้ คือ แอพพลิเคชั่นเพื่อการสื่อสารในสังคมแบบออนไลน์ (Social networking / Social media) ะใช้แอพพลิเคชั่นของสื่อมวลชนเพื่อเปิดรับข้อมูลข่าวสารมากเป็นอันดับที่สอง และใช้ โมบายเว็บบราวเซอร์เพื่อเข้าเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เป็นอันดับที่สาม เมื่อดูผลวิจัยทั้งรายชื่อแอพพลิเคชั่นที่เปิดรับมากที่สุด ประกอบกับความถี่ในการใช้แอพพลิเคชั่นประเภทต่างๆ พบว่า มีผู้ใช้นิยมใช้แอพพลิเคชั่นของสื่อมวลชนหลายประเภท หนังสือพิมพ์ สถานีโทรทัศน์ และ นิตยสาร ทั้งสื่อไทยและสื่อต่างประเทศเช่น ไทยรัฐ ครอบครัวข่าว Thai TV3 บางกอก โพสต์ Thai PBA BBC และ Bloomberg และมีผู้นิยมใช้แอพพลิเคชั่นประเภทรวมรายการข่าวสารของสื่อมวลชนที่ผู้ใช้ฯ สามารถดูรายการโทรทัศน์ ละคร ข่าวและรายการวาไรตี้ต่างๆ ได้มากกว่า 1 สถานี หรือ ดูรายการประเภทต่างๆได้ใน แอพพลิเคชั่นเดียว เช่น TV Thailand Thai radio Thai news และ News 360 ฯลฯ ผลการวิจัยชี้ให้เห็น แนวโน้มของพฤติกรรมการเปิดรับข้อมูลข่าวสารแบบไร้สายผ่านเครื่องมือสื่อสารแบบจอสัมผัสจะมี เพิ่มมากขึ้นและอาจจะมากกว่าการเปิดรับผ่านสื่อมวลชนเดิม โดยเป็นการเปิดรับข้อมูลข่าวสารแบบเคลื่อนที่ เปิดรับได้ทุก ที่ทุกเวลาจากหลายๆแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต โมบายแอพพลิเคชั่นมีคุณลักษณะของสื่อใหม่ตามที่มาร์ติน ลีสเตอร์ เดนนิส แมคเควล และเฮนรี่ เจนกินส์ ระบุไว้ และตั้ง ข้อสังเกตว่า การใช้แอพพลิเคชั่นเพื่อแบ่งปัน (Sharing) ซึ่งหมายถึงการให้หรือการส่งข้อมูลรูปแบบต่างๆ เช่น ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และ ข้อความ ฯลฯ ต่อไปให้กับผู้อื่นนั้น นอกจากจะเป็นประโยชน์กับตัวผู้ใช้งานแอพพลิเคชั่นเองแล้ว ยัง เป็นประโยชน์กับผู้ประกอบการเจ้าของแอพพลิเคชั่นในแง่ธุรกิจด้วยความสามารถของแอพพลิเคชั่นเป็นปัจจัยสาคัญต่อการ ใช้เพื่อสื่อสาร แม้ว่า ผู้ใช้ฯแม้มีภูมิหลังทางประชากรต่างกันแต่มีความตั้งใจจะใช้แอพพลิเคชั่นเพื่อการสื่อสารในอนาคตไม่ ต่างกัน เพราะ แอพพลิเคชั่นถูกสร้างขึ้นมาเพื่อตอบสนองการใช้งานของผู้ใช้จานวนมากเป็นหลัก และมีมากมายหลาย ประเภท สาหรับผู้ใช้ แม้ว่าจะมีความแตกต่างกันทางลักษณะประชากร เช่น เพื่อการปฎิสัมพันธ์ทางสังคม เพื่อเปิดรับข้อมูลข่าวสาร เพื่อความสนุกเพลิดเพลิน ฯลฯ นอกจากนี้ยังอธิบายได้ว่าบางแอพพลิเคชั่นพัฒนามาจากเว็บไซต์ หรือสื่อ ซึ่งมีผู้เปิดรับ ข้อมูลข่าวสารเป็นประจาเป็นจานวนมากอยู่แล้ว บางเว็บไซต์และบางสื่อเมื่อพัฒนาต่อมาเป็นโมบายแอพพลิเคชั่น จึงมีผู้ นิยมใช้เป็นจานวนมากเช่นกันแม้การวิจัยจะยังไม่ได้ผลที่ชัดเจนว่า การใช้โมบายแอพพลิเคชั่นจะได้รับความนิยมมากกว่า การใช้ World Wide Web เพื่อการค้นหา/เปิดรับข้อมูลข่าวสาร หรือไม่ พฤติกรรมการค้นหาข้อมูลผ่านplatform แบบWorld Wide Web และ platform แบบ applicationบนสื่อแบบจอสัมผัส ก็เป็นสิ่งที่น่าติดตามศึกษาว่าจะพัฒนาไปในทิศทางใด และ โมบายแอพพลิเคชั่นจะยังเป็น Platform ที่นิยมใช้ในการสื่อสารแบบไร้สายและเคลื่อนที่ได้ ไปอีกนานใช่หรือไม
  • 3. บรรณานุกรม ตารา 1. McQuail, Denis. McQuail’s Mass Communication Theory, 6th ed., ( London : Sage, 2010) 2. Lister, Martin. New Media in Everyday Life, New Media: A Critical Introduction, (London :Routledgeg , 2003) 3. พิสณุ ฟองศรี. (2549). เทคนิควิธีประเมินโครงการ. สุราษฎร์ธานี : พิมพ์งาม. วารสารวิชาการ 1. Davis, Fred. Perceived Usefulness, Perceived Ease of Use, and User Acceptance of Information Technology, MIS Quartery, September, 1989, (Accessed: August 8, 2012) 2. Davis, Fred. User acceptance of information technology: system characteristics, user perceptions and behavioral impacts, International Journal of Machine Studies, 38 (3), 475-487 , (1993) (Accessed : August 8, 2012) ผลงานวิจัยจากอินเทอร์เน็ต 1. Theories use in IS Research , Unified Theory of Acceptance and Use of Technology, Last updated September 30, 2005, http://www.istheory.yorku.ca/UTAUT.htm 2. Long, .Li "A Critical Review of Technology Acceptance Literature." Retrieved April 19 (2010): 2011., also in www.swdsi.org/swdsi2010/SW2010_Preceedings/papers/PA104.pdf , (Access dates February 17, 2013) ผลงานวิจัย 1. วงหทัย ตันชีวะวงศ์ , การปฏิสัมพันธ์ทางสังคมผ่านสื่อดิจิตอลของคนวัยทางานในเขตกรุงเทพมหานคร ศึกษาเฉพาะ อินเทอร์เน็ตและโทรศัพท์เคลื่อนที่, 2549