SlideShare a Scribd company logo
1 of 89
Download to read offline
การสอบวิทยานิพนธ์ 3 บท


การรับรู้ ข่าวออนไลน์ ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
  ONLINE NEWS PERCEPTION OF SECONDARY STUDENTS
               IN LOP BURI PROVINCE

                    นายอารัทธิ์ เอียมประภาศ
                                   ่
                         5112290390
ความเป็ นมาและความสํ าคัญของปัญหา
         การเผยแพร่ ข่าวออนไลน์ ผ่านเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ตและมีการขยายตัว
เพิมขึนอย่ างรวดเร็ว จากการสํ ารวจของเนคเทคได้ เห็นแล้ วว่ ามีผู้ใช้ เพิม
    ่ ้                                                                       ่
มากขึนทุกปี โดยผู้ใช้ อนเทอร์ เน็ตต่ างใช้ เครือข่ ายนีในการดํารงชีวต
      ้                  ิ                             ้                 ิ
ประจําวันแทบทั้งสิ้นและสิ่ งทีสําคัญทีสุดคือการติดตามข่ าวสารออนไลน์
                                ่      ่
ผ่ านสื่ ออินเทอร์ เน็ตมากกว่ าการติดตามข่ าวผ่ านสื่ อสิ่ งพิมพ์ เนื่องด้ วยความ
สะดวกและรวดเร็ว คล่ องตัว ซึ่งผลการวิจยนีสามารถนําไปเป็ นแนวทางใน
                                             ั ้
การให้ ข้อมูลและพัฒนาองค์ ความรู้ในการเลือกรับรู้ ข่าวได้ อย่ างเหมาะสม
กับการปรับปรุงและพัฒนาข่ าวออนไลน์ ให้ มประสิ ทธิภาพมากยิงขึน
                                               ี                       ่ ้
วัตถุประสงค์ ของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาลักษณะประชากรของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรีใน
   การรับรู ้ข่าวออนไลน์
2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมในการรับรู ้ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาใน
   จังหวัดลพบุรี
3. เพื่อศึกษาความต้องการในการรับรู ้ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษา
   ในจังหวัดลพบุรี
4. เพื่อศึกษาปัญหาในการรับรู ้ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาใน
   จังหวัดลพบุรี
สมมติฐานของการวิจัย
1. นักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรีมีลกษณะประชากรรับรู ้ข่าวออนไลน์
                                             ั
   ที่แตกต่างกัน
2. นักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรีมีพฤติกรรมในการรับรู ้ข่าวออนไลน์ที่
   แตกต่างกัน
3. นักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรีมีความต้องการในการรับรู ้ข่าว
   ออนไลน์ที่แตกต่างกัน
4. นักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรีมีปัญหาในการรับรู ้ข่าวออนไลน์ที่
   แตกต่างกัน
ขอบเขตของการวิจัย

การวิจยมีขอบเขตการศึกษาเฉพาะนักเรี ยนในระดับชั้นมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
      ั
นิยามศัพท์ เฉพาะ

      ข่าวออนไลน์ (Online news) การนําเสนอข่าวผ่านเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต โดย
ผูรับสารจะทําการรับข่าวโดยใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์หรื อโทรศัพท์มือถือเป็ นเครื่ อง
  ้
โดยปัจจุบนมีการนําเสนอข่าวผ่านเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตอย่างแพร่ หลาย โดย
          ั
หนังสื อพิมพ์ต่างๆ หันมานําเสนอข่าวในระบบข่าวออนไลน์กนมาก ั
นิยามศัพท์ เฉพาะ

        หนังสื อพิมพ์ เป็ นข่าวที่ถกคัดเลือกจากกองบรรณาธิการของสํานักข่าวให้ตีพิมพ์
                                   ู
ลงในหนังสื อพิมพ์ โดยข่าวถูกรวบรวม ค้นหาจากผูสื่อข่าวแล้วนํามาเสนอต่อกอง
                                                     ้
บรรณาธิการให้คดเลือก โดยข่าวจะมีท้ งภาพและตัวอักษร เมื่อได้รับการคัดเลือกก็
                   ั                       ั
จัดพิมพ์ลงบนกระดาษบรู๊ ฟที่มีขนาด 24x36 นิ้ว โดยเข้าพิมพ์โดยใช้เครื่ องอ๊อฟเซท
โดยหนังสื อพิมพ์จะมีการเผยแพร่ เป็ นแบบรายวัน รายปักษ์ (15 วัน) รายเดือน (30
            ่ ั                                   ้ํ
วัน) ขึ้นอยูกบฝ่ ายการบริ หารของสํานักข่าวเป็ นผูกาหนด
นิยามศัพท์ เฉพาะ

       นักเรี ยน ผูท่ีมีอายุระหว่าง 3 – 14 ปี ที่เรี ยนหนังสื อในสถานศึกษาของรัฐบาล
                   ้
หรื อเอกชน ทําการศึกษาหาความรู ้เพิ่มเติมในเนื้อหาบทเรี ยนที่ครู ถ่ายถอดหรื อสรุ ป
และชี้แจงให้เข้าใจ โดยเกิดองค์ความรู ้และนําองค์ความรู ้ที่ได้น้ นมาดํารงชีวตใช้ใน
                                                                   ั         ิ
ประจําวัน
นิยามศัพท์ เฉพาะ

      มัธยมศึกษา ระดับการศึกษาที่นกเรี ยนที่อายุระหว่าง 12-18 ปี เข้าทําการศึกษาหา
                                          ั
                                            ่
ความรู ้เพิ่มเติมจากองค์ความรู ้เดิมที่มีอยูมาจากระดับประถมศึกษาปี ที่ 6 โดยชั้นแรกที่
จะเข้าศึกษาในระดับมัธยมศึกษาคือระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ศึกษาไปจนถึงชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 3 และเมื่อศึกษาสําเร็ จจะทําการเข้าศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษาตอน
ปลายที่มีระดับชั้นระหว่างมัธยมศึกษาปี ที่ 4-6
ประโยชน์ ทคาดว่ าจะได้ รับ
                                ี่
1. ผูจดทําเว็บไซต์ข่าวออนไลน์สามารถนําผลการศึกษาไปพัฒนาเนื้อหา การ
     ้ั
                                                      ั
   ออกแบบและนําประโยชน์ของข่าวออนไลน์ไปปรับใช้กบเว็บไซต์ของตนให้
   เหมาะสมกับความต้องการได้
2. นักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี สามารถเลือกแนวทางในการรับรู ้
   ข่าวออนไลน์ได้
3. ใช้เป็ นแนวทางในการพัฒนาข่าวออนไลน์ เนื้อหา การออกแบบและนํา
   ประโยชน์ต่างๆ ไปใช้ต่อในวิชาชีพของตนได้
กรอบแนวคิดในการวิจัย
                 1. ลักษณะประชากรของนักเรี ยน



              2. พฤติกรรมในการรับรู้ข่าวออนไลน์ของ
                           นักเรี ยน
                                                       การรับรู ้ข่าวออนไลน์ของ
ตัวแปรอิสระ                                           นักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาใน   ตัวแปรตาม
                                                               จังหวัดลพบุรี
              3. ความต้องการในการรับรู ้ข่าวออนไลน์
                          ของนักเรี ยน



                                     ่
               4. ปั ญหาในการรับรู ้ขาวออนไลน์ของ
                            นักเรี ยน
แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
                                                ่
           การวิจยเรื่ อง การรับรู ้ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาในจังหวัด
                  ั
ลพบุรี เป็ นการศึกษาถึงแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจยที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็ นแนวทางในการวิจย
                                                    ั                                   ั
โดยมีสาระสําคัญเรี ยงตามลําดับดังนี้
           1. อินเทอร์เน็ต
           2. การสื่ อสาร
           3. ความหมายของข่าวออนไลน์
           4. แนวคิดพัฒนาการทางเทคโนโลยี
           5. ทฤษฎีการเปิ ดรับสื่ อ
                                  ั
           6. ทฤษฎีการเรี ยนรู ้กบการสื่ อสารเพื่อโน้มน้าวใจ
           7. งานวิจยที่เกี่ยวข้อง
                      ั
อินเทอร์ เน็ต
             ในปัจจุบนการสื่ อสารมีมากมายหลากหลายช่องทาง โดยช่องทางที่สะดวก
                     ั
ที่สุดสําหรับผูใช้คืออินเทอร์เน็ต โดยอินเทอร์เน็ตมีความสําคัญในการติดต่อสื่ อสาร
                ้
ระหว่างผูใช้
           ้
                                                                       ่
             จากความเป็ นมาของอินเทอร์เน็ตที่มาแต่เดิมนั้นโดยจะเห็นได้วาเป็ นระบบ
เครื อข่ายที่ทาให้ผใช้คอมพิวเตอร์ทวโลกสามารถเชื่อมต่อหากันได้โดยผ่านสายเคเบิล
               ํ ู้                 ั่
โดยผ่านผูให้บริ การอินเทอร์เน็ตหรื อ ISP ในรู ปแบบต่างๆ นันเอง
             ้                                              ่
การสื่ อสาร
                                                 ั ้
          การสื่ อสารเป็ นการส่ งข้อมูลต่างๆ ให้กบผูรับสารโดยผ่านช่องทางและ
วิธีการต่างๆ มากมายโดยมีผให้ความหมายของการสื่ อสารไว้มากมาย ผูวจยจึงได้สรุ ป
                             ู้                                         ้ิั
ไว้พอสังเขปดังนี้
          การสื่ อสาร คือ การสื่ อสารระหว่างผูส่งกับผูรับสาร โดยผ่านสื่ อและช่องทาง
                                               ้      ้
ในการส่ ง-รับสาร และสื่ อสารมวลชนเป็ นผูแสวงหาข่าวเพื่อให้ได้ข่าวที่สนใจและ
                                             ้
รายงานผ่านช่องทางต่างๆ เช่น หนังสื อพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ โดยในปัจจุบนมีการใช้
                                                                         ั
อินเทอร์เน็ตเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในการรายงานข่าวดังกล่าวเพื่อสนองให้ผรับสารู้
ได้รับข่าวสารนั้นอย่างรวดเร็ ว ถูกต้อง แม่นยํา และทันท่วงทีให้เหมาะยุคสมัยที่มีการ
สื่ อสารอย่างรวดเร็ ว
ความหมายของข่ าวออนไลน์
           ข่าวออนไลน์เป็ นการนําเสนอข่าวโดยใช้สื่ออินเทอร์เน็ตเป็ นเครื่ องมือในการ
รายงานข่าวนอกจากการนําเสนอข่าวแบบเดิม เช่น การนําเสนอข่าวผ่านหนังสื อพิมพ์
โทรทัศน์หรื อวิทยุ โดยในปั จจุบนหลายสํานักข่าวได้สร้างเว็บไซต์ของสํานักข่าวของตนโดย
                                ั
รายงานข่าวต่างๆ ควบคู่กนระหว่างหนังสื อพิมพ์ เช่น ไทยรัฐได้สร้างเว็บไซต์รายงานข่าว
                        ั
ควบคู่กนกับหนังสื อพิมพ์ที่ถูกตีพิมพ์ในกระดาษ ในบางสํานักข่าวไม่มีการรายงานข่าวโดย
         ั
ใช้กระดาษ แต่หนมารายงานข่าวโดยผ่านทางเว็บไซต์ช่องทางเดียวหรื อบางรายการโทรทัศน์
                 ั
ใช้สื่ออินเทอร์เน็ตในการออกอากาศควบคู่กบการออกอากาศทางโทรทัศน์ แต่ในบางแห่ง
                                          ั
ออกอากาศทางโทรทัศน์และนําข่าวที่ออกอากาศนั้นเผยแพร่ ทางเว็บไซต์และแทรกเป็ นคลิป
ข่าว ยกตัวอย่างเช่น รายการครอบครัวข่าว 3 เป็ นต้น
วิวฒนาการของอุปกรณ์ ปลายทางสํ าหรับการรับข่ าวออนไลน์
   ั
           1960s        1970s       1980s           1990s           2000s
         Mainframe         Mini        Personal         Desktop         Mobile
         computer      computer    Computer          internet         internet
                                                  computer         computer



                                                           Notebook, Smartphone,
                                                           e-Reader, Entertainment,
                                                           Nintendo

      ทีมา. จาก Gantz, John. (2004) และ Meeker, Mary. (2009) อ้ างใน ศูนย์ เทคโนโลยี
        ่
      อิเล็กทรอนิสก์ และคอมพิวเตอร์ แห่ งชาติ, 2552, หน้ า 11)
แนวคิดพัฒนาการทางเทคโนโลยี
          วิวฒนาการของเทคโนโลยีน้ นมีการเปลี่ยนแปลงจากการสื่ อสารผ่านจดหมาย โทร
             ั                        ั
เลข หนังสื อพิมพ์ โทรศัพท์ วิทยุ โทรทัศน์ อินเทอร์เน็ต เว็บเพจและดาวเทียม เป็ นต้น โดย
พัฒนาการตามลําดับนั้นเมื่อผูใช้เทคโนโลยีน้ นปรับเข้ากับการใช้งานก็จะได้รับการยอมรับ
                             ้                ั
ของเทคโนโลยีเข้ามาแทนที่ เช่น คนเก่าจะอ่านหนังสื อพิมพ์แต่คนสมัยใหม่จะอ่านข่าวผ่าน
คอมพิวเตอร์หรื อโทรศัพท์มือถือโดยเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแทนที่ โดยสามารถอ่านข่าวต่างๆ
ได้ทุกสถานที่ที่สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ อีกทั้งที่การอ่านข่าวออนไลน์ได้รับความ
นิยมในกลุ่มคนสมัยใหม่เนื่องด้วยประหยัดเวลา ค่าใช้จ่ายและยังสามารถสื บค้นข่าวที่ผานไป ่
หลายๆ วันได้ดวยเครื่ องมือของเว็บเพจที่ได้รับการพัฒนาลูกเล่นให้น่าสนใจ ไม่เพียงการ
               ้
นําเสนอข่าวผ่านเว็บไซต์เท่านั้นการโฆษณาก็ยงมีการโฆษณาผ่านสื่ ออินเทอร์เน็ต มีท้ ง
                                                ั                                  ั
                                          ่ ั
รู ปแบบอีเมล์โฆษณา หรื อโฆษณาแทรกอยูกบเนื้อข่าวที่เราอ่านผ่านอินเทอร์เน็ต
ทฤษฎีการเปิ ดรับสื่ อ
             การที่ประสาทสัมผัสของผูบริ โภคซึ่งถูกกระตุนโดยสิ่ งเร้า ซึ่งผูบริ โภคจะ
                                        ้                 ้                  ้
เป็ นผูเ้ ลือกเองว่าสิ่ งเร้าใดตรงกับความต้องการของผูบริ โภคและผูบริ โภคจะหลีกเลี่ยง
                                                     ้           ้
การเปิ ดรับสิ่ งที่เร้าตนไม่ตองการไม่สนใจและเห็นว่าไม่สาคัญและหากผูบริ โภคเลือกก็
                                ้                           ํ            ้
                                                                           ั
จะเกิดกระบวนการเปิ ดรับ ทั้งนี้กระบกวนการเปิ ดรับจะมีความสัมพันธ์กบความตั้งใจ
ในการรับสารด้วย โดยที่ความสนใจ (interest) และความเกี่ยวข้อง (involvement) ของ
ผูบริ โภคกับสิ่ งเร้านั้นจะสะท้อนออกมาในระดับความตั้งใจ (attention) ที่ผบริ โภค
  ้                                                                            ู้
      ั
ให้กบสิ่ งเร้านั้น (Asseal, 1985, pp.218-224)
ทฤษฎีการเปิ ดรับสื่ อ
         นอกจากนี้ยงมีปัจจัยที่สาคัญที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับกระบวนการเปิ ดรับสื่ อนั้นก็
                      ั                ํ
คือเกณฑ์ในการเปิ ดรับสื่ อของผูรับสาร (จรรยา ยามาลี, 2553, หน้า 31) ดังนี้
                                     ้
         1. เลือกรับสื่ อที่มีอยู่ (availability)
         2. เลือกรับสื่ อที่สะดวกและนิยม (convenience and preferences)
         3. เลือกรับตามความเคยชิน (accustomed)
         4. เลือกเปิ ดรับสื่ อตามลักษณะเฉพาะของสื่ อ (characteristic of media)
         5. เลือกเปิ ดรับสื่ อที่สอดคล้องกับตนเอง (consistency)
กระบวนการรับรู้ (perception process) 3 ขั้นตอน


        สิ่ งเร้าต่างๆ กระทบ   ประมวลความคิด           ตีความและ
         ประสาทการรับรู ้       เกี่ยวกับสิ่ งเร้า   ประเมินผลสิ่ งเร้า




  ทีมา. จาก การสื่อสารระหว่ างบุคคล (หน้ า 89) โดย ชิตาภา สุ ขพลํา, 2548,
    ่
  กรุงเทพฯ: สํ านักพิมพ์ โอเดียนสโตร์
ความสามารถในการรับรู้ (Cognitive Abilities)
            เป็ นความสามารถในด้านการวิเคราะห์เชื่อมโยงและตีความสิ่ งที่ได้รับรู ้อย่าง
มีความหมาย ซึ่งแต่ละคนมีความสามารถไม่เท่ากัน อาจจะเนื่องด้วยความฉลาดทาง
สติปัญญา อารมณ์และสังคมไม่เท่ากันหรื อแม้แต่การได้รับการฝึ กฝนพัฒนา ดังจะ
เห็นว่าบางคนคิดไม่ซบซ้อน แต่บางคนคิดหลายชั้นลุ่มลึก บางคนคิดสุ ดโต่งแน่น
                        ั
                                           ่
แฟ้ น ไม่ยอมเปลี่ยนแปลง บางคนยืดหยุนได้ตามสถานการณ์ บางคนคิดหรื อตีความ
เท่าที่เห็นหรื อที่ปรากฎ บางคนคิดเชื่อมโยงอดีต-ปัจจุบน-อนาคตมาร้อยเรี ยงจนเป็ น
                                                         ั
                                                                   ่
เรื่ องราวเดียวกันได้ เช่น บางคนที่มีอายุเท่ากัน คนหนึ่งถูกวิจารณ์วาคิดแบบเด็กๆ
ในขณะที่อีกคนได้รับคําชมว่าคิดเป็ นผูใหญ่ (ชิตาภา สุ ขพลํา, 2548, หน้า 93)
                                        ้
ทฤษฎีการเรียนรู้กบการสื่ อสารเพือโน้ มน้ าวใจ
                        ั              ่
        การสื่ อสารของมนุษย์ที่สร้างขึ้นมาเพื่อให้มีอิทธิพลเหนือผูอื่นโดยการ
                                                                  ้
เปลี่ยนคนเชื่อ ค่านิยมหรื อทัศนคติ (พลอยชนก แสนอาทิตย์, มปป, หน้า 3)
ทฤษฎีการเรียนรู้กบการสื่ อสารเพือโน้ มน้ าวใจ
                                ั              ่
               การเรี ยนรู ้ หมายถึง กระบวนการทําให้มนุษย์ได้ประสบการณ์เพิมเติมเปลี่ยนแปลง
                                                                               ่
                                                                          ั
ประสบการณ์หรื อพฤติกรรมไปหลังจากที่บุคคลนั้นได้มีปฏิสมพันธ์กนกับสิ่ งแวดล้อมคนๆ นั้นได้
                                                                  ั
“เรี ยนรู ้” มากขึ้นมีประสบการณ์มากขึ้น มีขอมูลมากขึ้น ทฤษฎีการเรี ยนรู ้มีขอสมมติวา มี
                                                 ้                               ้       ่
ความสัมพันธ์ที่สามารถอธิบายได้และพยากรณ์ได้ระหว่าง “สิ่ งเร้า” และ “การตอบสนอง” “สิ่ งเร้า”
หมายถึงเหตุการณ์หรื อสิ่ งใดก็ตามที่รับรู ้ได้โดยบุคคล ในสถานการณ์ที่มีการสื่ อสารเพื่อการโน้มน้าว
ใจ สารจัดเป็ นสิ่ งเร้า แหล่งสารจัดเป็ นสิ่ งเร้าอีกตัวหนึ่งเช่นเดียวกับสถานการณ์ที่มีการสื่ อสาร ก็
จัดเป็ นสิ่ งเร้าอีกตัวหนึ่ง “การตอบสนอง” หมายถึงปฏิกิริยาใดก็ตาที่เกิดขึ้นแก่ผรับสารหลังจากรับรู ้
                                                                                   ู้
สิ่ งเร้า โดยปกติคนที่ทาการสื่ อสารเพื่อนโน้มน้าวใจต้องการได้รับการตอบสนองจากผูรับสาร เขา
                             ํ                                                             ้
อาจจะคอยจนผูรับสารให้การตอบสนองอย่างที่เข้าต้องการ หรื อผูส่งสารอาจจะจัดสภาพการณ์ที่มี
                    ้                                                 ้
เงื่อนไขเพือว่าผูรับสารจะมีปฏิกิริยาตอบโต้อย่างที่ผส่งสารต้องการ สภาพการณ์เรี ยนรู ้ท้ ง 2 แบบ
              ่ ้                                       ู้                                   ั
เรี ยกว่า การเรี ยนรู ้แบบเน้นสิ่ งจูงใจ (Instrumental Learning หรื อ Operant Learning) และการเรี ยนรู ้
แบบมีเงื่อนไข (Conditioned Learning) (อรวรรณ ปิ ลันธน์โอวาท, 2549, หน้า 58)
ความแตกต่ างในการตอบสนองของบุคคลในกระบวนการ S-O-R
        ทฤษฎีการเรี ยนรู ้มุ่งที่จะพยากรณ์ปฏิกิริยาโต้ตอบต่อสิ่ งเร้า บางทฤษฎีก็
สนใจแต่สิ่งเร้าและการตอบสนอง (S-R Theory) โดยไม่สนใจต่อบุคคลที่ทาการ      ํ
ตอบสนองนั้น ในทฤษฎีท่ีสนใจบุคคลเรี ยกว่า ทฤษฎีสิ่งเร้า-บุคคล-การตอบสนอง (S-
O-R Theory) หรื อ Stimulus-Organism-Response) นักสื่ อสารที่ตองการได้ปฏิกิริยา
                                                                 ้
โต้ตอบจากผูฟังตามที่ตนประสงค์จะต้องคํานึงว่าผูรับสารนั้นจะมีความแตกต่างกันใน
             ้                                    ้
การตอบสนองดังต่อไปนี้
ความแตกต่ างในการตอบสนองของบุคคลในกระบวนการ S-O-R
1. แต่ละคนมีความสามารถในการตอบสนองไม่เหมือนกัน
2. แต่ละคนมีความแตกต่างกันในความพร้อมที่จะตอบสนอง
3. แต่ละคนมีความแตกต่างกันในด้านแรงจูงใจที่จะตอบสนอง
4. การให้รางวัล (Reinforcement)
5. ในการเรี ยนรู ้การมีส่วนร่ วมโดยตรง (Active Participation)
6. การตอบสนองที่มีความหมายนั้น (Meaningful Response)
7. ถ้าต้องการให้การตอบสนองไม่เลือนหายไปกับกาลเวลา
ความแตกต่ างในการตอบสนองของบุคคลในกระบวนการ S-O-R
8. ช่วงระหว่างการตอบสนองและรางวัลจะต้องเป็ นเวลาสั้นๆ
9. ยิงการตอบสนองมีความสลับซับซ้อนมากเท่าใด
     ่
10. คนแต่ละคนมักจะพยายามสรุ ปรวม (Generalize)
11. ถ้าเราให้ผรับสารทราบเกี่ยวกับผลของการตอบสนองของเขาบ้างจะช่วยให้เขา
              ู้
ตอบสนองได้ดีข้ ึน
งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
                                               ่
           สุ นนท์ ต่อสกุล (2552) ได้ศึกษาเรื่ อง ปั จจัยการเลือกอ่านหนังสื อพิมพ์ออนไลน์ของ
                ั
ประชาชนในเขตกรุ งเทพมหานคร พบว่า ประชาชนในเขตกรุ งเทพฯ เปิ ดรับหนังสื อพิมพ์ออนไลน์
โดยเฉลี่ยสัปดาห์ละ 2-3 ครั้ง ใช้เวลาในการอ่าน 30 นาที ถึง 1 ชัวโมง นิยมอ่านหนังสื อพิมพ์
                                                                 ่
ออนไลน์จากที่บานหรื อที่พก เว็บไซต์ที่นิยมอ่านมากศึกษา คือ เว็บไซต์หนังสื อพิมพ์ไทยรัฐ
                  ้        ั
ออนไลน์ โดยนิยมอ่านพาดหัวข่าวมากที่สุด โดยเฉพาะข่าวการเมือง ข่าวด่วน ข่าวบันเทิงและข่าว
ต่างประเทศ ปั จจัยสําคัญของการเลือกอ่านหนังสื อพิมพ์ออนไลน์ ได้แก่ ปั จจัยด้านค่าใช้จ่าย ความ
สะดวก ความเป็ นปัจจุบนของข่าวและการมีทศนคติที่ดีต่อเทคโนโลยี เช่น สามารถอ่านข่าวโดยไม่
                        ั                      ั
ต้องซื้อหนังสื อพิมพ์และอ่านได้ครั้งละหลายฉบับ รวมทั้งอ่านข่าวย้อนหลังได้ สามารถเปิ ดรับ
เฉพาะข่าวที่ตนสนใจ สามารถอ่านได้ทุกสถานที่ ทุกเวลา ข้อมูลมีความทันสมัย สดใหม่ รวดเร็ ว
                                                                                   ่
และน่าเชื่อถือของข้อมูล ความรู ้สึกเป็ นคนทันสมัย สามารถแสดงความคิดเห็นได้ผานโปรแกรม
แชท อีเมล์และเว็บบอร์ดต่างๆ การใช้ประโยชน์ในการทํางานและการดําเนินชีวตประจําวัน ิ
งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
                                       ่
       การศึกษาของสุ นนท์ ต่อสกุล ชี้ให้เห็นว่า การอ่านหนังสื อพิมพ์
                          ั
ออนไลน์ของประชาชนในกรุ งเทพมหานครมีปัจจัยและพฤติกรรมการอ่าน
ข่าวสอดคล้องกับสมมติฐานในเรื่ องความแตกต่างในการรับรู ้ข่าวออนไลน์
ในการวิจยครั้งนี้และเพื่อประโยชน์ต่อไปผูวจยจะได้นาไปเป็ นแนวทางใน
        ั                               ้ิั        ํ
การศึกษาต่อไป
งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
                                               ่
            มนัสชนก คารวะพิทยากุล (2552) ได้ศึกษาเรื่ อง การเปิ ดรับอินเทอร์เน็ตของนักเรี ยน
มัธยมศึกษาตอนปลาย พบว่า พฤติกรรมการเปิ ดรับอินเทอร์เน็ตส่ วนใหญ่จะมีอายุ 16 ปี มีผลการเรี ยน
3.00-3.49 และระดับผลการเรี ยน 3.50 ขึ้นไป โดยจะมีกิจกรรมที่สนใจอินเทอร์เน็ตเพื่อหาข้อมูล
ประกอบการเรี ยนมากกว่า เพื่อความบันเทิงและเพื่อกิจกรรมอื่นๆ เช่น การหาเพื่อน นักเรี ยน
มัธยมศึกษาตอนปลายามข้อมูลเกี่ยวกับสุ ขภาพ-ความงามมากกว่าการสนใจข้อมูลในอินเทอร์เน็ตเพื่อ
การท่องเที่ยว เพื่อความบันเทิงและเพื่อติดตามข้อมูลข่าวสาร นักเรี ยนมัธยมศึกษาตอนปลายที่มี
พฤติกรรมการเปิ ดรับอินเทอร์เน็ต ส่ วนใหญ่จะได้รับประโยชน์จากสิ่ งที่ได้จากการอ่านข่าวและ
บทความทางอินเทอร์เน็ต เพื่อรับความรู ้เพิ่มเติมมากกว่าการได้รับข้อมูล การนําข้อมูลข่าวสารที่
ได้รับมาปรับใช้ในชีวตประจําวัน เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และได้รับประโยชน์จากด้านอื่นๆ
                      ิ
เช่น ได้ประโยชน์ดานภาษาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อนชาวต่างประเทศ
                    ้
งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
                                       ่
        การศึกษาของมนัสชนก คารวะพิทยากุล ชี้ให้เห็นเห็นว่า มีกลุ่ม
ประชากร ตัวแปร พฤติกรรมคล้ายกับตัวแปร สมมติฐาน พฤติกรรมที่ผวจย ู้ ิ ั
เห็นว่าสอดคล้องกับสมมติฐานความต้องการรับรู ้ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยน
ระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
                                              ่
            ราตรี เงางาม (2553) ได้ศึกษาเรื่ อง แนวโน้มหนังสื อพิมพ์ออนไลน์ไทยปี พ.ศ. 2560
พบว่า กลุ่มเป้ าหมายเป็ นกลุ่มคนรุ่ นใหม่ ผูสื่อข่าวสารนําเสนอข่าวโดยไม่ผานโต๊ะข่าว สามารถ
                                            ้                            ่
ปรับปรุ งข่าวตลอดเวลามีการจัดหมวดหมู่ของข่าว การเขียนข่าวยังเป็ นแบบพีระมิหวกลับ รู ปแบบ
                                                                                  ั
การนําเสนอข่าวมีแนวโน้มของการใช้สื่อมัลติมีเดียมากขึ้น นําเสนอเนื้อหาแบบสรุ ปย่อและมีการ
เชื่อมโยงข่าว ด้านการตลาดมีแนวโน้มเป็ นการขยายช่องทางการตลาดควบคู่กบการเพิมช่องทางให้
                                                                            ั       ่
ผูอ่านเข้าได้อย่างทัวถึงและเป็ นช่องทางการขยายธุรกิจโฆษณามากขึ้น หนังสื อพิมพ์ออนไลน์ไทยมี
  ้                 ่
แนวโน้มด้านผลกระทบต่อผูจดทําคือความผิดพลาดที่เกิดขึ้นง่าย การละเมิดลิขสิ ทธิ์มีผลให้ลดความ
                              ้ั
น่าเชื่อถือลง ส่ วนผลกระทบต่อผูอ่านคือ การขาดการกรองข่าวสารทําให้เกิดการตื่นตระหนก เกิด
                                    ้
การโน้มน้าวใจตลอดจนเกิดประโยชน์ทางธุรกิจ
งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
                                      ่
        การศึกษาของ ราตรี เงางาม ชี้ให้เห็นว่า แนวโน้มหนังสื อพิมพ์
ออนไลน์ไทยในปี พ.ศ.2560 หนังสื อพิมพ์ออนไลน์จะขยายตัวเพิ่มมากขึ้น
แต่จะก่อให้เกิดผลกระทบเพิมมากขึ้น ซึ่ งสอดคล้องกับสมมติฐานในเรื่ อง
                          ่
ความต้องการการรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาใน
จังหวัดลพบุรี
งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
                                                    ่
             วงศ์วรรธน์ ทองรัตน์ (2554) ได้ศึกษาเรื่ อง ปั จจัยที่มีผลต่อการเปิ ดรับข่าวสารจากหนังสื อพิมพ์
ออนไลน์ของประชาชนในกรุ งเทพมหานคร พบว่า ลักษณะประชากรที่เปิ ดรับข่าวสารจากหนังสื อพิมพ์
ออนไลน์ส่วนใหญ่เป็ นเพศหญิง อายุระหว่าง 26-33 ปี มีพฤติกรรมเปิ ดรับข่าวสารจากหนังสื อพิมพ์ออนไลน์
1-2 วันต่อสัปดาห์ ใช้เวลาอ่าน 10-20 นาทีต่อครั้ง โดยอ่านจากที่ทางานในช่วงเวลาครึ่ งวันเช้าและชอบอ่าน
                                                                     ํ
ข่าวบันเทิงมากที่สุด เนื้อหาคอลัมน์ที่อ่านบ่อยครั้ง เนื้อหาข่าวที่ดึงดูดความสนใจทําให้น่าอ่านและประโยชน์
ที่ได้จากการอ่าน มีผลต่อการเปิ ดรับข่าวสารจากหนังสื อพิมพ์ออนไลน์ ประชาชนส่ วนใหญ่อ่านคอลัมน์ข่าว
เนื้อหาแบบเจาะลึก ตรงประเด็น ดึงดูดความสนใจผูอ่านมากที่สุดและอ่านหนังสื อพิมพ์ออนไลน์เพื่อน
                                                      ้
Update ข้อมูลข่าวสารที่ละเอียดและรวดเร็ วกว่าหนังสื อพิมพ์ปกติ รู ปแบบการนําเสนอที่ผอ่านให้ความสนใจ
                                                                                           ู้
คือพาดหัวข่าวที่มีผลต่อการติดตามข่าว การนําเสนอเนื้อหาข่าวประเภทที่พึงพอใจและวิธีการนําเสนอที่
แตกต่างจากหนังสื อพิมพ์ธรรมดา มีผลต่อการเปิ ดรับข่าวสารจากหนังสื อพิมพ์ออนไลน์ ประชาชนส่วนใหญ่
เปิ ดรับข่าวสารเพราะสะดวกต่อการเข้าถึงข้อมูล โดยให้ความสนใจกับการแบ่งหมวดหมู่ข่าวด้วยไอคอนต่างๆ
บนหน้าจอ ทําให้หนังสื อพิมพ์ออนไลน์แตกต่างจากหนังสื อพิมพ์ธรรมดา
งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
                                        ่
         การศึกษาของ วงศ์วรรธน์ ทองรัตน์ ชี้ให้เห็นว่า ปั จจัยที่มีผลต่อ
การเปิ ดรับข่าวสารจากหนังสื อพิมพ์ออนไลน์ของประชาชนในกรุ งเทพการ
อ่านหนังสื อพิมพ์ออนไลน์มีประโยชน์ ได้รับความสะดวก รวดเร็ ว เจาะลึก
ตรงประเด็น แบ่งคอลัมน์ข่าวด้วยไอคอนต่างๆ จึงได้รับความนิยมมากกว่า
หนังสื อพิมพ์ธรรมดา ผูวจยเห็นว่าสอดคล้องกับความต้องการการรับรู้ข่าว
                      ้ิั
ออนไลน์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
                                                          ่
               ธัญพร เมฆพัฒน์ (2555) ได้ศึกษาเรื่ อง ปั จจัยที่มีอิทธิ พลต่อการใช้บริ การหนังสื อพิมพ์ออนไลน์ของ
นักศึกษาคณะนิเทศศาสาตร์ มหาวิทยาลัยพายัพและมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ พบว่า พฤติกรรมการใช้บริ การ
หนังสื อพิมพ์ออนไลน์ที่เลือกอ่านคือ ประเภทประชานิยม ร้อยละ 51.7 รองลงมาคือ ประเภทผสมผสาน ร้อยละ 38.6 ส่ วน
เนื้อหาที่เลือกอ่าน คือ ข่าวต่างๆ ร้อยละ 75.6 รองลงมาคือ สกู๊ปพิเศษร้อยละ 52.3 และอ่านน้อยที่สุด คือ บทบรรณาธิ การ
ร้อยละ 6.3 ในหนึ่งเดือนมีการใช้บริ การหนังสื อพิมพ์ออนไลน์ค่อนข้างน้อย (15-19 ครั้ง) ร้อยละ 63.1 รองลงมาคือ ใช้
บริ การบ่อยๆ ครั้ง (20-24 ครั้ง) ร้อยละ 25.6 ส่ วนระยะเวลาที่ใช้บริ การหนังสื อพิมพ์ โดยเฉลี่ยต่อครั้ง คือ โดยเฉลี่ยต่อครั้ง
ตํ่ากว่า 30 นาที ร้อยละ 42.6 รองลงมาคือ ตั้งแต่ 30-60 นาที ร้อยละ 22.2 นอกจากนี้สถานที่ใช้บริ การหนังสื อพิมพ์
ออนไลน์ คือ บ้าน/ที่พก ร้อยละ 60.2 รองลงมาคือ ใช้บริ การที่สถานศึกษา ร้อยละ 18.8 หนังสื อพิมพ์ออนไลน์ตองมีความ
                        ั                                                                                       ้
สดทันสมัย ข่าวที่นาเนอต้องทันต่อเหตุการณ์ ประเภทข่าวที่เลือกอ่านเป็ นข่าวเบา ชนิดข่าวที่เลือกอ่านเป็ นข่าวบันเทิง
                     ํ
และต้องมีการพาดหัวข่าวที่โดดเด่น ผูรับสารมีความต้องการรู ้ทนเหตุการณ์ มีทางเลือกในการอ่านข่าวมากขึ้น ความ
                                       ้                           ั
บันเทิง ได้รับความรู้จากการอ่านหนังสื อพิมพ์ออนไลน์และผูรับสารเลือกอ่านหนังสื อพิมพ์ออนไลน์เพราะต้องการ
                                                               ้
ข่าวสารช่วยตัดสิ นใจ ด้านเทคโนโลยี ปั จจัยที่มีอิทธิ พลสําคัญ ได้แก่ ต้องมีความง่ายในการค้นหาข้อมูลใช้บริ การ
                                                                                                        ่
หนังสื อพิมพ์ออนไลน์โดยใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บานของตนเอง ใช้บริ การหนังสื อพิมพ์ออนไลน์ผานอินเตอร์เน็ตที่
                                                      ้
                                                                                 ่
บ้านตนเอง ความช้า/เร็ วของอินเทอร์เน็ตและใช้บริ การหนังสื อพิมพ์ออนไลน์ผานอินเทอร์เน็ตของสถานศึกษา
งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
                                        ่
        การศึกษาของ ธัญพร เมฆพัฒน์ ชี้ให้เห็นว่า ปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อ
การใช้บริ การหนังสื อพิมพ์ออนไลน์ของนักศึกษาคณะนิเทศศาสตร์
มหาวิทยาลัยพายัพและมหาวิทยาราชภัฏเชียงใหม่ ต้องมีความสดทันสมัย
ทันต่อเหตุการณ์ การใช้งานและหาข้อมูลง่าย ส่ วนใหญ่กลุ่มประชากรอ่าน
หนังสื อพิมพ์ออนไลน์ที่บานมากกว่าสถานศึกษา ผูวจยเห็นว่าพฤติกรรม
                         ้                     ้ิั
ของกลุ่มประชากรและตัวแปรของงานวิจยนี้สอดคล้องกับตัวแปรในกลุ่ม
                                     ั
ประชากร ความแตกต่างในการรับรู ้ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยนระดับ
มัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
                                                       ่
               Ahn, Hyonjing (2011) ได้ศึกษาเรื่ อง ผลกระทบเกี่ยวกับทัศนคติของผูอ่ืนคนอื่นๆ เกี่ยวกับข่าวออนไลน์:
                                                                                ้
มุ่งเน้นในกรณี ความเห็นไม่ตรงกับเนื้อหาของข่าว พบว่า คนอ่านข่าวบนอินเทอร์เน็ตที่พวกเขากําลังเผชิญยังเห็นผูอ่าน ้
อื่น ๆ ในการตอบสนองต่อการแสดงความคิดเห็นบนกระดานในเว็บไซต์ข่าวมีโครงสร้างที่ผอ่านสามารถสื่ อสารสองทาง
                                                                                          ู้
คือการเป็ นผูให้และการเป็ นผูรับสารและการแสดงความคิดเห็นอาจมีผลต่อข่าวเปลี่ยนแปลงไป วัตถุประสงค์ของ
             ้               ้
การศึกษาครั้งนี้คือการตรวจสอบความเห็นในการตอบสนองต่อเรื่ องข่าวอินเทอร์เน็ตมีอิทธิพลต่อผูอ่านอื่น ๆ ความ
                                                                                                  ้
คิดเห็นและเพื่อกําหนดขอบเขตที่ผอ่านประเมินเรื่ องข่าวและการรับรู ้ของความคิดเห็นของประชาชนแตกต่างกัน เมื่อ
                                  ู้
                                              ่
ความคิดเห็นเหล่าเป็ นอย่างใดอย่างหนึ่งหรื ออยูในความขัดแย้งของเรื่ อง การทดลองสําหรับการวิจยครั้งนี้มี 120 คนอ่าน
                                                                                                ั
ข่าวแล้วเห็นด้วยกับเนื้อหาข่าวและอีกพวกเมื่ออ่านข่าวจะมีความขัดแย้งกับเนื้อข่าวน้อยกว่าผูที่อ่านข่าวแล้วเห็นด้วยกับ
                                                                                             ้
                                                                       ่
เนื้อหาของข่าว อย่างไรก็ตามการรับรู ้ของประชาชนจากความคิดเห็นอยูบนพื้นฐานของการแสดงความเห็น ไม่มีการ
เปลี่ยนแปลงหรื อตอบสนองต่อความเห็นที่ขดแย้งกับเนื้อข่าว นอกจากนี้ผลกระทบที่เกิดขึ้นไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง
                                           ั
ระหว่างกลุ่มคนที่เห็นด้วยกับไม่เห็นด้วย
งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
                                        ่
         การศึกษาของ Ahn, Hyonjing แสดงให้เห็นว่าพฤติกรรมของผูอ่าน  ้
ข่าวออนไลน์มีความคิดเห็นแตกต่างกันโดยสอดคล้องกับสมมติฐานของ
การวิจยเรื่ องการรับรู ้ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัด
       ั
ลพบุรี
งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
                                                            ่
                                                                    ่
               Braun, Joshua Albert (2011) ได้ศึกษาเรื่ อง มนุษย์อยูระหว่างองค์ประกอบอิเล็กทรอนิกส์ของรายการโทรทัศน์ออนไลน์
พบว่า กาวิจยการกระจายตัวของผลิตภัณฑ์ข่าวโทรทัศน์ออนไลน์และรวมถึงกรณี ศึกษาจากการสังเกตและการสัมภาษณ์ที่ บริ ษทใน
            ั                                                                                                               ั
เครื อของ MSNBC.com และ MSNBC ทีวี โดยเฉพาะที่เน้นหนักในการกรณี รายการ The Rachel Maddow ที่เผยแพร่ ทางเว็บไซต์และ
ได้ความนิยม ทีมของผูผลิตเว็บที่ MSNBC.com รับผิดชอบในการจัดการเนื้อหาของรายการโทรทัศน์และ รายการ Newsvine บริ ษทใน
                      ้                                                                                                       ั
เครื อของ MSNBC.com ที่ได้สร้างเว็บไซต์โทรทัศน์ MSNBC ขึ้น การวิจยนี้ทดลองตามหลักสังคมวิทยาของระบบสังคม ทางด้าน
                                                                           ั
                                                                                              ั ่
เทคนิคและการใช้เครื่ องมือให้เห็นถึงผลกระทบของมุมมองนี้สาหรับมุมมองทางสังคมวิทยาใช้กนทัวไปเพื่อศึกษาองค์กรสื่ อ Braun
                                                                ํ
ใช้ทฤษฎีของ John Law ในเรื่ องของความแตกต่างกันควบคู่กบข้อมูลเชิงลึกจากนักสังคมวิทยาอื่น ๆ ของระบบเช่น การก้าวกระโดด
                                                              ั
ของการทํางาน MSNBC.com ได้รวบรวมทรัพยากรที่มีความหลากหลายในการทํางาน แต่กลไกที่รวดเร็ วของระบบออนไลน์สาหรับ               ํ
โทรทัศน์ที่เกิดขึ้นในขณะเดียวกัน ข้อถกเถียงสําคัญเป็ นที่เข้าใจว่าบริ ษทผลิตรายการไม่ได้เป็ นหนึ่งเดียวในการสร้างระบบที่แข็งแกร่ ง
                                                                       ั
สําหรับรายการโทรทัศน์ที่มีหลากหลายโครงสร้างและหลากหลายรายการ โดยเฉพาะการสํารวจของ MSNBC ถ้าเราดูวาลักษณะ           ่
โครงสร้างตั้งแต่บนถึงล่างแตกต่างกันระหว่าง Newsvine และ The Rachel Maddow Braun ได้แสดงความเห็นว่าอะไรและให้เหตุผล
ที่ได้รับความนิยมและได้เปรี ยบ ผลของการแบ่งเว็บข่าวเป็ นหมวดหมู่กบการแบ่งเป็ นผูรายงานข่าวแทนในแต่ละหมวดหมู่ของข่าว จะ
                                                                         ั           ้
ได้รับการตอบรับที่ดี และBraun พิจารณาว่าอะไรคือทางออกที่ดีและเป็ นจุดแข็งและได้รับความนิยมในปัจจุบน ผลสํารวจปรากฏว่านี่
                                                                                                           ั
เป็ นรู ปแบบการสร้างเว็บไซต์รายงานข่าวเป็ นที่น่าจะได้รับความนิยมและแพร่ กระจายของการรายงานข่าวต่อไป
งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
                                       ่
         จากการศึกษาของ Braun, Joshua Albert แสดงให้เห็นว่าการสร้าง
เว็บไซต์ของสถานีโทรทัศน์เพื่อรายงานข่าวของตน รู ปแบบการจัดหน้า
เว็บไซต์เปรี ยบเทียบให้เห็นว่าการจัดรู ปแบบเว็บไซต์สามารถโน้มน้าวให้
ผูรับข่าวออนไลน์เข้าชมเว็บมากกว่าการจัดเว็บข่าวโดยการแบ่งคอลัมน์ ซึ่ ง
  ้
เนื้อหาของงานวิจยนี้สอดคล้องกับสมมติฐานการวิจยในเรื่ องของความ
                   ั                             ั
ต้องการรับรู ้ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
                                           ่
           Payne, Kevin Michael (2011) ได้ศึกษาเรื่ อง ผลกระทบของอินเทอร์เน็ตจาก
การบอกเลิกหนังสื อพิมพ์แบบบอกรับสมาชิก พบว่า ผลกระทบการบอกเลิก
หนังสื อพิมพ์แบบตอบรับสมาชิกของหนังสื อพิมพ์ฉบับหนึ่งระหว่างปี 1998-2003 ราย
สัปดาห์ ข้อมูลผูใช้บริ การอินเทอร์เน็ตและคอมพิวเตอร์น่าจะเพิมขึ้นเป็ นระยะเวลา
                ้                                            ่
ต่อเนื่อง การประมาณการว่าการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตที่บานมีความน่าจะเป็ นการเพิ่มของ
                                                      ้
สมาชิกปัจจุบนเป็ น 10-90% และการยกเลิกสมาชิกพบว่าน่าจะเฉลี่ยเพิมขึ้นเป็ น
              ั                                                      ่
50.5% ในความน่าจะเป็ นที่จะต่อสมาชิกในระยะเวลา 167 เดือน จากค่าเฉลี่ย 0.736-
0.597
งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
                                        ่
         จากการศึกษาของ Payne, Kevin Michael แสดงให้เห็นพฤติกรรม
ของประชากรที่บอกรับสมาชิกหนังสื อพิมพ์และยกเลิกหลังจากเข้าใช้
บริ การอินเทอร์เน็ตได้บอกเลิกการเป็ นสมาชิกและหันมาใช้บริ การทาง
อินเทอร์เน็ตแทน ซึ่ งพฤติกรรมนี้สอดคล้องสมมติฐานเรื่ องปั ญหาการรับรู้
ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
                                                          ่
                   Dunlop, Sally M และคนอื่นๆ (2011) ได้ศึกษาเรื่ อง วัยรุ่ นที่สนใจเรี ยนรู้การฆ่าตัวตายบนอินเทอร์ เน็ตและ
สิ่ งที่มีอิทธิ พลในกระบวนการคิดการฆ่าตัวตาย พบกว่า คนวัยรุ่ นหวันไหวต่อพฤติกรรมการฆ่าตัวตายเป็ นผลมาจากการ
                                                                        ่
เรี ยนรู ้เกี่ยวกับพฤติกรรมการฆ่าตัวตายของคนอื่นๆ การศึกษานี้ออกแบบเพื่อตรวจสอบว่าเว็บไซต์ อินเทอร์เน็ต ข่าว
ออนไลน์หรื อเว็บไซต์เครื อข่ายสังคมเปิ ดเผยเรื่ องราวการฆ่าตัวตายที่อาจจะเพิ่มแนวคิดการฆ่าตัวตาย Dunlop ได้ใช้
วิธีการสัมภาษณ์กลุ่มประชากรตัวอย่าง 719 คน อายุระหว่าง 14-24 ปี โดยผูตอบแบบสอบถามบอกว่าคนที่เค้ารู ้จกที่มี
                                                                                 ้                                   ั
ความมุ่งมันหรื อพยายามฆ่าตัวตายหรื อสิ้ นหวังและคิดฆ่าตัวตายในครั้งที่ 2 หนึ่งปี ต่อมาพวกเขายังมายังมีรายการใช้
               ่
ระบบปฏิบติการทางอินเทอร์เน็ตที่หลากหลายและวิธีการที่พวกเขาเปิ ดเผยเรื่ องราวการฆ่าตัวตายบนเว็บไซต์ แนวคิดใน
                 ั
การฆ่าตัวตายก็เปลี่ยนแตกต่างกันไปตามเรื่ องราวของความสิ้ นหวัง ในขณะที่วฒนธรรมการฆ่าตัวตายถูกอ้างบ่อยที่สุด
                                                                                    ั
(79% มาจากเพื่อนและครอบครัวหรื อหนังสื อพิมพ์) สื่ อออนไลน์มีส่วนถึง 59% เว็บไซต์เครื อข่ายสังคมที่ถูกอ้างถึงบ่อย
เป็ นแหล่งที่มา แต่รายงานเหล่านี้ไม่ได้เชื่อมโยงกับการเพิ่มของแนวคิดที่จะฆ่าตัวตาย อย่างไรก็ตามการสนทนา
ออนไลน์กเ็ ป็ นแหล่งที่มาและเกี่ยวข้องกับการเพิ่มขึ้นแนวคิดที่จะฆ่าตัวตาย อย่างไรก็ตามการสนทนาก็จะเชื่อมโยงกับ
การเพิ่มขึ้นโดยตรงของแนวคิดที่จะฆ่าตัวตาย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรจะรับผิดชอบต่อการโปรโมทเว็บไซต์ต่อกลุ่ม
วัยรุ่ น เพราะมีผลกระทบกับการเลียนแบบพฤติกรรมการฆ่าตัวตาย
งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
                                      ่
       จากการศึกษาของ Dunlop, Sally M แสดงให้เห็นว่า พฤติกรรมของ
ประชากรที่รับข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตในเรื่ องแนวคิดการฆ่าตัวตาย ซึ่ ง
พฤติกรรมของประชากรสอดคล้องกับสมมติฐานเรื่ องปั ญหาการรับรู ้ข่าว
ออนไลน์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
                                                  ่
             Qayyum, M.Asim และคนอื่นๆ (2010) ได้ศึกษาเรื่ อง พฤติกรรมการอ่านข่าวของวัยรุ่ น
ผูใหญ่ พบว่า พฤติกรรมของประชากรวัยรุ่ นผูใหญ่ในการค้นหาข้อมูลในชีวตประจําวัน การสํารวจ
  ้                                            ้                         ิ
ความรู ้สึกของพวกเขาและทัศนคติต่อการพิมพ์และสื่ อข่าวออนไลน์ การศึกษานี้มีนยสําคัญต่อ
                                                                                 ั
วัฒนธรรมสิ่ งพิมพ์ หน้าหนังสื อพิมพ์ท่ีลดลงกับการเติบโตของสื่ อออนไลน์ ดังนั้นจึงเป็ นสิ่ งสําคัญที่
จะเข้าใจ เพราะฉะนั้นถือเป็ นเรื่ องสําคัญที่ตองศึกษาพฤติกรรมการหาข้อมูลที่เปลี่ยนไปตามยุคสมัย
                                             ้
หลักการแปลตามแนวทางตีความถูกนํามาใช้และการสัมภาษณ์นกเรี ยนจาก 20 มหาวิทยาลัย
                                                                ั
ผลการวิจยแสดงให้เห็นว่าตรงกับการคาดการณ์ หนังสื อพิมพ์ยงเป็ นที่ชื่นชอบของวัยรุ่ นและสื่ อ
           ั                                                  ั
ออนไลน์ท่ียอดนิยมก็เป็ นส่ วนหนึ่งของผูที่ยดติดกับเว็บไซต์ ท้ายที่สุดการอ่านหนังสื อพิมพ์และ
                                          ้ ึ
ค่านิยมการใช้หองสมุดก็ตกเป็ นข้อถกเถียงต่อไป
                ้
งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
                                      ่
         จากการศึกษาของ Qayyum, M.Asim แสดงให้เห็นว่า พฤติกรรม
การอ่านของวัยรุ่ นและทัศนคติสอดคล้องกับสมมติฐานของการวิจยเรื่ อง
                                                          ั
การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
วิธีการดําเนินงานวิจัย
             การวิจยครั้งนี้เป็ นการวิจยเชิงสํารวจ (Survey Research) โดยใช้แบบสอบถาม
                      ั                ั
(Questionnaire) เพื่อศึกษาปัจจัยด้านลักษณะประชากร ปั จจัยด้านเนื้อหา ปั จจัยด้านการออกแบบเว็บ
และปัจจัยด้านประโยชน์ที่ผอ่านได้รับ ที่มีผลการรับรู ้ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาใน
                                 ู้
จังหวัดลพบุรี ซึ่งผูวจยได้กาหนดวิธีการวิจย ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่จะใช้ในการวิจย
                          ้ิั ํ                ั                                          ั
เครื่ องมือในการวิจย การเก็บรวบรวมข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอมูล ดังนี้
                        ั                                                    ้
             1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง                    4. การทดสอบเครื่ องมือที่ใช้ในการวิจย
                                                                                               ั
             2. ตัวแปรในการวิจย     ั                      5. การรวบรวมข้อมูล
             3. เครื่ องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล         6. วิธีการวิเคราะห์ขอมูล
                                                                               ้
ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง
           ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี มี
จํานวนประชากร 23,996 คน (กลุ่มสารสนเทศ สํานักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2555)
           การกําหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางสําเร็ จรู ปของ Taro Yamane ที่ระดับความเชื่อมันใน
                                                                                             ่
การเลือกตัวอย่างเท่ากับร้อยละ 95 ที่ระดับความคลาดเคลื่อน +/- 5% ซึ่งทําให้การวิจยครั้งนี้ได้
                                                                                 ั
           สูตร                 n           =           N
                                                       1+Ne2
                       n        หมายถึง กลุ่มตัวอย่างที่ตองการ
                                                             ้
                       N        หมายถึง จํานวนประชากรทั้งหมด
                       e                                             ํ
                                หมายถึง ค่าความคลาดเคลื่อนที่กาหนดไว้ที่ 0.05
ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง
แทนค่าดังสูตรได้ผลดังนี้
               n         =         23,996
                             1 + 23,996 (0.05)2
                n     =        399.98
        ผูวจยจะใช้ขนาดตัวอย่างเท่ากับ 400 คน ในการวิจย
          ้ิั                                        ั
ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง
         กําหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วธีการสุ่ มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน
                                     ิ
(Multistage-sampling) โดยเรี ยงลําดับดังนี้
           ขั้นตอนที่ 1 ผูวจยสุ่ มเลือกเขตพื้นที่ในจังหวัดลพบุรี ที่จะใช้ในการศึกษาจากหลาย
                          ้ิั
โรงเรี ยน โดยวิธีการสุ่ มตัวอย่างแบบง่าย (Simple random sampling) ให้เหลือเพียง 3 โรงเรี ยน
ได้แก่ โรงเรี ยนพระนารายณ์ โรงเรี ยนพิบูลวิทยาลัยและโรงเรี ยนวินิตศึกษาฯ
           ขั้นตอนที่ 2 จากจํานวนกลุ่มตัวอย่างที่กาหนดไว้ 400 คน ผูวจยได้ทาการสุ่ มตัวอย่างจาก
                                                     ํ                    ้ิั  ํ
ประชากรใน 3 โรงเรี ยน (โรงเรี ยนละประมาณ 133 คน)
           ขั้นตอนที่ 3 การสุ่ มตัวอย่างประชากรตามสถานที่ต่างๆ ในข้อ 2 นั้น ผูวจยใช้วธีการสุ่ ม
                                                                                 ้ิั ิ
แบบเป็ นระบบ (Systematic random sampling) โดยเลือกบุคคลที่ผวจยพบทุก ๆ 5 คน
                                                                   ู้ ิ ั
ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง
         กําหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วธีการสุ่ มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน
                                     ิ
(Multistage-sampling) โดยเรี ยงลําดับดังนี้
          ขั้นตอนที่ 4 ผูวจยเก็บแบบสอบถามจํานวน 400 ฉบับ กลับคืนทําการตรวจสอบความ
                         ้ิั
ถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลแล้วนําไปดําเนินการวิเคราะห์ดวยโปรแกรมสําเร็ จรู ป
                                                       ้
ตัวแปรในการวิจัย
          จากการทบทวนแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการวิจยครั้งนี้ พบว่ามี
                                                                 ั
ปัจจัยหลายประการที่น่าจะมีความเกี่ยวข้องกับการรับรู ้ข่าวออนไลน์ ปั จจัยที่ผวจยจะ
                                                                            ู้ ิ ั
ศึกษาครั้งนี้ได้แก่
          1. ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) ได้แก่ ลักษณะของประชากร
พฤติกรรม ความต้องการในการเลือกรับรู ้ข่าวออนไลน์และปัญหาในการเลือกรับรู ้ข่าว
ออนไลน์ของนักเรี ยน
          2. ตัวแปรตาม (Dependent Variables) ได้แก่ การรับรู ้ข่าวออนไลน์ของ
นักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
เครื่องมือทีใช้ ในการวิจัย
                                    ่
          เครื่ องมือที่ใช้ในการงานวิจย คือ แบบสอบถาม (Questionnaires) ที่ใช้
                                      ั
สําหรับการเก็บรวบรวมข้อมูลการรับรู ้ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาใน
จังหวัดลพบุรี ซึ่งประกอบไปด้วย คําถามแบบปลายเปิ ด (Open-ended questions) และ
คําถามแบบปลายปิ ด (Close-ended questions) โดยแบ่งออกเป็ นส่ วนๆ ดังนี้
          ตอนที่ 1 เป็ นแบบสอบถามเกี่ยวกับลักษณะประชากรของผูตอบ  ้
แบบสอบถามได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพของนักเรี ยนและประเภทของ
สถานศึกษา ลักษณะคําถามเป็ นแบบเลือกตอบ (check list) จํานวน 4 ข้อ
          ตอนที่ 2 เป็ นแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการรับรู ้ข่าวออนไลน์ ลักษณะ
คําถามเป็ นแบบเลือกตอบ (check list) จํานวน 6 ข้อ
เครื่องมือทีใช้ ในการวิจัย
                                    ่
          เครื่ องมือที่ใช้ในการงานวิจย คือ แบบสอบถาม (Questionnaires) ที่ใช้
                                      ั
สําหรับการเก็บรวบรวมข้อมูลการรับรู ้ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาใน
จังหวัดลพบุรี ซึ่งประกอบไปด้วย คําถามแบบปลายเปิ ด (Open-ended questions) และ
คําถามแบบปลายปิ ด (Close-ended questions) โดยแบ่งออกเป็ นส่ วนๆ ดังนี้
          ตอนที่ 3 เป็ นแบบสอบถามเกี่ยวกับความต้องการการรับรู ้ข่าวออนไลน์
ลักษณะคําถามเป็ นแบบเลือกตอบ (check list) จํานวน 10 ข้อ
          ตอนที่ 4 เป็ นแบบสอบถามเกี่ยวกับปัญหาในการรับรู ้ข่าวออนไลน์ของ
นักเรี ยนในระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี ลักษณะคําถามเป็ นแบบเลือกตอบ
(check list) จํานวน 3 ข้อ
เครื่องมือทีใช้ ในการวิจัย
                                     ่
         เครื่ องมือที่ใช้ในการงานวิจย คือ แบบสอบถาม (Questionnaires) ที่ใช้
                                     ั
สําหรับการเก็บรวบรวมข้อมูลการรับรู ้ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาใน
จังหวัดลพบุรี ซึ่งประกอบไปด้วย คําถามแบบปลายเปิ ด (Open-ended questions) และ
คําถามแบบปลายปิ ด (Close-ended questions) โดยแบ่งออกเป็ นส่ วนๆ ดังนี้
         ตอนที่ 5 เป็ นแบบสอบถามเกี่ยวกับการรับรู ้ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยนระดับ
มัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี ใช้การวัดมาตราส่ วนประเมินค่า (rating scale) จํานวน 15
ข้อ
         ตอนที่ 6 เป็ นการแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการรับรู ้ข่าว
ออนไลน์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
การทดสอบความเทียงตรงของเครื่องมือวิจัย
                           ่
         การทดสอบความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม ผูวจยได้สร้างแบบสอบถาม
                                                         ้ิั
และเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิพนธ์เพื่อตรวจสอบความถูกต้องด้านเนื้อหา
(Content validity) ด้านโครงสร้าง (Structure validity) และความเหมาะสมทางด้าน
ภาษาที่ใช้และนําไปทดสอบกับกลุ่มนอกตัวอย่าง (tryout) ที่มีลกษณะเหมือน
                                                               ั
ประชากรจํานวน 30 ราย จากประชากรในจังหวัดลพบุรีและนํามาวิเคราะห์เพื่อหาค่า
ความน่าเชื่อถือ (Reliability) ด้วยวิธีของ Cronbrach’s Alpha หลังจากที่รับ
แบบสอบถามกลับคืนมา ผูวจยได้นาข้อเสนอแนะที่ได้จากผูตอบมาทําการปรับปรุ ง
                            ้ิั       ํ                      ้
คําถาม ให้มีความสมบูรณ์จนเชื่อมันว่าผูตอบแบบสอบถามีความเข้าใจในเนื้อหาของ
                                    ่    ้
                              ั
คําถาม แล้วจึงนําไปแจกให้กบกลุ่มอย่างต่อไป (วิษณุ สุ วรรณเพิม, 2545, หน้า 46)
                                                                 ่
การเก็บรวบรวมข้ อมูล
          ผูวจยได้รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ดําเนินการแจกแบบสอบถามไปยัง
            ้ิั
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจย โดยเก็บแบบสอบถามเพื่อนําไปวิเคราะห์ขอมูลและ
                           ั                                     ้
อภิปรายผลระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2555 – มกราคม 2556
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี

More Related Content

What's hot

รายงานเมย์
รายงานเมย์รายงานเมย์
รายงานเมย์Kanjana ZuZie NuNa
 
ณัฐ โครงงานคอม บทที่ 1 5 เบียร์
ณัฐ โครงงานคอม  บทที่ 1   5 เบียร์ณัฐ โครงงานคอม  บทที่ 1   5 เบียร์
ณัฐ โครงงานคอม บทที่ 1 5 เบียร์ยิ้ม' เเฉ่ง
 
บทที่1 บทนำ ม.ต้น
บทที่1 บทนำ ม.ต้นบทที่1 บทนำ ม.ต้น
บทที่1 บทนำ ม.ต้นchaiwat vichianchai
 
Benefits of the internet education
Benefits of the internet educationBenefits of the internet education
Benefits of the internet educationcodexstudio
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปิยะดนัย วิเคียน
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องTheeraWat JanWan
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำAugusts Programmer
 
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่นอินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่นเดชฤทธิ์ ทองประภา
 
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตguest832105
 
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตรThanich Suwannabutr
 

What's hot (20)

รายงานเมย์
รายงานเมย์รายงานเมย์
รายงานเมย์
 
ณัฐ โครงงานคอม บทที่ 1 5 เบียร์
ณัฐ โครงงานคอม  บทที่ 1   5 เบียร์ณัฐ โครงงานคอม  บทที่ 1   5 เบียร์
ณัฐ โครงงานคอม บทที่ 1 5 เบียร์
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
บทที่1 บทนำ ม.ต้น
บทที่1 บทนำ ม.ต้นบทที่1 บทนำ ม.ต้น
บทที่1 บทนำ ม.ต้น
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
Benefits of the internet education
Benefits of the internet educationBenefits of the internet education
Benefits of the internet education
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูลจริยธรรมในโลกของข้อมูล
จริยธรรมในโลกของข้อมูล
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
ShreetUnit4.1
ShreetUnit4.1ShreetUnit4.1
ShreetUnit4.1
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
แผนแม่บท Ict ศธ
แผนแม่บท Ict ศธแผนแม่บท Ict ศธ
แผนแม่บท Ict ศธ
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำ
 
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่นอินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
อินเตอร์เน็ต เพื่อนรักเพื่อนร้ายของวัยรุ่น
 
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ต
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
Sociel
SocielSociel
Sociel
 
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
 

Similar to Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี

01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
Social networking, direct media
Social networking, direct mediaSocial networking, direct media
Social networking, direct mediapawineeyooin
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรM'suKanya MinHyuk
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องWilaiporn Seehawong
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องWilaiporn Seehawong
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningrubtumproject.com
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการjansaowapa
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องNew Tomza
 

Similar to Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี (20)

01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
10
1010
10
 
2
22
2
 
Social networking, direct media
Social networking, direct mediaSocial networking, direct media
Social networking, direct media
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
2
22
2
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learningตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
ตัวอย่างวิทยานิพนธ์บทที่ 1-2 E-learning
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
2
22
2
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 

More from Arrat Krupeach

คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...
คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...
คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...Arrat Krupeach
 
คู่มือการบันทึกคะแนนนักเรียน เวอร์ชั่น 3
คู่มือการบันทึกคะแนนนักเรียน เวอร์ชั่น 3คู่มือการบันทึกคะแนนนักเรียน เวอร์ชั่น 3
คู่มือการบันทึกคะแนนนักเรียน เวอร์ชั่น 3Arrat Krupeach
 
เกมส์และเว็บไซต์ที่ชื่นชอบ วิชาปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์
เกมส์และเว็บไซต์ที่ชื่นชอบ วิชาปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์เกมส์และเว็บไซต์ที่ชื่นชอบ วิชาปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์
เกมส์และเว็บไซต์ที่ชื่นชอบ วิชาปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์Arrat Krupeach
 
คู่มือการบันทึกคะแนน
คู่มือการบันทึกคะแนนคู่มือการบันทึกคะแนน
คู่มือการบันทึกคะแนนArrat Krupeach
 
บทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญ
บทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญบทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญ
บทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญArrat Krupeach
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Arrat Krupeach
 
จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550Arrat Krupeach
 
ศิลปะการวาดภาพงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
ศิลปะการวาดภาพงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนศิลปะการวาดภาพงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
ศิลปะการวาดภาพงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนArrat Krupeach
 
อุปกรณ์ที่เป็นส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ที่เป็นส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ที่เป็นส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ที่เป็นส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์Arrat Krupeach
 
การใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลข Calculator
การใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลข Calculatorการใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลข Calculator
การใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลข CalculatorArrat Krupeach
 
การจัดพิมพ์ลงในโปรแกรม Notepad
การจัดพิมพ์ลงในโปรแกรม Notepadการจัดพิมพ์ลงในโปรแกรม Notepad
การจัดพิมพ์ลงในโปรแกรม NotepadArrat Krupeach
 
ระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ Windowsระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ WindowsArrat Krupeach
 

More from Arrat Krupeach (14)

คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...
คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...
คู่มือการใช้งานระบบจัดเก็บข้อมูลบุคลากร ฝ่ายเดินรถ แขวงนครสวรรค์ การรถไฟแห่งป...
 
คู่มือการบันทึกคะแนนนักเรียน เวอร์ชั่น 3
คู่มือการบันทึกคะแนนนักเรียน เวอร์ชั่น 3คู่มือการบันทึกคะแนนนักเรียน เวอร์ชั่น 3
คู่มือการบันทึกคะแนนนักเรียน เวอร์ชั่น 3
 
เกมส์และเว็บไซต์ที่ชื่นชอบ วิชาปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์
เกมส์และเว็บไซต์ที่ชื่นชอบ วิชาปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์เกมส์และเว็บไซต์ที่ชื่นชอบ วิชาปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์
เกมส์และเว็บไซต์ที่ชื่นชอบ วิชาปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์
 
Appendix
AppendixAppendix
Appendix
 
คู่มือการบันทึกคะแนน
คู่มือการบันทึกคะแนนคู่มือการบันทึกคะแนน
คู่มือการบันทึกคะแนน
 
บทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญ
บทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญบทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญ
บทที่ 3 หน่วยการทำงานที่สำคัญ
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
จรรยาบรรณ & พรบ.คอมพิวเตอร์ 2550
 
ศิลปะการวาดภาพงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
ศิลปะการวาดภาพงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนศิลปะการวาดภาพงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
ศิลปะการวาดภาพงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
 
อุปกรณ์ที่เป็นส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ที่เป็นส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ที่เป็นส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์ที่เป็นส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 
การใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลข Calculator
การใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลข Calculatorการใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลข Calculator
การใช้โปรแกรมเครื่องคิดเลข Calculator
 
ข้อมูล
ข้อมูลข้อมูล
ข้อมูล
 
การจัดพิมพ์ลงในโปรแกรม Notepad
การจัดพิมพ์ลงในโปรแกรม Notepadการจัดพิมพ์ลงในโปรแกรม Notepad
การจัดพิมพ์ลงในโปรแกรม Notepad
 
ระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ Windowsระบบปฏิบัติการ Windows
ระบบปฏิบัติการ Windows
 

Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี

  • 1. การสอบวิทยานิพนธ์ 3 บท การรับรู้ ข่าวออนไลน์ ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี ONLINE NEWS PERCEPTION OF SECONDARY STUDENTS IN LOP BURI PROVINCE นายอารัทธิ์ เอียมประภาศ ่ 5112290390
  • 2. ความเป็ นมาและความสํ าคัญของปัญหา การเผยแพร่ ข่าวออนไลน์ ผ่านเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ตและมีการขยายตัว เพิมขึนอย่ างรวดเร็ว จากการสํ ารวจของเนคเทคได้ เห็นแล้ วว่ ามีผู้ใช้ เพิม ่ ้ ่ มากขึนทุกปี โดยผู้ใช้ อนเทอร์ เน็ตต่ างใช้ เครือข่ ายนีในการดํารงชีวต ้ ิ ้ ิ ประจําวันแทบทั้งสิ้นและสิ่ งทีสําคัญทีสุดคือการติดตามข่ าวสารออนไลน์ ่ ่ ผ่ านสื่ ออินเทอร์ เน็ตมากกว่ าการติดตามข่ าวผ่ านสื่ อสิ่ งพิมพ์ เนื่องด้ วยความ สะดวกและรวดเร็ว คล่ องตัว ซึ่งผลการวิจยนีสามารถนําไปเป็ นแนวทางใน ั ้ การให้ ข้อมูลและพัฒนาองค์ ความรู้ในการเลือกรับรู้ ข่าวได้ อย่ างเหมาะสม กับการปรับปรุงและพัฒนาข่ าวออนไลน์ ให้ มประสิ ทธิภาพมากยิงขึน ี ่ ้
  • 3. วัตถุประสงค์ ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาลักษณะประชากรของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรีใน การรับรู ้ข่าวออนไลน์ 2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมในการรับรู ้ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาใน จังหวัดลพบุรี 3. เพื่อศึกษาความต้องการในการรับรู ้ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษา ในจังหวัดลพบุรี 4. เพื่อศึกษาปัญหาในการรับรู ้ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาใน จังหวัดลพบุรี
  • 4. สมมติฐานของการวิจัย 1. นักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรีมีลกษณะประชากรรับรู ้ข่าวออนไลน์ ั ที่แตกต่างกัน 2. นักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรีมีพฤติกรรมในการรับรู ้ข่าวออนไลน์ที่ แตกต่างกัน 3. นักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรีมีความต้องการในการรับรู ้ข่าว ออนไลน์ที่แตกต่างกัน 4. นักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรีมีปัญหาในการรับรู ้ข่าวออนไลน์ที่ แตกต่างกัน
  • 6. นิยามศัพท์ เฉพาะ ข่าวออนไลน์ (Online news) การนําเสนอข่าวผ่านเครื อข่ายอินเทอร์เน็ต โดย ผูรับสารจะทําการรับข่าวโดยใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์หรื อโทรศัพท์มือถือเป็ นเครื่ อง ้ โดยปัจจุบนมีการนําเสนอข่าวผ่านเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตอย่างแพร่ หลาย โดย ั หนังสื อพิมพ์ต่างๆ หันมานําเสนอข่าวในระบบข่าวออนไลน์กนมาก ั
  • 7. นิยามศัพท์ เฉพาะ หนังสื อพิมพ์ เป็ นข่าวที่ถกคัดเลือกจากกองบรรณาธิการของสํานักข่าวให้ตีพิมพ์ ู ลงในหนังสื อพิมพ์ โดยข่าวถูกรวบรวม ค้นหาจากผูสื่อข่าวแล้วนํามาเสนอต่อกอง ้ บรรณาธิการให้คดเลือก โดยข่าวจะมีท้ งภาพและตัวอักษร เมื่อได้รับการคัดเลือกก็ ั ั จัดพิมพ์ลงบนกระดาษบรู๊ ฟที่มีขนาด 24x36 นิ้ว โดยเข้าพิมพ์โดยใช้เครื่ องอ๊อฟเซท โดยหนังสื อพิมพ์จะมีการเผยแพร่ เป็ นแบบรายวัน รายปักษ์ (15 วัน) รายเดือน (30 ่ ั ้ํ วัน) ขึ้นอยูกบฝ่ ายการบริ หารของสํานักข่าวเป็ นผูกาหนด
  • 8. นิยามศัพท์ เฉพาะ นักเรี ยน ผูท่ีมีอายุระหว่าง 3 – 14 ปี ที่เรี ยนหนังสื อในสถานศึกษาของรัฐบาล ้ หรื อเอกชน ทําการศึกษาหาความรู ้เพิ่มเติมในเนื้อหาบทเรี ยนที่ครู ถ่ายถอดหรื อสรุ ป และชี้แจงให้เข้าใจ โดยเกิดองค์ความรู ้และนําองค์ความรู ้ที่ได้น้ นมาดํารงชีวตใช้ใน ั ิ ประจําวัน
  • 9. นิยามศัพท์ เฉพาะ มัธยมศึกษา ระดับการศึกษาที่นกเรี ยนที่อายุระหว่าง 12-18 ปี เข้าทําการศึกษาหา ั ่ ความรู ้เพิ่มเติมจากองค์ความรู ้เดิมที่มีอยูมาจากระดับประถมศึกษาปี ที่ 6 โดยชั้นแรกที่ จะเข้าศึกษาในระดับมัธยมศึกษาคือระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ศึกษาไปจนถึงชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 3 และเมื่อศึกษาสําเร็ จจะทําการเข้าศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษาตอน ปลายที่มีระดับชั้นระหว่างมัธยมศึกษาปี ที่ 4-6
  • 10. ประโยชน์ ทคาดว่ าจะได้ รับ ี่ 1. ผูจดทําเว็บไซต์ข่าวออนไลน์สามารถนําผลการศึกษาไปพัฒนาเนื้อหา การ ้ั ั ออกแบบและนําประโยชน์ของข่าวออนไลน์ไปปรับใช้กบเว็บไซต์ของตนให้ เหมาะสมกับความต้องการได้ 2. นักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี สามารถเลือกแนวทางในการรับรู ้ ข่าวออนไลน์ได้ 3. ใช้เป็ นแนวทางในการพัฒนาข่าวออนไลน์ เนื้อหา การออกแบบและนํา ประโยชน์ต่างๆ ไปใช้ต่อในวิชาชีพของตนได้
  • 11. กรอบแนวคิดในการวิจัย 1. ลักษณะประชากรของนักเรี ยน 2. พฤติกรรมในการรับรู้ข่าวออนไลน์ของ นักเรี ยน การรับรู ้ข่าวออนไลน์ของ ตัวแปรอิสระ นักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาใน ตัวแปรตาม จังหวัดลพบุรี 3. ความต้องการในการรับรู ้ข่าวออนไลน์ ของนักเรี ยน ่ 4. ปั ญหาในการรับรู ้ขาวออนไลน์ของ นักเรี ยน
  • 12. แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ การวิจยเรื่ อง การรับรู ้ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาในจังหวัด ั ลพบุรี เป็ นการศึกษาถึงแนวคิด ทฤษฎีและงานวิจยที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็ นแนวทางในการวิจย ั ั โดยมีสาระสําคัญเรี ยงตามลําดับดังนี้ 1. อินเทอร์เน็ต 2. การสื่ อสาร 3. ความหมายของข่าวออนไลน์ 4. แนวคิดพัฒนาการทางเทคโนโลยี 5. ทฤษฎีการเปิ ดรับสื่ อ ั 6. ทฤษฎีการเรี ยนรู ้กบการสื่ อสารเพื่อโน้มน้าวใจ 7. งานวิจยที่เกี่ยวข้อง ั
  • 13. อินเทอร์ เน็ต ในปัจจุบนการสื่ อสารมีมากมายหลากหลายช่องทาง โดยช่องทางที่สะดวก ั ที่สุดสําหรับผูใช้คืออินเทอร์เน็ต โดยอินเทอร์เน็ตมีความสําคัญในการติดต่อสื่ อสาร ้ ระหว่างผูใช้ ้ ่ จากความเป็ นมาของอินเทอร์เน็ตที่มาแต่เดิมนั้นโดยจะเห็นได้วาเป็ นระบบ เครื อข่ายที่ทาให้ผใช้คอมพิวเตอร์ทวโลกสามารถเชื่อมต่อหากันได้โดยผ่านสายเคเบิล ํ ู้ ั่ โดยผ่านผูให้บริ การอินเทอร์เน็ตหรื อ ISP ในรู ปแบบต่างๆ นันเอง ้ ่
  • 14. การสื่ อสาร ั ้ การสื่ อสารเป็ นการส่ งข้อมูลต่างๆ ให้กบผูรับสารโดยผ่านช่องทางและ วิธีการต่างๆ มากมายโดยมีผให้ความหมายของการสื่ อสารไว้มากมาย ผูวจยจึงได้สรุ ป ู้ ้ิั ไว้พอสังเขปดังนี้ การสื่ อสาร คือ การสื่ อสารระหว่างผูส่งกับผูรับสาร โดยผ่านสื่ อและช่องทาง ้ ้ ในการส่ ง-รับสาร และสื่ อสารมวลชนเป็ นผูแสวงหาข่าวเพื่อให้ได้ข่าวที่สนใจและ ้ รายงานผ่านช่องทางต่างๆ เช่น หนังสื อพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ โดยในปัจจุบนมีการใช้ ั อินเทอร์เน็ตเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้องในการรายงานข่าวดังกล่าวเพื่อสนองให้ผรับสารู้ ได้รับข่าวสารนั้นอย่างรวดเร็ ว ถูกต้อง แม่นยํา และทันท่วงทีให้เหมาะยุคสมัยที่มีการ สื่ อสารอย่างรวดเร็ ว
  • 15. ความหมายของข่ าวออนไลน์ ข่าวออนไลน์เป็ นการนําเสนอข่าวโดยใช้สื่ออินเทอร์เน็ตเป็ นเครื่ องมือในการ รายงานข่าวนอกจากการนําเสนอข่าวแบบเดิม เช่น การนําเสนอข่าวผ่านหนังสื อพิมพ์ โทรทัศน์หรื อวิทยุ โดยในปั จจุบนหลายสํานักข่าวได้สร้างเว็บไซต์ของสํานักข่าวของตนโดย ั รายงานข่าวต่างๆ ควบคู่กนระหว่างหนังสื อพิมพ์ เช่น ไทยรัฐได้สร้างเว็บไซต์รายงานข่าว ั ควบคู่กนกับหนังสื อพิมพ์ที่ถูกตีพิมพ์ในกระดาษ ในบางสํานักข่าวไม่มีการรายงานข่าวโดย ั ใช้กระดาษ แต่หนมารายงานข่าวโดยผ่านทางเว็บไซต์ช่องทางเดียวหรื อบางรายการโทรทัศน์ ั ใช้สื่ออินเทอร์เน็ตในการออกอากาศควบคู่กบการออกอากาศทางโทรทัศน์ แต่ในบางแห่ง ั ออกอากาศทางโทรทัศน์และนําข่าวที่ออกอากาศนั้นเผยแพร่ ทางเว็บไซต์และแทรกเป็ นคลิป ข่าว ยกตัวอย่างเช่น รายการครอบครัวข่าว 3 เป็ นต้น
  • 16. วิวฒนาการของอุปกรณ์ ปลายทางสํ าหรับการรับข่ าวออนไลน์ ั 1960s 1970s 1980s 1990s 2000s Mainframe Mini Personal Desktop Mobile computer computer Computer internet internet computer computer Notebook, Smartphone, e-Reader, Entertainment, Nintendo ทีมา. จาก Gantz, John. (2004) และ Meeker, Mary. (2009) อ้ างใน ศูนย์ เทคโนโลยี ่ อิเล็กทรอนิสก์ และคอมพิวเตอร์ แห่ งชาติ, 2552, หน้ า 11)
  • 17. แนวคิดพัฒนาการทางเทคโนโลยี วิวฒนาการของเทคโนโลยีน้ นมีการเปลี่ยนแปลงจากการสื่ อสารผ่านจดหมาย โทร ั ั เลข หนังสื อพิมพ์ โทรศัพท์ วิทยุ โทรทัศน์ อินเทอร์เน็ต เว็บเพจและดาวเทียม เป็ นต้น โดย พัฒนาการตามลําดับนั้นเมื่อผูใช้เทคโนโลยีน้ นปรับเข้ากับการใช้งานก็จะได้รับการยอมรับ ้ ั ของเทคโนโลยีเข้ามาแทนที่ เช่น คนเก่าจะอ่านหนังสื อพิมพ์แต่คนสมัยใหม่จะอ่านข่าวผ่าน คอมพิวเตอร์หรื อโทรศัพท์มือถือโดยเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตแทนที่ โดยสามารถอ่านข่าวต่างๆ ได้ทุกสถานที่ที่สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ อีกทั้งที่การอ่านข่าวออนไลน์ได้รับความ นิยมในกลุ่มคนสมัยใหม่เนื่องด้วยประหยัดเวลา ค่าใช้จ่ายและยังสามารถสื บค้นข่าวที่ผานไป ่ หลายๆ วันได้ดวยเครื่ องมือของเว็บเพจที่ได้รับการพัฒนาลูกเล่นให้น่าสนใจ ไม่เพียงการ ้ นําเสนอข่าวผ่านเว็บไซต์เท่านั้นการโฆษณาก็ยงมีการโฆษณาผ่านสื่ ออินเทอร์เน็ต มีท้ ง ั ั ่ ั รู ปแบบอีเมล์โฆษณา หรื อโฆษณาแทรกอยูกบเนื้อข่าวที่เราอ่านผ่านอินเทอร์เน็ต
  • 18. ทฤษฎีการเปิ ดรับสื่ อ การที่ประสาทสัมผัสของผูบริ โภคซึ่งถูกกระตุนโดยสิ่ งเร้า ซึ่งผูบริ โภคจะ ้ ้ ้ เป็ นผูเ้ ลือกเองว่าสิ่ งเร้าใดตรงกับความต้องการของผูบริ โภคและผูบริ โภคจะหลีกเลี่ยง ้ ้ การเปิ ดรับสิ่ งที่เร้าตนไม่ตองการไม่สนใจและเห็นว่าไม่สาคัญและหากผูบริ โภคเลือกก็ ้ ํ ้ ั จะเกิดกระบวนการเปิ ดรับ ทั้งนี้กระบกวนการเปิ ดรับจะมีความสัมพันธ์กบความตั้งใจ ในการรับสารด้วย โดยที่ความสนใจ (interest) และความเกี่ยวข้อง (involvement) ของ ผูบริ โภคกับสิ่ งเร้านั้นจะสะท้อนออกมาในระดับความตั้งใจ (attention) ที่ผบริ โภค ้ ู้ ั ให้กบสิ่ งเร้านั้น (Asseal, 1985, pp.218-224)
  • 19. ทฤษฎีการเปิ ดรับสื่ อ นอกจากนี้ยงมีปัจจัยที่สาคัญที่เข้ามาเกี่ยวข้องกับกระบวนการเปิ ดรับสื่ อนั้นก็ ั ํ คือเกณฑ์ในการเปิ ดรับสื่ อของผูรับสาร (จรรยา ยามาลี, 2553, หน้า 31) ดังนี้ ้ 1. เลือกรับสื่ อที่มีอยู่ (availability) 2. เลือกรับสื่ อที่สะดวกและนิยม (convenience and preferences) 3. เลือกรับตามความเคยชิน (accustomed) 4. เลือกเปิ ดรับสื่ อตามลักษณะเฉพาะของสื่ อ (characteristic of media) 5. เลือกเปิ ดรับสื่ อที่สอดคล้องกับตนเอง (consistency)
  • 20. กระบวนการรับรู้ (perception process) 3 ขั้นตอน สิ่ งเร้าต่างๆ กระทบ ประมวลความคิด ตีความและ ประสาทการรับรู ้ เกี่ยวกับสิ่ งเร้า ประเมินผลสิ่ งเร้า ทีมา. จาก การสื่อสารระหว่ างบุคคล (หน้ า 89) โดย ชิตาภา สุ ขพลํา, 2548, ่ กรุงเทพฯ: สํ านักพิมพ์ โอเดียนสโตร์
  • 21. ความสามารถในการรับรู้ (Cognitive Abilities) เป็ นความสามารถในด้านการวิเคราะห์เชื่อมโยงและตีความสิ่ งที่ได้รับรู ้อย่าง มีความหมาย ซึ่งแต่ละคนมีความสามารถไม่เท่ากัน อาจจะเนื่องด้วยความฉลาดทาง สติปัญญา อารมณ์และสังคมไม่เท่ากันหรื อแม้แต่การได้รับการฝึ กฝนพัฒนา ดังจะ เห็นว่าบางคนคิดไม่ซบซ้อน แต่บางคนคิดหลายชั้นลุ่มลึก บางคนคิดสุ ดโต่งแน่น ั ่ แฟ้ น ไม่ยอมเปลี่ยนแปลง บางคนยืดหยุนได้ตามสถานการณ์ บางคนคิดหรื อตีความ เท่าที่เห็นหรื อที่ปรากฎ บางคนคิดเชื่อมโยงอดีต-ปัจจุบน-อนาคตมาร้อยเรี ยงจนเป็ น ั ่ เรื่ องราวเดียวกันได้ เช่น บางคนที่มีอายุเท่ากัน คนหนึ่งถูกวิจารณ์วาคิดแบบเด็กๆ ในขณะที่อีกคนได้รับคําชมว่าคิดเป็ นผูใหญ่ (ชิตาภา สุ ขพลํา, 2548, หน้า 93) ้
  • 22. ทฤษฎีการเรียนรู้กบการสื่ อสารเพือโน้ มน้ าวใจ ั ่ การสื่ อสารของมนุษย์ที่สร้างขึ้นมาเพื่อให้มีอิทธิพลเหนือผูอื่นโดยการ ้ เปลี่ยนคนเชื่อ ค่านิยมหรื อทัศนคติ (พลอยชนก แสนอาทิตย์, มปป, หน้า 3)
  • 23. ทฤษฎีการเรียนรู้กบการสื่ อสารเพือโน้ มน้ าวใจ ั ่ การเรี ยนรู ้ หมายถึง กระบวนการทําให้มนุษย์ได้ประสบการณ์เพิมเติมเปลี่ยนแปลง ่ ั ประสบการณ์หรื อพฤติกรรมไปหลังจากที่บุคคลนั้นได้มีปฏิสมพันธ์กนกับสิ่ งแวดล้อมคนๆ นั้นได้ ั “เรี ยนรู ้” มากขึ้นมีประสบการณ์มากขึ้น มีขอมูลมากขึ้น ทฤษฎีการเรี ยนรู ้มีขอสมมติวา มี ้ ้ ่ ความสัมพันธ์ที่สามารถอธิบายได้และพยากรณ์ได้ระหว่าง “สิ่ งเร้า” และ “การตอบสนอง” “สิ่ งเร้า” หมายถึงเหตุการณ์หรื อสิ่ งใดก็ตามที่รับรู ้ได้โดยบุคคล ในสถานการณ์ที่มีการสื่ อสารเพื่อการโน้มน้าว ใจ สารจัดเป็ นสิ่ งเร้า แหล่งสารจัดเป็ นสิ่ งเร้าอีกตัวหนึ่งเช่นเดียวกับสถานการณ์ที่มีการสื่ อสาร ก็ จัดเป็ นสิ่ งเร้าอีกตัวหนึ่ง “การตอบสนอง” หมายถึงปฏิกิริยาใดก็ตาที่เกิดขึ้นแก่ผรับสารหลังจากรับรู ้ ู้ สิ่ งเร้า โดยปกติคนที่ทาการสื่ อสารเพื่อนโน้มน้าวใจต้องการได้รับการตอบสนองจากผูรับสาร เขา ํ ้ อาจจะคอยจนผูรับสารให้การตอบสนองอย่างที่เข้าต้องการ หรื อผูส่งสารอาจจะจัดสภาพการณ์ที่มี ้ ้ เงื่อนไขเพือว่าผูรับสารจะมีปฏิกิริยาตอบโต้อย่างที่ผส่งสารต้องการ สภาพการณ์เรี ยนรู ้ท้ ง 2 แบบ ่ ้ ู้ ั เรี ยกว่า การเรี ยนรู ้แบบเน้นสิ่ งจูงใจ (Instrumental Learning หรื อ Operant Learning) และการเรี ยนรู ้ แบบมีเงื่อนไข (Conditioned Learning) (อรวรรณ ปิ ลันธน์โอวาท, 2549, หน้า 58)
  • 24. ความแตกต่ างในการตอบสนองของบุคคลในกระบวนการ S-O-R ทฤษฎีการเรี ยนรู ้มุ่งที่จะพยากรณ์ปฏิกิริยาโต้ตอบต่อสิ่ งเร้า บางทฤษฎีก็ สนใจแต่สิ่งเร้าและการตอบสนอง (S-R Theory) โดยไม่สนใจต่อบุคคลที่ทาการ ํ ตอบสนองนั้น ในทฤษฎีท่ีสนใจบุคคลเรี ยกว่า ทฤษฎีสิ่งเร้า-บุคคล-การตอบสนอง (S- O-R Theory) หรื อ Stimulus-Organism-Response) นักสื่ อสารที่ตองการได้ปฏิกิริยา ้ โต้ตอบจากผูฟังตามที่ตนประสงค์จะต้องคํานึงว่าผูรับสารนั้นจะมีความแตกต่างกันใน ้ ้ การตอบสนองดังต่อไปนี้
  • 25. ความแตกต่ างในการตอบสนองของบุคคลในกระบวนการ S-O-R 1. แต่ละคนมีความสามารถในการตอบสนองไม่เหมือนกัน 2. แต่ละคนมีความแตกต่างกันในความพร้อมที่จะตอบสนอง 3. แต่ละคนมีความแตกต่างกันในด้านแรงจูงใจที่จะตอบสนอง 4. การให้รางวัล (Reinforcement) 5. ในการเรี ยนรู ้การมีส่วนร่ วมโดยตรง (Active Participation) 6. การตอบสนองที่มีความหมายนั้น (Meaningful Response) 7. ถ้าต้องการให้การตอบสนองไม่เลือนหายไปกับกาลเวลา
  • 26. ความแตกต่ างในการตอบสนองของบุคคลในกระบวนการ S-O-R 8. ช่วงระหว่างการตอบสนองและรางวัลจะต้องเป็ นเวลาสั้นๆ 9. ยิงการตอบสนองมีความสลับซับซ้อนมากเท่าใด ่ 10. คนแต่ละคนมักจะพยายามสรุ ปรวม (Generalize) 11. ถ้าเราให้ผรับสารทราบเกี่ยวกับผลของการตอบสนองของเขาบ้างจะช่วยให้เขา ู้ ตอบสนองได้ดีข้ ึน
  • 27. งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ สุ นนท์ ต่อสกุล (2552) ได้ศึกษาเรื่ อง ปั จจัยการเลือกอ่านหนังสื อพิมพ์ออนไลน์ของ ั ประชาชนในเขตกรุ งเทพมหานคร พบว่า ประชาชนในเขตกรุ งเทพฯ เปิ ดรับหนังสื อพิมพ์ออนไลน์ โดยเฉลี่ยสัปดาห์ละ 2-3 ครั้ง ใช้เวลาในการอ่าน 30 นาที ถึง 1 ชัวโมง นิยมอ่านหนังสื อพิมพ์ ่ ออนไลน์จากที่บานหรื อที่พก เว็บไซต์ที่นิยมอ่านมากศึกษา คือ เว็บไซต์หนังสื อพิมพ์ไทยรัฐ ้ ั ออนไลน์ โดยนิยมอ่านพาดหัวข่าวมากที่สุด โดยเฉพาะข่าวการเมือง ข่าวด่วน ข่าวบันเทิงและข่าว ต่างประเทศ ปั จจัยสําคัญของการเลือกอ่านหนังสื อพิมพ์ออนไลน์ ได้แก่ ปั จจัยด้านค่าใช้จ่าย ความ สะดวก ความเป็ นปัจจุบนของข่าวและการมีทศนคติที่ดีต่อเทคโนโลยี เช่น สามารถอ่านข่าวโดยไม่ ั ั ต้องซื้อหนังสื อพิมพ์และอ่านได้ครั้งละหลายฉบับ รวมทั้งอ่านข่าวย้อนหลังได้ สามารถเปิ ดรับ เฉพาะข่าวที่ตนสนใจ สามารถอ่านได้ทุกสถานที่ ทุกเวลา ข้อมูลมีความทันสมัย สดใหม่ รวดเร็ ว ่ และน่าเชื่อถือของข้อมูล ความรู ้สึกเป็ นคนทันสมัย สามารถแสดงความคิดเห็นได้ผานโปรแกรม แชท อีเมล์และเว็บบอร์ดต่างๆ การใช้ประโยชน์ในการทํางานและการดําเนินชีวตประจําวัน ิ
  • 28. งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ การศึกษาของสุ นนท์ ต่อสกุล ชี้ให้เห็นว่า การอ่านหนังสื อพิมพ์ ั ออนไลน์ของประชาชนในกรุ งเทพมหานครมีปัจจัยและพฤติกรรมการอ่าน ข่าวสอดคล้องกับสมมติฐานในเรื่ องความแตกต่างในการรับรู ้ข่าวออนไลน์ ในการวิจยครั้งนี้และเพื่อประโยชน์ต่อไปผูวจยจะได้นาไปเป็ นแนวทางใน ั ้ิั ํ การศึกษาต่อไป
  • 29. งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ มนัสชนก คารวะพิทยากุล (2552) ได้ศึกษาเรื่ อง การเปิ ดรับอินเทอร์เน็ตของนักเรี ยน มัธยมศึกษาตอนปลาย พบว่า พฤติกรรมการเปิ ดรับอินเทอร์เน็ตส่ วนใหญ่จะมีอายุ 16 ปี มีผลการเรี ยน 3.00-3.49 และระดับผลการเรี ยน 3.50 ขึ้นไป โดยจะมีกิจกรรมที่สนใจอินเทอร์เน็ตเพื่อหาข้อมูล ประกอบการเรี ยนมากกว่า เพื่อความบันเทิงและเพื่อกิจกรรมอื่นๆ เช่น การหาเพื่อน นักเรี ยน มัธยมศึกษาตอนปลายามข้อมูลเกี่ยวกับสุ ขภาพ-ความงามมากกว่าการสนใจข้อมูลในอินเทอร์เน็ตเพื่อ การท่องเที่ยว เพื่อความบันเทิงและเพื่อติดตามข้อมูลข่าวสาร นักเรี ยนมัธยมศึกษาตอนปลายที่มี พฤติกรรมการเปิ ดรับอินเทอร์เน็ต ส่ วนใหญ่จะได้รับประโยชน์จากสิ่ งที่ได้จากการอ่านข่าวและ บทความทางอินเทอร์เน็ต เพื่อรับความรู ้เพิ่มเติมมากกว่าการได้รับข้อมูล การนําข้อมูลข่าวสารที่ ได้รับมาปรับใช้ในชีวตประจําวัน เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และได้รับประโยชน์จากด้านอื่นๆ ิ เช่น ได้ประโยชน์ดานภาษาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อนชาวต่างประเทศ ้
  • 30. งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ การศึกษาของมนัสชนก คารวะพิทยากุล ชี้ให้เห็นเห็นว่า มีกลุ่ม ประชากร ตัวแปร พฤติกรรมคล้ายกับตัวแปร สมมติฐาน พฤติกรรมที่ผวจย ู้ ิ ั เห็นว่าสอดคล้องกับสมมติฐานความต้องการรับรู ้ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยน ระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
  • 31. งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ ราตรี เงางาม (2553) ได้ศึกษาเรื่ อง แนวโน้มหนังสื อพิมพ์ออนไลน์ไทยปี พ.ศ. 2560 พบว่า กลุ่มเป้ าหมายเป็ นกลุ่มคนรุ่ นใหม่ ผูสื่อข่าวสารนําเสนอข่าวโดยไม่ผานโต๊ะข่าว สามารถ ้ ่ ปรับปรุ งข่าวตลอดเวลามีการจัดหมวดหมู่ของข่าว การเขียนข่าวยังเป็ นแบบพีระมิหวกลับ รู ปแบบ ั การนําเสนอข่าวมีแนวโน้มของการใช้สื่อมัลติมีเดียมากขึ้น นําเสนอเนื้อหาแบบสรุ ปย่อและมีการ เชื่อมโยงข่าว ด้านการตลาดมีแนวโน้มเป็ นการขยายช่องทางการตลาดควบคู่กบการเพิมช่องทางให้ ั ่ ผูอ่านเข้าได้อย่างทัวถึงและเป็ นช่องทางการขยายธุรกิจโฆษณามากขึ้น หนังสื อพิมพ์ออนไลน์ไทยมี ้ ่ แนวโน้มด้านผลกระทบต่อผูจดทําคือความผิดพลาดที่เกิดขึ้นง่าย การละเมิดลิขสิ ทธิ์มีผลให้ลดความ ้ั น่าเชื่อถือลง ส่ วนผลกระทบต่อผูอ่านคือ การขาดการกรองข่าวสารทําให้เกิดการตื่นตระหนก เกิด ้ การโน้มน้าวใจตลอดจนเกิดประโยชน์ทางธุรกิจ
  • 32. งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ การศึกษาของ ราตรี เงางาม ชี้ให้เห็นว่า แนวโน้มหนังสื อพิมพ์ ออนไลน์ไทยในปี พ.ศ.2560 หนังสื อพิมพ์ออนไลน์จะขยายตัวเพิ่มมากขึ้น แต่จะก่อให้เกิดผลกระทบเพิมมากขึ้น ซึ่ งสอดคล้องกับสมมติฐานในเรื่ อง ่ ความต้องการการรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาใน จังหวัดลพบุรี
  • 33. งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ วงศ์วรรธน์ ทองรัตน์ (2554) ได้ศึกษาเรื่ อง ปั จจัยที่มีผลต่อการเปิ ดรับข่าวสารจากหนังสื อพิมพ์ ออนไลน์ของประชาชนในกรุ งเทพมหานคร พบว่า ลักษณะประชากรที่เปิ ดรับข่าวสารจากหนังสื อพิมพ์ ออนไลน์ส่วนใหญ่เป็ นเพศหญิง อายุระหว่าง 26-33 ปี มีพฤติกรรมเปิ ดรับข่าวสารจากหนังสื อพิมพ์ออนไลน์ 1-2 วันต่อสัปดาห์ ใช้เวลาอ่าน 10-20 นาทีต่อครั้ง โดยอ่านจากที่ทางานในช่วงเวลาครึ่ งวันเช้าและชอบอ่าน ํ ข่าวบันเทิงมากที่สุด เนื้อหาคอลัมน์ที่อ่านบ่อยครั้ง เนื้อหาข่าวที่ดึงดูดความสนใจทําให้น่าอ่านและประโยชน์ ที่ได้จากการอ่าน มีผลต่อการเปิ ดรับข่าวสารจากหนังสื อพิมพ์ออนไลน์ ประชาชนส่ วนใหญ่อ่านคอลัมน์ข่าว เนื้อหาแบบเจาะลึก ตรงประเด็น ดึงดูดความสนใจผูอ่านมากที่สุดและอ่านหนังสื อพิมพ์ออนไลน์เพื่อน ้ Update ข้อมูลข่าวสารที่ละเอียดและรวดเร็ วกว่าหนังสื อพิมพ์ปกติ รู ปแบบการนําเสนอที่ผอ่านให้ความสนใจ ู้ คือพาดหัวข่าวที่มีผลต่อการติดตามข่าว การนําเสนอเนื้อหาข่าวประเภทที่พึงพอใจและวิธีการนําเสนอที่ แตกต่างจากหนังสื อพิมพ์ธรรมดา มีผลต่อการเปิ ดรับข่าวสารจากหนังสื อพิมพ์ออนไลน์ ประชาชนส่วนใหญ่ เปิ ดรับข่าวสารเพราะสะดวกต่อการเข้าถึงข้อมูล โดยให้ความสนใจกับการแบ่งหมวดหมู่ข่าวด้วยไอคอนต่างๆ บนหน้าจอ ทําให้หนังสื อพิมพ์ออนไลน์แตกต่างจากหนังสื อพิมพ์ธรรมดา
  • 34. งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ การศึกษาของ วงศ์วรรธน์ ทองรัตน์ ชี้ให้เห็นว่า ปั จจัยที่มีผลต่อ การเปิ ดรับข่าวสารจากหนังสื อพิมพ์ออนไลน์ของประชาชนในกรุ งเทพการ อ่านหนังสื อพิมพ์ออนไลน์มีประโยชน์ ได้รับความสะดวก รวดเร็ ว เจาะลึก ตรงประเด็น แบ่งคอลัมน์ข่าวด้วยไอคอนต่างๆ จึงได้รับความนิยมมากกว่า หนังสื อพิมพ์ธรรมดา ผูวจยเห็นว่าสอดคล้องกับความต้องการการรับรู้ข่าว ้ิั ออนไลน์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
  • 35. งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ ธัญพร เมฆพัฒน์ (2555) ได้ศึกษาเรื่ อง ปั จจัยที่มีอิทธิ พลต่อการใช้บริ การหนังสื อพิมพ์ออนไลน์ของ นักศึกษาคณะนิเทศศาสาตร์ มหาวิทยาลัยพายัพและมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ พบว่า พฤติกรรมการใช้บริ การ หนังสื อพิมพ์ออนไลน์ที่เลือกอ่านคือ ประเภทประชานิยม ร้อยละ 51.7 รองลงมาคือ ประเภทผสมผสาน ร้อยละ 38.6 ส่ วน เนื้อหาที่เลือกอ่าน คือ ข่าวต่างๆ ร้อยละ 75.6 รองลงมาคือ สกู๊ปพิเศษร้อยละ 52.3 และอ่านน้อยที่สุด คือ บทบรรณาธิ การ ร้อยละ 6.3 ในหนึ่งเดือนมีการใช้บริ การหนังสื อพิมพ์ออนไลน์ค่อนข้างน้อย (15-19 ครั้ง) ร้อยละ 63.1 รองลงมาคือ ใช้ บริ การบ่อยๆ ครั้ง (20-24 ครั้ง) ร้อยละ 25.6 ส่ วนระยะเวลาที่ใช้บริ การหนังสื อพิมพ์ โดยเฉลี่ยต่อครั้ง คือ โดยเฉลี่ยต่อครั้ง ตํ่ากว่า 30 นาที ร้อยละ 42.6 รองลงมาคือ ตั้งแต่ 30-60 นาที ร้อยละ 22.2 นอกจากนี้สถานที่ใช้บริ การหนังสื อพิมพ์ ออนไลน์ คือ บ้าน/ที่พก ร้อยละ 60.2 รองลงมาคือ ใช้บริ การที่สถานศึกษา ร้อยละ 18.8 หนังสื อพิมพ์ออนไลน์ตองมีความ ั ้ สดทันสมัย ข่าวที่นาเนอต้องทันต่อเหตุการณ์ ประเภทข่าวที่เลือกอ่านเป็ นข่าวเบา ชนิดข่าวที่เลือกอ่านเป็ นข่าวบันเทิง ํ และต้องมีการพาดหัวข่าวที่โดดเด่น ผูรับสารมีความต้องการรู ้ทนเหตุการณ์ มีทางเลือกในการอ่านข่าวมากขึ้น ความ ้ ั บันเทิง ได้รับความรู้จากการอ่านหนังสื อพิมพ์ออนไลน์และผูรับสารเลือกอ่านหนังสื อพิมพ์ออนไลน์เพราะต้องการ ้ ข่าวสารช่วยตัดสิ นใจ ด้านเทคโนโลยี ปั จจัยที่มีอิทธิ พลสําคัญ ได้แก่ ต้องมีความง่ายในการค้นหาข้อมูลใช้บริ การ ่ หนังสื อพิมพ์ออนไลน์โดยใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บานของตนเอง ใช้บริ การหนังสื อพิมพ์ออนไลน์ผานอินเตอร์เน็ตที่ ้ ่ บ้านตนเอง ความช้า/เร็ วของอินเทอร์เน็ตและใช้บริ การหนังสื อพิมพ์ออนไลน์ผานอินเทอร์เน็ตของสถานศึกษา
  • 36. งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ การศึกษาของ ธัญพร เมฆพัฒน์ ชี้ให้เห็นว่า ปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อ การใช้บริ การหนังสื อพิมพ์ออนไลน์ของนักศึกษาคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพและมหาวิทยาราชภัฏเชียงใหม่ ต้องมีความสดทันสมัย ทันต่อเหตุการณ์ การใช้งานและหาข้อมูลง่าย ส่ วนใหญ่กลุ่มประชากรอ่าน หนังสื อพิมพ์ออนไลน์ที่บานมากกว่าสถานศึกษา ผูวจยเห็นว่าพฤติกรรม ้ ้ิั ของกลุ่มประชากรและตัวแปรของงานวิจยนี้สอดคล้องกับตัวแปรในกลุ่ม ั ประชากร ความแตกต่างในการรับรู ้ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยนระดับ มัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
  • 37. งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ Ahn, Hyonjing (2011) ได้ศึกษาเรื่ อง ผลกระทบเกี่ยวกับทัศนคติของผูอ่ืนคนอื่นๆ เกี่ยวกับข่าวออนไลน์: ้ มุ่งเน้นในกรณี ความเห็นไม่ตรงกับเนื้อหาของข่าว พบว่า คนอ่านข่าวบนอินเทอร์เน็ตที่พวกเขากําลังเผชิญยังเห็นผูอ่าน ้ อื่น ๆ ในการตอบสนองต่อการแสดงความคิดเห็นบนกระดานในเว็บไซต์ข่าวมีโครงสร้างที่ผอ่านสามารถสื่ อสารสองทาง ู้ คือการเป็ นผูให้และการเป็ นผูรับสารและการแสดงความคิดเห็นอาจมีผลต่อข่าวเปลี่ยนแปลงไป วัตถุประสงค์ของ ้ ้ การศึกษาครั้งนี้คือการตรวจสอบความเห็นในการตอบสนองต่อเรื่ องข่าวอินเทอร์เน็ตมีอิทธิพลต่อผูอ่านอื่น ๆ ความ ้ คิดเห็นและเพื่อกําหนดขอบเขตที่ผอ่านประเมินเรื่ องข่าวและการรับรู ้ของความคิดเห็นของประชาชนแตกต่างกัน เมื่อ ู้ ่ ความคิดเห็นเหล่าเป็ นอย่างใดอย่างหนึ่งหรื ออยูในความขัดแย้งของเรื่ อง การทดลองสําหรับการวิจยครั้งนี้มี 120 คนอ่าน ั ข่าวแล้วเห็นด้วยกับเนื้อหาข่าวและอีกพวกเมื่ออ่านข่าวจะมีความขัดแย้งกับเนื้อข่าวน้อยกว่าผูที่อ่านข่าวแล้วเห็นด้วยกับ ้ ่ เนื้อหาของข่าว อย่างไรก็ตามการรับรู ้ของประชาชนจากความคิดเห็นอยูบนพื้นฐานของการแสดงความเห็น ไม่มีการ เปลี่ยนแปลงหรื อตอบสนองต่อความเห็นที่ขดแย้งกับเนื้อข่าว นอกจากนี้ผลกระทบที่เกิดขึ้นไม่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง ั ระหว่างกลุ่มคนที่เห็นด้วยกับไม่เห็นด้วย
  • 38. งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ การศึกษาของ Ahn, Hyonjing แสดงให้เห็นว่าพฤติกรรมของผูอ่าน ้ ข่าวออนไลน์มีความคิดเห็นแตกต่างกันโดยสอดคล้องกับสมมติฐานของ การวิจยเรื่ องการรับรู ้ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัด ั ลพบุรี
  • 39. งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ ่ Braun, Joshua Albert (2011) ได้ศึกษาเรื่ อง มนุษย์อยูระหว่างองค์ประกอบอิเล็กทรอนิกส์ของรายการโทรทัศน์ออนไลน์ พบว่า กาวิจยการกระจายตัวของผลิตภัณฑ์ข่าวโทรทัศน์ออนไลน์และรวมถึงกรณี ศึกษาจากการสังเกตและการสัมภาษณ์ที่ บริ ษทใน ั ั เครื อของ MSNBC.com และ MSNBC ทีวี โดยเฉพาะที่เน้นหนักในการกรณี รายการ The Rachel Maddow ที่เผยแพร่ ทางเว็บไซต์และ ได้ความนิยม ทีมของผูผลิตเว็บที่ MSNBC.com รับผิดชอบในการจัดการเนื้อหาของรายการโทรทัศน์และ รายการ Newsvine บริ ษทใน ้ ั เครื อของ MSNBC.com ที่ได้สร้างเว็บไซต์โทรทัศน์ MSNBC ขึ้น การวิจยนี้ทดลองตามหลักสังคมวิทยาของระบบสังคม ทางด้าน ั ั ่ เทคนิคและการใช้เครื่ องมือให้เห็นถึงผลกระทบของมุมมองนี้สาหรับมุมมองทางสังคมวิทยาใช้กนทัวไปเพื่อศึกษาองค์กรสื่ อ Braun ํ ใช้ทฤษฎีของ John Law ในเรื่ องของความแตกต่างกันควบคู่กบข้อมูลเชิงลึกจากนักสังคมวิทยาอื่น ๆ ของระบบเช่น การก้าวกระโดด ั ของการทํางาน MSNBC.com ได้รวบรวมทรัพยากรที่มีความหลากหลายในการทํางาน แต่กลไกที่รวดเร็ วของระบบออนไลน์สาหรับ ํ โทรทัศน์ที่เกิดขึ้นในขณะเดียวกัน ข้อถกเถียงสําคัญเป็ นที่เข้าใจว่าบริ ษทผลิตรายการไม่ได้เป็ นหนึ่งเดียวในการสร้างระบบที่แข็งแกร่ ง ั สําหรับรายการโทรทัศน์ที่มีหลากหลายโครงสร้างและหลากหลายรายการ โดยเฉพาะการสํารวจของ MSNBC ถ้าเราดูวาลักษณะ ่ โครงสร้างตั้งแต่บนถึงล่างแตกต่างกันระหว่าง Newsvine และ The Rachel Maddow Braun ได้แสดงความเห็นว่าอะไรและให้เหตุผล ที่ได้รับความนิยมและได้เปรี ยบ ผลของการแบ่งเว็บข่าวเป็ นหมวดหมู่กบการแบ่งเป็ นผูรายงานข่าวแทนในแต่ละหมวดหมู่ของข่าว จะ ั ้ ได้รับการตอบรับที่ดี และBraun พิจารณาว่าอะไรคือทางออกที่ดีและเป็ นจุดแข็งและได้รับความนิยมในปัจจุบน ผลสํารวจปรากฏว่านี่ ั เป็ นรู ปแบบการสร้างเว็บไซต์รายงานข่าวเป็ นที่น่าจะได้รับความนิยมและแพร่ กระจายของการรายงานข่าวต่อไป
  • 40. งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ จากการศึกษาของ Braun, Joshua Albert แสดงให้เห็นว่าการสร้าง เว็บไซต์ของสถานีโทรทัศน์เพื่อรายงานข่าวของตน รู ปแบบการจัดหน้า เว็บไซต์เปรี ยบเทียบให้เห็นว่าการจัดรู ปแบบเว็บไซต์สามารถโน้มน้าวให้ ผูรับข่าวออนไลน์เข้าชมเว็บมากกว่าการจัดเว็บข่าวโดยการแบ่งคอลัมน์ ซึ่ ง ้ เนื้อหาของงานวิจยนี้สอดคล้องกับสมมติฐานการวิจยในเรื่ องของความ ั ั ต้องการรับรู ้ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
  • 41. งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ Payne, Kevin Michael (2011) ได้ศึกษาเรื่ อง ผลกระทบของอินเทอร์เน็ตจาก การบอกเลิกหนังสื อพิมพ์แบบบอกรับสมาชิก พบว่า ผลกระทบการบอกเลิก หนังสื อพิมพ์แบบตอบรับสมาชิกของหนังสื อพิมพ์ฉบับหนึ่งระหว่างปี 1998-2003 ราย สัปดาห์ ข้อมูลผูใช้บริ การอินเทอร์เน็ตและคอมพิวเตอร์น่าจะเพิมขึ้นเป็ นระยะเวลา ้ ่ ต่อเนื่อง การประมาณการว่าการเข้าถึงอินเทอร์เน็ตที่บานมีความน่าจะเป็ นการเพิ่มของ ้ สมาชิกปัจจุบนเป็ น 10-90% และการยกเลิกสมาชิกพบว่าน่าจะเฉลี่ยเพิมขึ้นเป็ น ั ่ 50.5% ในความน่าจะเป็ นที่จะต่อสมาชิกในระยะเวลา 167 เดือน จากค่าเฉลี่ย 0.736- 0.597
  • 42. งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ จากการศึกษาของ Payne, Kevin Michael แสดงให้เห็นพฤติกรรม ของประชากรที่บอกรับสมาชิกหนังสื อพิมพ์และยกเลิกหลังจากเข้าใช้ บริ การอินเทอร์เน็ตได้บอกเลิกการเป็ นสมาชิกและหันมาใช้บริ การทาง อินเทอร์เน็ตแทน ซึ่ งพฤติกรรมนี้สอดคล้องสมมติฐานเรื่ องปั ญหาการรับรู้ ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
  • 43. งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ Dunlop, Sally M และคนอื่นๆ (2011) ได้ศึกษาเรื่ อง วัยรุ่ นที่สนใจเรี ยนรู้การฆ่าตัวตายบนอินเทอร์ เน็ตและ สิ่ งที่มีอิทธิ พลในกระบวนการคิดการฆ่าตัวตาย พบกว่า คนวัยรุ่ นหวันไหวต่อพฤติกรรมการฆ่าตัวตายเป็ นผลมาจากการ ่ เรี ยนรู ้เกี่ยวกับพฤติกรรมการฆ่าตัวตายของคนอื่นๆ การศึกษานี้ออกแบบเพื่อตรวจสอบว่าเว็บไซต์ อินเทอร์เน็ต ข่าว ออนไลน์หรื อเว็บไซต์เครื อข่ายสังคมเปิ ดเผยเรื่ องราวการฆ่าตัวตายที่อาจจะเพิ่มแนวคิดการฆ่าตัวตาย Dunlop ได้ใช้ วิธีการสัมภาษณ์กลุ่มประชากรตัวอย่าง 719 คน อายุระหว่าง 14-24 ปี โดยผูตอบแบบสอบถามบอกว่าคนที่เค้ารู ้จกที่มี ้ ั ความมุ่งมันหรื อพยายามฆ่าตัวตายหรื อสิ้ นหวังและคิดฆ่าตัวตายในครั้งที่ 2 หนึ่งปี ต่อมาพวกเขายังมายังมีรายการใช้ ่ ระบบปฏิบติการทางอินเทอร์เน็ตที่หลากหลายและวิธีการที่พวกเขาเปิ ดเผยเรื่ องราวการฆ่าตัวตายบนเว็บไซต์ แนวคิดใน ั การฆ่าตัวตายก็เปลี่ยนแตกต่างกันไปตามเรื่ องราวของความสิ้ นหวัง ในขณะที่วฒนธรรมการฆ่าตัวตายถูกอ้างบ่อยที่สุด ั (79% มาจากเพื่อนและครอบครัวหรื อหนังสื อพิมพ์) สื่ อออนไลน์มีส่วนถึง 59% เว็บไซต์เครื อข่ายสังคมที่ถูกอ้างถึงบ่อย เป็ นแหล่งที่มา แต่รายงานเหล่านี้ไม่ได้เชื่อมโยงกับการเพิ่มของแนวคิดที่จะฆ่าตัวตาย อย่างไรก็ตามการสนทนา ออนไลน์กเ็ ป็ นแหล่งที่มาและเกี่ยวข้องกับการเพิ่มขึ้นแนวคิดที่จะฆ่าตัวตาย อย่างไรก็ตามการสนทนาก็จะเชื่อมโยงกับ การเพิ่มขึ้นโดยตรงของแนวคิดที่จะฆ่าตัวตาย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรจะรับผิดชอบต่อการโปรโมทเว็บไซต์ต่อกลุ่ม วัยรุ่ น เพราะมีผลกระทบกับการเลียนแบบพฤติกรรมการฆ่าตัวตาย
  • 44. งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ จากการศึกษาของ Dunlop, Sally M แสดงให้เห็นว่า พฤติกรรมของ ประชากรที่รับข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตในเรื่ องแนวคิดการฆ่าตัวตาย ซึ่ ง พฤติกรรมของประชากรสอดคล้องกับสมมติฐานเรื่ องปั ญหาการรับรู ้ข่าว ออนไลน์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
  • 45. งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ Qayyum, M.Asim และคนอื่นๆ (2010) ได้ศึกษาเรื่ อง พฤติกรรมการอ่านข่าวของวัยรุ่ น ผูใหญ่ พบว่า พฤติกรรมของประชากรวัยรุ่ นผูใหญ่ในการค้นหาข้อมูลในชีวตประจําวัน การสํารวจ ้ ้ ิ ความรู ้สึกของพวกเขาและทัศนคติต่อการพิมพ์และสื่ อข่าวออนไลน์ การศึกษานี้มีนยสําคัญต่อ ั วัฒนธรรมสิ่ งพิมพ์ หน้าหนังสื อพิมพ์ท่ีลดลงกับการเติบโตของสื่ อออนไลน์ ดังนั้นจึงเป็ นสิ่ งสําคัญที่ จะเข้าใจ เพราะฉะนั้นถือเป็ นเรื่ องสําคัญที่ตองศึกษาพฤติกรรมการหาข้อมูลที่เปลี่ยนไปตามยุคสมัย ้ หลักการแปลตามแนวทางตีความถูกนํามาใช้และการสัมภาษณ์นกเรี ยนจาก 20 มหาวิทยาลัย ั ผลการวิจยแสดงให้เห็นว่าตรงกับการคาดการณ์ หนังสื อพิมพ์ยงเป็ นที่ชื่นชอบของวัยรุ่ นและสื่ อ ั ั ออนไลน์ท่ียอดนิยมก็เป็ นส่ วนหนึ่งของผูที่ยดติดกับเว็บไซต์ ท้ายที่สุดการอ่านหนังสื อพิมพ์และ ้ ึ ค่านิยมการใช้หองสมุดก็ตกเป็ นข้อถกเถียงต่อไป ้
  • 46. งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ จากการศึกษาของ Qayyum, M.Asim แสดงให้เห็นว่า พฤติกรรม การอ่านของวัยรุ่ นและทัศนคติสอดคล้องกับสมมติฐานของการวิจยเรื่ อง ั การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
  • 47. วิธีการดําเนินงานวิจัย การวิจยครั้งนี้เป็ นการวิจยเชิงสํารวจ (Survey Research) โดยใช้แบบสอบถาม ั ั (Questionnaire) เพื่อศึกษาปัจจัยด้านลักษณะประชากร ปั จจัยด้านเนื้อหา ปั จจัยด้านการออกแบบเว็บ และปัจจัยด้านประโยชน์ที่ผอ่านได้รับ ที่มีผลการรับรู ้ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาใน ู้ จังหวัดลพบุรี ซึ่งผูวจยได้กาหนดวิธีการวิจย ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่จะใช้ในการวิจย ้ิั ํ ั ั เครื่ องมือในการวิจย การเก็บรวบรวมข้อมูลและสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ขอมูล ดังนี้ ั ้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 4. การทดสอบเครื่ องมือที่ใช้ในการวิจย ั 2. ตัวแปรในการวิจย ั 5. การรวบรวมข้อมูล 3. เครื่ องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล 6. วิธีการวิเคราะห์ขอมูล ้
  • 48. ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี มี จํานวนประชากร 23,996 คน (กลุ่มสารสนเทศ สํานักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2555) การกําหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางสําเร็ จรู ปของ Taro Yamane ที่ระดับความเชื่อมันใน ่ การเลือกตัวอย่างเท่ากับร้อยละ 95 ที่ระดับความคลาดเคลื่อน +/- 5% ซึ่งทําให้การวิจยครั้งนี้ได้ ั สูตร n = N 1+Ne2 n หมายถึง กลุ่มตัวอย่างที่ตองการ ้ N หมายถึง จํานวนประชากรทั้งหมด e ํ หมายถึง ค่าความคลาดเคลื่อนที่กาหนดไว้ที่ 0.05
  • 49. ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง แทนค่าดังสูตรได้ผลดังนี้ n = 23,996 1 + 23,996 (0.05)2 n = 399.98 ผูวจยจะใช้ขนาดตัวอย่างเท่ากับ 400 คน ในการวิจย ้ิั ั
  • 50. ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง กําหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วธีการสุ่ มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน ิ (Multistage-sampling) โดยเรี ยงลําดับดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ผูวจยสุ่ มเลือกเขตพื้นที่ในจังหวัดลพบุรี ที่จะใช้ในการศึกษาจากหลาย ้ิั โรงเรี ยน โดยวิธีการสุ่ มตัวอย่างแบบง่าย (Simple random sampling) ให้เหลือเพียง 3 โรงเรี ยน ได้แก่ โรงเรี ยนพระนารายณ์ โรงเรี ยนพิบูลวิทยาลัยและโรงเรี ยนวินิตศึกษาฯ ขั้นตอนที่ 2 จากจํานวนกลุ่มตัวอย่างที่กาหนดไว้ 400 คน ผูวจยได้ทาการสุ่ มตัวอย่างจาก ํ ้ิั ํ ประชากรใน 3 โรงเรี ยน (โรงเรี ยนละประมาณ 133 คน) ขั้นตอนที่ 3 การสุ่ มตัวอย่างประชากรตามสถานที่ต่างๆ ในข้อ 2 นั้น ผูวจยใช้วธีการสุ่ ม ้ิั ิ แบบเป็ นระบบ (Systematic random sampling) โดยเลือกบุคคลที่ผวจยพบทุก ๆ 5 คน ู้ ิ ั
  • 51. ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง กําหนดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วธีการสุ่ มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน ิ (Multistage-sampling) โดยเรี ยงลําดับดังนี้ ขั้นตอนที่ 4 ผูวจยเก็บแบบสอบถามจํานวน 400 ฉบับ กลับคืนทําการตรวจสอบความ ้ิั ถูกต้องและครบถ้วนของข้อมูลแล้วนําไปดําเนินการวิเคราะห์ดวยโปรแกรมสําเร็ จรู ป ้
  • 52. ตัวแปรในการวิจัย จากการทบทวนแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการวิจยครั้งนี้ พบว่ามี ั ปัจจัยหลายประการที่น่าจะมีความเกี่ยวข้องกับการรับรู ้ข่าวออนไลน์ ปั จจัยที่ผวจยจะ ู้ ิ ั ศึกษาครั้งนี้ได้แก่ 1. ตัวแปรอิสระ (Independent Variables) ได้แก่ ลักษณะของประชากร พฤติกรรม ความต้องการในการเลือกรับรู ้ข่าวออนไลน์และปัญหาในการเลือกรับรู ้ข่าว ออนไลน์ของนักเรี ยน 2. ตัวแปรตาม (Dependent Variables) ได้แก่ การรับรู ้ข่าวออนไลน์ของ นักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
  • 53. เครื่องมือทีใช้ ในการวิจัย ่ เครื่ องมือที่ใช้ในการงานวิจย คือ แบบสอบถาม (Questionnaires) ที่ใช้ ั สําหรับการเก็บรวบรวมข้อมูลการรับรู ้ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาใน จังหวัดลพบุรี ซึ่งประกอบไปด้วย คําถามแบบปลายเปิ ด (Open-ended questions) และ คําถามแบบปลายปิ ด (Close-ended questions) โดยแบ่งออกเป็ นส่ วนๆ ดังนี้ ตอนที่ 1 เป็ นแบบสอบถามเกี่ยวกับลักษณะประชากรของผูตอบ ้ แบบสอบถามได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพของนักเรี ยนและประเภทของ สถานศึกษา ลักษณะคําถามเป็ นแบบเลือกตอบ (check list) จํานวน 4 ข้อ ตอนที่ 2 เป็ นแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการรับรู ้ข่าวออนไลน์ ลักษณะ คําถามเป็ นแบบเลือกตอบ (check list) จํานวน 6 ข้อ
  • 54. เครื่องมือทีใช้ ในการวิจัย ่ เครื่ องมือที่ใช้ในการงานวิจย คือ แบบสอบถาม (Questionnaires) ที่ใช้ ั สําหรับการเก็บรวบรวมข้อมูลการรับรู ้ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาใน จังหวัดลพบุรี ซึ่งประกอบไปด้วย คําถามแบบปลายเปิ ด (Open-ended questions) และ คําถามแบบปลายปิ ด (Close-ended questions) โดยแบ่งออกเป็ นส่ วนๆ ดังนี้ ตอนที่ 3 เป็ นแบบสอบถามเกี่ยวกับความต้องการการรับรู ้ข่าวออนไลน์ ลักษณะคําถามเป็ นแบบเลือกตอบ (check list) จํานวน 10 ข้อ ตอนที่ 4 เป็ นแบบสอบถามเกี่ยวกับปัญหาในการรับรู ้ข่าวออนไลน์ของ นักเรี ยนในระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี ลักษณะคําถามเป็ นแบบเลือกตอบ (check list) จํานวน 3 ข้อ
  • 55. เครื่องมือทีใช้ ในการวิจัย ่ เครื่ องมือที่ใช้ในการงานวิจย คือ แบบสอบถาม (Questionnaires) ที่ใช้ ั สําหรับการเก็บรวบรวมข้อมูลการรับรู ้ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาใน จังหวัดลพบุรี ซึ่งประกอบไปด้วย คําถามแบบปลายเปิ ด (Open-ended questions) และ คําถามแบบปลายปิ ด (Close-ended questions) โดยแบ่งออกเป็ นส่ วนๆ ดังนี้ ตอนที่ 5 เป็ นแบบสอบถามเกี่ยวกับการรับรู ้ข่าวออนไลน์ของนักเรี ยนระดับ มัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี ใช้การวัดมาตราส่ วนประเมินค่า (rating scale) จํานวน 15 ข้อ ตอนที่ 6 เป็ นการแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการรับรู ้ข่าว ออนไลน์ของนักเรี ยนระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดลพบุรี
  • 56. การทดสอบความเทียงตรงของเครื่องมือวิจัย ่ การทดสอบความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม ผูวจยได้สร้างแบบสอบถาม ้ิั และเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึ กษาวิทยานิพนธ์เพื่อตรวจสอบความถูกต้องด้านเนื้อหา (Content validity) ด้านโครงสร้าง (Structure validity) และความเหมาะสมทางด้าน ภาษาที่ใช้และนําไปทดสอบกับกลุ่มนอกตัวอย่าง (tryout) ที่มีลกษณะเหมือน ั ประชากรจํานวน 30 ราย จากประชากรในจังหวัดลพบุรีและนํามาวิเคราะห์เพื่อหาค่า ความน่าเชื่อถือ (Reliability) ด้วยวิธีของ Cronbrach’s Alpha หลังจากที่รับ แบบสอบถามกลับคืนมา ผูวจยได้นาข้อเสนอแนะที่ได้จากผูตอบมาทําการปรับปรุ ง ้ิั ํ ้ คําถาม ให้มีความสมบูรณ์จนเชื่อมันว่าผูตอบแบบสอบถามีความเข้าใจในเนื้อหาของ ่ ้ ั คําถาม แล้วจึงนําไปแจกให้กบกลุ่มอย่างต่อไป (วิษณุ สุ วรรณเพิม, 2545, หน้า 46) ่
  • 57. การเก็บรวบรวมข้ อมูล ผูวจยได้รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ดําเนินการแจกแบบสอบถามไปยัง ้ิั กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจย โดยเก็บแบบสอบถามเพื่อนําไปวิเคราะห์ขอมูลและ ั ้ อภิปรายผลระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2555 – มกราคม 2556