SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 31
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯ
ต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
พญ.รัตโนทัย พลับรู้การ
สถาบันสุขภาพเด็กหางชาติมหาราชินี
2
Pediatric Environmental Health
A discipline that involves the identification,
treatment, prevention and control of
environmental exposures and associated
adverse health effects in infants, children,
adolescents, and young adults
http://www.aap.org/healthtopics/environmentalhealth.cfm
3
Pediatric Environmental Health
•Also attention to the positive
contributions from a healthy,
nurturing and stimulating
environment on child development
•Adverse effects from the LACK of
those positive influences
บทบาทกุมารแพทย์
• Primary care giver
• Health supervision and health educator
• Advocate
• Consultant
• Counselor
• Case manager
• Coordinator and collaborator
• Researcher
5
IMPORTANT TOPICS
• Air Pollutants (outdoor, indoor)
• Arsenic
• Asbestos
• Asthma – Environmental
risk factors
• Breast Feeding and Food
Contamination
• Carbon Monoxide
• Child labor
• Endocrine Disruptors
• Environmental Disparities
• Environmental Tobacco
Smoke
• Hazardous waste sites
• Dietary Supplements/
ethnic remedies
• Lead
• Mercury
• Pesticides
• PCB’s and dioxins
• Radiation (Radon,
Ultraviolet light)
• Water pollutants
• Urban design/sprawl
• Plastics, BPA, Phthalates
บทบาทกุมารแพทย์อดีต-ปัจจุบัน
พ.ศ. 2514 ศ. นพ.อุรพล บุญประกอบ และคณะ
รายงานผู้ป่ วยที่ได้รับสารตะกั่วที่เป็ นพิษ เป็ นครั้ง
แรกจากคณะแพทยศาสตร์ศิริราช พยาบาล
LEAD EXPOSURE:
สายสะดือ มคก./ดล.
- เหลือพร ปุณณกันต์ (2529) ศิริราช 82 ราย 18.5 + 6
เด็ก 6-12 ปี
- เหลือพร ปุณณกันต์ (2532-2533)
กรุงเทพมหานคร 214 ราย 22.0 + 7.5
กาญจนบุรี 132 ราย 16.2 + 6.8
- อรพรรณ เมธาดิลกกุล (2534)
กรุงเทพมหานคร 18.8 + 6.2
ต่างจังหวัด 14.0 + 3.9
LEAD EXPOSURE:
• ปี 2535
การศึกษาระดับตะกั่วในสายสะดือเด็กแรกเกิด มคก./ดล.
- วินิต พัวประดิษฐ์ (มค. 2536) รพ.รามาธิบดี
500 ราย
5.19+1.69
- Prapamonthol T. (2536) รพ.นครเชียงใหม่ 47
ราย
4.9+3.98
- ลัดดา ตั้งบันลือกาล (มค.-ตค. 2540)
รพ.ราชวิถี
4.59+1.72
LEAD EXPOSURE: risk factors
• ปี 2535 สุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ์ และคณะ ทาร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และกรุงเทพมหานคร โดยได้รับทุนจาก WHO การศึกษาใน
เด็กประถมศึกษาของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 6 แห่ง ซึ่งมีจานวนผู้เข้าร่วม
การศึกษา 512 คน มีค่าเฉลี่ย 9.26 + 3.68 มคก./ดล.
สูงกว่าเด็กนักเรียนสิงห์บุรี และพบว่ามีสัดส่วนของผู้ที่มีระดับตะกั่วสูงกว่า 10
มคก./ดล. ถึงร้อยละ 27.8 (สิงห์บุรีร้อยละ 5.7) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
ปัจจัยเสี่ยงได้แก่เด็กที่อาศัยใน กทม. (6.18), เพศชาย (1.67), อายุน้อย
กว่า 9 ปี (1.98), แม่ที่มีอาชีพเป็ นกรรมกร (1.74), รายได้รวมของครอบครัวน้อยกว่า
3,000 บาท/เดือน (2.24), มีสมาชิกในครอบครัวอยู่กันหนาแน่นกว่า 9 คน (2.2),
ผู้ที่อยู่ในบ้านเดียวกันที่เกี่ยวข้องกับการพิมพ์ (4.55) และการหลอมตะกั่ว (4.85),
เด็กที่ใช้เวลาว่างเล่นอยู่ตามข้างถนน (2.7) หรือสนามเด็กเล่นที่อยู่ติดถนน (1.7),
เดินทางไปโรงเรียนโดยการเดิน (1.7) หรือเดินไปลงเรือ (1.6)
LEAD EXPOSURE:
•ปี 2537สุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ์ และคณะฯ
1) การติดตามผลระดับตะกั่วในเลือดของเด็ก กทม. ที่เกิดที่
รพ.รามาธิบดี (มค. 2536) ตั้งแต่อายุแรกเกิดถึง 2 ปี 84 คน
มีค่าตั้งแต่ 4.75 ถึง 5 มคก./ดล. ค่อนข้างคงที่ไม่เพิ่มขึ้นตาม
อายุ
2) เมื่อเปรียบเทียบระดับตะกั่วเฉลี่ยของเด็กอายุต่ากว่า 27
เดือน กลุ่ม กทม. จานวน 75 ราย (6.55+2.97 มกค./ดล.)
จะพบว่าสูงกว่าเด็กกลุ่มสามพราน จานวน 188 ราย
(5.82+5.6 มคก./ดล.) เล็กน้อย และสัดส่วนของผู้มีตะกั่วสูง
LEAD EXPOSURE:
• ปี 2540
การศึกษาจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย Prapamontol T
(พ.ย. 2528-ม.ค. 2540) จานวน 1,000 คน พบว่ามีระดับสูงร้อยละ
4.4
• ปี 2541
การศึกษาจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยพิมพ์ลักษณ์ เจริญ
ขวัญ รายงานค่าเฉลี่ยตะกั่วในเลือดเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 6 ปี ที่มา
ตรวจสุขภาพ ณ ร.พ. แห่งนี้ ระหว่าง มิ.ย. 2539-ก.ค. 2541 จานวน
1,000 คน เท่ากับ 4.97 + 3.17 มคก./ดล. และมีร้อยละ 3.9 ที่มี
ระดับสูง
LEAD EXPOSURE:
• ปี 2540
การศึกษาของ สุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ์ในเด็กจานวน
511 คน ที่มาตรวจที่ รพ.รามาธิบดี ระหว่าง พ.ศ. 2536-2539
พบว่าค่าเฉลี่ยของตะกั่วในเลือดในอายุ 2 ปี (4.97+3.04 มคก./
ดล.) มีแนวโน้มว่าระดับตะกั่วในเลือด และสัดส่วนของผู้มีตะกั่วสูงเกิน
10 มคก./ดล. สูงขึ้นตามอายุ จากร้อยละ 1 เป็ น 9, 6, 10, 21,
28 และ 35 เมื่ออายุแรกเกิด 1 ปี , 2 ปี , 1 ½ ปี , 2 ปี , 2-5 ปี ,
6-10 ปี และ 11-19 ปี ตามลาดับ
การศึกษาในโรงเรียนใกล้ทางด่วนขั้นที่ 2 พบว่าค่าเฉลี่ยตะกั่วใน
เด็กนักเรียนอนุบาล 43 คน เท่ากับ 6.80+2.02 มคก./ดล.และ
มัธยมศึกษา 377 คน เท่ากับ 9.03+3.65 มคก./ดล.
LEAD EXPOSURE:
• ปี 2543 การรักษาเด็กที่ห้วยคลิตี้ ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรีที่ได้รับ
ผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมที่ปนเปื้ อนสารตะกั่ว โดยมีการติดตามเป็ น
ระยะเวลา 3 ปี ตั้งแต่ 2539-2542 ( J Med Assoc Thai
2002 Aug 85 Suppl2 , S762-8) สุรพงษ์ ตันธนศรีกุล
บุญนา ชัยวิสุทธิ์ สมเกียรติ ศิริรัตนพฤกษ์ ฉันทนา ผดุงทศ รัต
โนทัย พลับรู้การ ธัญญณัฐ บุนนาค ประพันธ์ ภูมิรัตนรักษ์ จุฬธิดา
โฉมฉาย
LEAD EXPOSURE: risk factors
• จุฬธิดา โฉมฉาย และคณะ; พศ. 2548 ศึกษาเด็ก 296 ราย จาก
คลองเตย 33 ราย บางกอกน้อย 114 ราย และ จ.กาญจนบุรี
149 ราย พบว่าชุมชนคลองเตยมีการสัมผัสตะกั่ว สูงร้อยละ 12.5
พบปัจจัยเสี่ยงมีสีลอกหลุดในบ้าน การมีพฤติกรรมหยิบชิ้นสี
เข้าปาก และภูมิลาเนาของเด็ก สัมพันธ์กับระดับตะกัวในนเลือด
• สุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ์, โยเซฟ ซื่อเพียรธรรม; พศ. 2545
เด็กอนุบาลในกทม. 60 คน มีค่าเฉลี่ยตะกั่วในเลือด 6.7 ± 2
มคก./ดล. ปัจจัยเสี่ยงคือ เพศชาย น้าหนักและส่ในสูงตวากใ่า
เกณฑ์
LEAD EXPOSURE:
• ปี 2553 พญ. จันทิมา ใจพันธ์ และ นพ. อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ ศูนย์วิจัย
ความ ปลอดภัยในเด็ก รพ รามาธิบดี ได้ศึกษาระดับสาร ตะกั่วในสิ่งแวดล้อม
ของศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัย เรียน กทม. 17 ศูนย์ ศูนย์พัฒนาเด็กใช้สีน้ามันทา
อาคารภายใน 14 ศูนย์ ในจานวนนี้ 9 ศูนย์หรือ 64.3% มีระดับตะกั่วในสี
ทาอาคาร ภายในสูงกว่าค่ามาตรฐานสากล (600ppm) โดยมี ค่าสูงสุด
32,400 ppm พบว่าสีดา สีเหลือง และสีเขียวพบ สารตะกั่วปนเปื้ อนมาก
ที่สุด
• ปี 2557 พญ.นัยนา ณีศนันท์และคณะ ศึกษาปัจจัยเสี่ยงการได้รับสารตะกั่ว
สูงในเด็กศูนย์อพยพ ที่ อ.อุ้มผาง จ. ตาก
Tobacco and secondhand smoker
•พ.ศ. 2551 โครงการบ้านปลอดบุหรี่ ซึ่ง ศ.นพ.
ประกิต วาทีสาธกกิจ เลขาธิการมูลนิธิรณรงค์เพื่อ
การไม่สูบบุหรี่เป็ นผู้ริเริ่ม มีกุมารแพทย์เข้าไปร่วม
โครงการอย่างต่อเนื่อง คือ พญ. มุกดา หวังวีรวงศ์
สถาบันสุขภาพเด็กฯ และขยายโครงการต่อไปอีก
7 จังหวัดในส่วนภูมิภาค
บทบาทราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่ง
ประเทศไทย
ราชวิทยาลัยกุมารฯ แต่งตั้งผู้เชี่ยวชาญ
•กาหนดนโยบาย จุดยืนและ มาตรฐานการประกอบ
วิชาชีพเวชกรรมสาขากุมารเวชศาสตร์
•ส่งเสริม สนับสนุนให้เด็กและเยาวชนได้พัฒนาไปตาม
ศักยภาพ และพิจารณาแก้ไขปัญหาสาคัญของเด็กใน
ชุมชน
•ให้ข้อมูลแก่กุมารแพทย์ที่ถูกต้องทันสมัย
•ให้ข้อมูลแก่สาธารณชนในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับเด็กและ
เยาวชน
ผู้เชี่ยวชาญอนุสาขาวิชาอุบัติเหตุและพิษวิทยา พศ.
2542-2545
ประธานราชวิทยาลัย ศ. นพ.วินัย สุวัตถี
• พญ.วณิช วรรณพฤกษ์ ประธาน
• นพ.วิโรจน์ พงษ์พันธ์เลิศ
• พญ.คุณหญิง โชติมา ปัทมานันท์
• นพ. เหลือพร ปุณณกันต์
• พญ. สุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ์
• พญ. รัตโนทัย พลับรู้การ
• พญ.บุญสม ผลประเสริฐ
• นพ. พลเลิศ พันธ์ธนากุล
• นพ.วิโรจน์ อารีย์กุล
• พญ.จุฬธิดา กรีทอง
กลุ่มผู้เชี่ยวชาญอนุสาขาวิชาอุบัติเหตุและพิษวิทยาพศ. 2545
ประธานราชวิทยาลัย ศ. นพ.สมศักดิ์ โล่ห์เลขา
•พญ.วณิช วรรณพฤกษ์ ประธาน
•พญ. สุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ์
•นพ. พลเลิศ พันธ์ธนากุล
•พญ. รัตโนทัย พลับรู้การ
GUIDELINE MANAGEMENT OF LEAD
EXPOSURE IN CHILDREN พศ. 2545
การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรม
แพทย์ประจาบ้าน พศ. 2551
การจัดการศึกษาสาหรับกุมารแพทย์ยุคใหม่ :
กระบวนทัศน์ที่เปลี่ยนไป
คณะอนุกรรมการ อฝส.
ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่ง
ประเทศไทย
30 ตุลาคม 2552
ด้านสภาพแวดล้อมในการดารงชีวิต
1. ภาวะมลพิษเพิ่มขึ้น
2. ชุมชนแออัดเพิ่มขึ้น
- 1,587 ชุมชนใน พ.ศ. 2537 
2,696 ชุมชน ใน พ.ศ. 2549
3. พื้นที่สาธารณะเพื่อการนันทนาการเด็ก
และเยาวชน มีค่าเฉลี่ย 10.93 ต่อ
ประชากรแสนคน
4. พื้นที่เสี่ยงมีค่าเฉลี่ย 29.0 ต่อประชากร
แสนคน
5. เยาวชนอยู่ในสภาพแวดล้อมไม่ดี
- เข้าถึงแหล่งซื้อบุหรี่ภายในเวลา
7 นาที
- เข้าถึงร้านเกมอินเทอร์เน็ต
ภายในเวลา 12 นาที
- แหล่งการพนันภายใน 15 นาที
- แหล่งซื้อขายซีดี ดีวีดีลามก
สถานบันเทิงและสถานบริการ
ทางเพศภายใน 30 นาที
การเปลี่ยนแปลงด้านสภาพแวดล้อมในการดารงชีวิต
ที่มา : ปาณบดี เอกะจัมปกะ และ นิธิศ วัฒนมะโน 17 กันยายน 2551
ด้านครอบครัว
การเปลี่ยนแปลงด้านครอบครัว ผลกระทบต่อสุขภาวะเด็กไทย
1. การหย่าร้างมากขึ้น 3.4 คู่ต่อ
พันครัวเรือน ใน พ.ศ. 2539
 4.9 คู่ต่อพันครัวเรือนใน
พ.ศ. 2549
1. เด็กถูกทอดทิ้งเพิ่มมากขึ้น พ.ศ. 2536 จาก 30.33 ต่อ
เด็กแสนคน 48.49 ต่อเด็กแสนคนใน พ.ศ.2549
ส่งผลให้
- เด็กไม่ได้รับการดูแลเรื่องอาหารและสุขภาพ ทาให้
มี ปัญหาสุขภาพ เช่น สุขภาพจิต ปัญหาทุพโภชนาการ
ฯลฯ
2. ดัชนีความอบอุ่นของครอบครัว
ไทยลดลงจากร้อยละ 67.8 ใน
พ.ศ. 2546 58.7 ใน พ.ศ.
2549
2. เด็กมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมและถูกดาเนินคดีเพิ่มขึ้น
- เด็ก 7-18 ปี ถูกดาเนินคดีเรื่องยาเสพติด
ร้อยละ 35.1 ใน พ.ศ. 2541-2550
3. เวลาที่ใช้ดูแลสมาชิกใน
ครัวเรือนเฉลี่ยวันละ 2.2-3.2
ชั่วโมง
3. ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการทารุนแรง ทั้งการทาร้าย
ตนเองและทาร้ายกัน ในเด็กวัย 0-4 ปี และ 5-14 ปี
คิดเป็ น มูลค่า 9-23 ล้านบาท
ที่มา : ปาณบดี เอกะจัมปกะ และ นิธิศ วัฒนมะโน 17 กันยายน 2551
แสดงลักษณะการเสียชีวิตจากการติดค้างของศีรษะ (head
entrapment)
ในช่องว่างที่มีความกว้างกว่า 6 เซนติเมตรในเตียงเด็กทารก
แสดงการติดค้างของศีรษะในช่องว่างระหว่างเตียงกับกาแพงหรือเตียงกับ
เฟอร์นิเจอร์อื่น
ที่มา : อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ และคณะ 17 กันยายน
13.72 13.58
11.55
12.76
14.74
14.20
12.53
10.50
8.11
7.02
5.88
4.92
4.34 4.16
0
2
4
6
8
10
12
14
16
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14
อัตราการตายจากการจมน้าในเด็กอายุ 1-14 ปี (/100000)
(/100000)
อัตราการตายจากการจมน้า (/100000) ในเด็กอายุ 1-
14 ปี
ที่มา : อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ และคณะ 17 กันยายน 2551
เด็กถูกทารุณกรรม
ละเลยทอดทิ้ง
2.7 ล ้านคน/ปี
เด็กกาพร ้าและถูกทอดทิ้ง
700-800 คน/ปี
เด็กอาศัยในสลัม
2 ล ้านคน
แรงงานเด็ก
1 ล ้านคน
เด็กกระทาผิด
50,000 คน
เด็กพิการ
66,585 คน
เด็กติดเชื้อ HIV 3500 คน
บิดามารดาติดเชื้อ HIV 500,000 คน
เด็กต่างชาติ (<15 ปี)
93,000 คน
เด็กยากจน
2.1 ล ้านคน
เด็กเร่ร่อน 13,000 คน
เด็กไร ้รัฐ ?
ความยากจน
การขาดโอกาส
ครอบครัวล่มสลาย
ความรุนแรง
ด ้อยการศึกษา
ที่มา : ศรีเวียง ไพโรจน์กุล และคณะ 17 กันยายน 2551
คณะกรรมการขับเคลื่อนสังคมด้าน
สุขภาพเด็กและวัยรุ่น
ฝ่ายกิจกรรมสังคมด้านการป้ องกันโรค
และอุบัติเหตุ
ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์ฯ

Más contenido relacionado

Similar a บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก

ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdfปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf60919
 
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555dentalfund
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔weskaew yodmongkol
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นKomsan Iemthaisong
 
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีUtai Sukviwatsirikul
 
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็กCPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็กThorsang Chayovan
 
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์Utai Sukviwatsirikul
 
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์Utai Sukviwatsirikul
 
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์Utai Sukviwatsirikul
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพanira143 anira143
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรtaem
 
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...cmucraniofacial
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยsoftganz
 
E book2015-new
E book2015-newE book2015-new
E book2015-newwarit_sara
 

Similar a บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก (20)

ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdfปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย+ศูนย์อนามัยที่+5.pdf
 
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
 
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59 นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔
 
Alter medpart2 n
Alter medpart2 n Alter medpart2 n
Alter medpart2 n
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
 
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
 
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็กCPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในเด็ก
 
Program roadmap14 final
Program roadmap14 finalProgram roadmap14 final
Program roadmap14 final
 
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
 
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
 
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
 
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
 
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
Slde ความรู้บทบาทของพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะปากแหว่ง และ /หรือเพดานโหว...
 
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทยการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในประเทศไทย
 
E book2015-new
E book2015-newE book2015-new
E book2015-new
 
Elderly survey doh
Elderly survey dohElderly survey doh
Elderly survey doh
 
โครงการ จ ตอาสาพาน องแปรงฟ_น
โครงการ จ ตอาสาพาน องแปรงฟ_นโครงการ จ ตอาสาพาน องแปรงฟ_น
โครงการ จ ตอาสาพาน องแปรงฟ_น
 
Thailand 4.0 and Thailand's Public Health
Thailand 4.0 and Thailand's Public HealthThailand 4.0 and Thailand's Public Health
Thailand 4.0 and Thailand's Public Health
 

Más de csip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก

Más de csip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก (20)

The Research of Injuries and Depression among Taiwanese Indigenes
The Research of Injuries and Depression among Taiwanese IndigenesThe Research of Injuries and Depression among Taiwanese Indigenes
The Research of Injuries and Depression among Taiwanese Indigenes
 
Participatory Management of Safe School Project by using The PAOR Workshop Pr...
Participatory Management of Safe School Project by using The PAOR Workshop Pr...Participatory Management of Safe School Project by using The PAOR Workshop Pr...
Participatory Management of Safe School Project by using The PAOR Workshop Pr...
 
Distl, Spitzer, Brandmayr: Development of Safe Schools in Austria
Distl, Spitzer, Brandmayr: Development of Safe Schools in AustriaDistl, Spitzer, Brandmayr: Development of Safe Schools in Austria
Distl, Spitzer, Brandmayr: Development of Safe Schools in Austria
 
Injury Surveillanceand Monitoring Injury and Violence Risk Student
Injury Surveillanceand Monitoring Injury and Violence Risk StudentInjury Surveillanceand Monitoring Injury and Violence Risk Student
Injury Surveillanceand Monitoring Injury and Violence Risk Student
 
Home after School
Home after School Home after School
Home after School
 
Surveillance and Prevention of Swine influenza 2009 (H1N1)
Surveillance and Prevention of Swine influenza 2009 (H1N1)Surveillance and Prevention of Swine influenza 2009 (H1N1)
Surveillance and Prevention of Swine influenza 2009 (H1N1)
 
Surveillance and Prevention of Dengue Fever in the Community
Surveillance and Prevention of Dengue Fever in the CommunitySurveillance and Prevention of Dengue Fever in the Community
Surveillance and Prevention of Dengue Fever in the Community
 
Teacher Safe: Digital application as an occupational Safety tool
Teacher Safe: Digital application as an occupational Safety toolTeacher Safe: Digital application as an occupational Safety tool
Teacher Safe: Digital application as an occupational Safety tool
 
Long-term evaluation of Safe Community Program in Taiwan
Long-term evaluation of Safe Community Program in Taiwan Long-term evaluation of Safe Community Program in Taiwan
Long-term evaluation of Safe Community Program in Taiwan
 
Strong Wangsaipoon Sub-district with Non-violence
Strong Wangsaipoon Sub-district with Non-violenceStrong Wangsaipoon Sub-district with Non-violence
Strong Wangsaipoon Sub-district with Non-violence
 
Impacts of Safe Community programs at Kagoshima City, Japan
Impacts of Safe Community programs at Kagoshima City, JapanImpacts of Safe Community programs at Kagoshima City, Japan
Impacts of Safe Community programs at Kagoshima City, Japan
 
An Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei Province
An Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei ProvinceAn Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei Province
An Improvement of EMS by Integrated Network at Dansai District, Loei Province
 
EMS Reporter : capacity building in mass communication
EMS Reporter : capacity building in mass communicationEMS Reporter : capacity building in mass communication
EMS Reporter : capacity building in mass communication
 
EMS Reporter : capacity building in mass communication
EMS Reporter : capacity building in mass communicationEMS Reporter : capacity building in mass communication
EMS Reporter : capacity building in mass communication
 
Services and Development of Primary Emergency Medical Service
Services and Development of Primary Emergency Medical ServiceServices and Development of Primary Emergency Medical Service
Services and Development of Primary Emergency Medical Service
 
Novel 5-step program for reducing substance abuse related problems byintegrat...
Novel 5-step program for reducing substance abuse related problems byintegrat...Novel 5-step program for reducing substance abuse related problems byintegrat...
Novel 5-step program for reducing substance abuse related problems byintegrat...
 
A community based social identity approach for pro-environmental and safe tr...
A community based social identity approach for  pro-environmental and safe tr...A community based social identity approach for  pro-environmental and safe tr...
A community based social identity approach for pro-environmental and safe tr...
 
Determinants of red light violation among Thai rural motorcyclists
Determinants of red light violation among Thai rural motorcyclistsDeterminants of red light violation among Thai rural motorcyclists
Determinants of red light violation among Thai rural motorcyclists
 
Prevention of Children from drowning
Prevention of Children from drowningPrevention of Children from drowning
Prevention of Children from drowning
 
Model development of helmet use promotion among child Motorcycle passengers b...
Model development of helmet use promotion among child Motorcycle passengers b...Model development of helmet use promotion among child Motorcycle passengers b...
Model development of helmet use promotion among child Motorcycle passengers b...
 

บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก

  • 2. 2 Pediatric Environmental Health A discipline that involves the identification, treatment, prevention and control of environmental exposures and associated adverse health effects in infants, children, adolescents, and young adults http://www.aap.org/healthtopics/environmentalhealth.cfm
  • 3. 3 Pediatric Environmental Health •Also attention to the positive contributions from a healthy, nurturing and stimulating environment on child development •Adverse effects from the LACK of those positive influences
  • 4. บทบาทกุมารแพทย์ • Primary care giver • Health supervision and health educator • Advocate • Consultant • Counselor • Case manager • Coordinator and collaborator • Researcher
  • 5. 5 IMPORTANT TOPICS • Air Pollutants (outdoor, indoor) • Arsenic • Asbestos • Asthma – Environmental risk factors • Breast Feeding and Food Contamination • Carbon Monoxide • Child labor • Endocrine Disruptors • Environmental Disparities • Environmental Tobacco Smoke • Hazardous waste sites • Dietary Supplements/ ethnic remedies • Lead • Mercury • Pesticides • PCB’s and dioxins • Radiation (Radon, Ultraviolet light) • Water pollutants • Urban design/sprawl • Plastics, BPA, Phthalates
  • 6. บทบาทกุมารแพทย์อดีต-ปัจจุบัน พ.ศ. 2514 ศ. นพ.อุรพล บุญประกอบ และคณะ รายงานผู้ป่ วยที่ได้รับสารตะกั่วที่เป็ นพิษ เป็ นครั้ง แรกจากคณะแพทยศาสตร์ศิริราช พยาบาล
  • 7. LEAD EXPOSURE: สายสะดือ มคก./ดล. - เหลือพร ปุณณกันต์ (2529) ศิริราช 82 ราย 18.5 + 6 เด็ก 6-12 ปี - เหลือพร ปุณณกันต์ (2532-2533) กรุงเทพมหานคร 214 ราย 22.0 + 7.5 กาญจนบุรี 132 ราย 16.2 + 6.8 - อรพรรณ เมธาดิลกกุล (2534) กรุงเทพมหานคร 18.8 + 6.2 ต่างจังหวัด 14.0 + 3.9
  • 8. LEAD EXPOSURE: • ปี 2535 การศึกษาระดับตะกั่วในสายสะดือเด็กแรกเกิด มคก./ดล. - วินิต พัวประดิษฐ์ (มค. 2536) รพ.รามาธิบดี 500 ราย 5.19+1.69 - Prapamonthol T. (2536) รพ.นครเชียงใหม่ 47 ราย 4.9+3.98 - ลัดดา ตั้งบันลือกาล (มค.-ตค. 2540) รพ.ราชวิถี 4.59+1.72
  • 9. LEAD EXPOSURE: risk factors • ปี 2535 สุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ์ และคณะ ทาร่วมกับกระทรวงสาธารณสุข จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และกรุงเทพมหานคร โดยได้รับทุนจาก WHO การศึกษาใน เด็กประถมศึกษาของโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร 6 แห่ง ซึ่งมีจานวนผู้เข้าร่วม การศึกษา 512 คน มีค่าเฉลี่ย 9.26 + 3.68 มคก./ดล. สูงกว่าเด็กนักเรียนสิงห์บุรี และพบว่ามีสัดส่วนของผู้ที่มีระดับตะกั่วสูงกว่า 10 มคก./ดล. ถึงร้อยละ 27.8 (สิงห์บุรีร้อยละ 5.7) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ ปัจจัยเสี่ยงได้แก่เด็กที่อาศัยใน กทม. (6.18), เพศชาย (1.67), อายุน้อย กว่า 9 ปี (1.98), แม่ที่มีอาชีพเป็ นกรรมกร (1.74), รายได้รวมของครอบครัวน้อยกว่า 3,000 บาท/เดือน (2.24), มีสมาชิกในครอบครัวอยู่กันหนาแน่นกว่า 9 คน (2.2), ผู้ที่อยู่ในบ้านเดียวกันที่เกี่ยวข้องกับการพิมพ์ (4.55) และการหลอมตะกั่ว (4.85), เด็กที่ใช้เวลาว่างเล่นอยู่ตามข้างถนน (2.7) หรือสนามเด็กเล่นที่อยู่ติดถนน (1.7), เดินทางไปโรงเรียนโดยการเดิน (1.7) หรือเดินไปลงเรือ (1.6)
  • 10. LEAD EXPOSURE: •ปี 2537สุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ์ และคณะฯ 1) การติดตามผลระดับตะกั่วในเลือดของเด็ก กทม. ที่เกิดที่ รพ.รามาธิบดี (มค. 2536) ตั้งแต่อายุแรกเกิดถึง 2 ปี 84 คน มีค่าตั้งแต่ 4.75 ถึง 5 มคก./ดล. ค่อนข้างคงที่ไม่เพิ่มขึ้นตาม อายุ 2) เมื่อเปรียบเทียบระดับตะกั่วเฉลี่ยของเด็กอายุต่ากว่า 27 เดือน กลุ่ม กทม. จานวน 75 ราย (6.55+2.97 มกค./ดล.) จะพบว่าสูงกว่าเด็กกลุ่มสามพราน จานวน 188 ราย (5.82+5.6 มคก./ดล.) เล็กน้อย และสัดส่วนของผู้มีตะกั่วสูง
  • 11. LEAD EXPOSURE: • ปี 2540 การศึกษาจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย Prapamontol T (พ.ย. 2528-ม.ค. 2540) จานวน 1,000 คน พบว่ามีระดับสูงร้อยละ 4.4 • ปี 2541 การศึกษาจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดยพิมพ์ลักษณ์ เจริญ ขวัญ รายงานค่าเฉลี่ยตะกั่วในเลือดเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 6 ปี ที่มา ตรวจสุขภาพ ณ ร.พ. แห่งนี้ ระหว่าง มิ.ย. 2539-ก.ค. 2541 จานวน 1,000 คน เท่ากับ 4.97 + 3.17 มคก./ดล. และมีร้อยละ 3.9 ที่มี ระดับสูง
  • 12. LEAD EXPOSURE: • ปี 2540 การศึกษาของ สุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ์ในเด็กจานวน 511 คน ที่มาตรวจที่ รพ.รามาธิบดี ระหว่าง พ.ศ. 2536-2539 พบว่าค่าเฉลี่ยของตะกั่วในเลือดในอายุ 2 ปี (4.97+3.04 มคก./ ดล.) มีแนวโน้มว่าระดับตะกั่วในเลือด และสัดส่วนของผู้มีตะกั่วสูงเกิน 10 มคก./ดล. สูงขึ้นตามอายุ จากร้อยละ 1 เป็ น 9, 6, 10, 21, 28 และ 35 เมื่ออายุแรกเกิด 1 ปี , 2 ปี , 1 ½ ปี , 2 ปี , 2-5 ปี , 6-10 ปี และ 11-19 ปี ตามลาดับ การศึกษาในโรงเรียนใกล้ทางด่วนขั้นที่ 2 พบว่าค่าเฉลี่ยตะกั่วใน เด็กนักเรียนอนุบาล 43 คน เท่ากับ 6.80+2.02 มคก./ดล.และ มัธยมศึกษา 377 คน เท่ากับ 9.03+3.65 มคก./ดล.
  • 13. LEAD EXPOSURE: • ปี 2543 การรักษาเด็กที่ห้วยคลิตี้ ทองผาภูมิ จ.กาญจนบุรีที่ได้รับ ผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมที่ปนเปื้ อนสารตะกั่ว โดยมีการติดตามเป็ น ระยะเวลา 3 ปี ตั้งแต่ 2539-2542 ( J Med Assoc Thai 2002 Aug 85 Suppl2 , S762-8) สุรพงษ์ ตันธนศรีกุล บุญนา ชัยวิสุทธิ์ สมเกียรติ ศิริรัตนพฤกษ์ ฉันทนา ผดุงทศ รัต โนทัย พลับรู้การ ธัญญณัฐ บุนนาค ประพันธ์ ภูมิรัตนรักษ์ จุฬธิดา โฉมฉาย
  • 14. LEAD EXPOSURE: risk factors • จุฬธิดา โฉมฉาย และคณะ; พศ. 2548 ศึกษาเด็ก 296 ราย จาก คลองเตย 33 ราย บางกอกน้อย 114 ราย และ จ.กาญจนบุรี 149 ราย พบว่าชุมชนคลองเตยมีการสัมผัสตะกั่ว สูงร้อยละ 12.5 พบปัจจัยเสี่ยงมีสีลอกหลุดในบ้าน การมีพฤติกรรมหยิบชิ้นสี เข้าปาก และภูมิลาเนาของเด็ก สัมพันธ์กับระดับตะกัวในนเลือด • สุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ์, โยเซฟ ซื่อเพียรธรรม; พศ. 2545 เด็กอนุบาลในกทม. 60 คน มีค่าเฉลี่ยตะกั่วในเลือด 6.7 ± 2 มคก./ดล. ปัจจัยเสี่ยงคือ เพศชาย น้าหนักและส่ในสูงตวากใ่า เกณฑ์
  • 15. LEAD EXPOSURE: • ปี 2553 พญ. จันทิมา ใจพันธ์ และ นพ. อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ ศูนย์วิจัย ความ ปลอดภัยในเด็ก รพ รามาธิบดี ได้ศึกษาระดับสาร ตะกั่วในสิ่งแวดล้อม ของศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัย เรียน กทม. 17 ศูนย์ ศูนย์พัฒนาเด็กใช้สีน้ามันทา อาคารภายใน 14 ศูนย์ ในจานวนนี้ 9 ศูนย์หรือ 64.3% มีระดับตะกั่วในสี ทาอาคาร ภายในสูงกว่าค่ามาตรฐานสากล (600ppm) โดยมี ค่าสูงสุด 32,400 ppm พบว่าสีดา สีเหลือง และสีเขียวพบ สารตะกั่วปนเปื้ อนมาก ที่สุด • ปี 2557 พญ.นัยนา ณีศนันท์และคณะ ศึกษาปัจจัยเสี่ยงการได้รับสารตะกั่ว สูงในเด็กศูนย์อพยพ ที่ อ.อุ้มผาง จ. ตาก
  • 16. Tobacco and secondhand smoker •พ.ศ. 2551 โครงการบ้านปลอดบุหรี่ ซึ่ง ศ.นพ. ประกิต วาทีสาธกกิจ เลขาธิการมูลนิธิรณรงค์เพื่อ การไม่สูบบุหรี่เป็ นผู้ริเริ่ม มีกุมารแพทย์เข้าไปร่วม โครงการอย่างต่อเนื่อง คือ พญ. มุกดา หวังวีรวงศ์ สถาบันสุขภาพเด็กฯ และขยายโครงการต่อไปอีก 7 จังหวัดในส่วนภูมิภาค
  • 18. ราชวิทยาลัยกุมารฯ แต่งตั้งผู้เชี่ยวชาญ •กาหนดนโยบาย จุดยืนและ มาตรฐานการประกอบ วิชาชีพเวชกรรมสาขากุมารเวชศาสตร์ •ส่งเสริม สนับสนุนให้เด็กและเยาวชนได้พัฒนาไปตาม ศักยภาพ และพิจารณาแก้ไขปัญหาสาคัญของเด็กใน ชุมชน •ให้ข้อมูลแก่กุมารแพทย์ที่ถูกต้องทันสมัย •ให้ข้อมูลแก่สาธารณชนในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับเด็กและ เยาวชน
  • 19. ผู้เชี่ยวชาญอนุสาขาวิชาอุบัติเหตุและพิษวิทยา พศ. 2542-2545 ประธานราชวิทยาลัย ศ. นพ.วินัย สุวัตถี • พญ.วณิช วรรณพฤกษ์ ประธาน • นพ.วิโรจน์ พงษ์พันธ์เลิศ • พญ.คุณหญิง โชติมา ปัทมานันท์ • นพ. เหลือพร ปุณณกันต์ • พญ. สุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ์ • พญ. รัตโนทัย พลับรู้การ • พญ.บุญสม ผลประเสริฐ • นพ. พลเลิศ พันธ์ธนากุล • นพ.วิโรจน์ อารีย์กุล • พญ.จุฬธิดา กรีทอง
  • 20. กลุ่มผู้เชี่ยวชาญอนุสาขาวิชาอุบัติเหตุและพิษวิทยาพศ. 2545 ประธานราชวิทยาลัย ศ. นพ.สมศักดิ์ โล่ห์เลขา •พญ.วณิช วรรณพฤกษ์ ประธาน •พญ. สุวรรณา เรืองกาญจนเศรษฐ์ •นพ. พลเลิศ พันธ์ธนากุล •พญ. รัตโนทัย พลับรู้การ
  • 21. GUIDELINE MANAGEMENT OF LEAD EXPOSURE IN CHILDREN พศ. 2545
  • 22.
  • 23.
  • 26. ด้านสภาพแวดล้อมในการดารงชีวิต 1. ภาวะมลพิษเพิ่มขึ้น 2. ชุมชนแออัดเพิ่มขึ้น - 1,587 ชุมชนใน พ.ศ. 2537  2,696 ชุมชน ใน พ.ศ. 2549 3. พื้นที่สาธารณะเพื่อการนันทนาการเด็ก และเยาวชน มีค่าเฉลี่ย 10.93 ต่อ ประชากรแสนคน 4. พื้นที่เสี่ยงมีค่าเฉลี่ย 29.0 ต่อประชากร แสนคน 5. เยาวชนอยู่ในสภาพแวดล้อมไม่ดี - เข้าถึงแหล่งซื้อบุหรี่ภายในเวลา 7 นาที - เข้าถึงร้านเกมอินเทอร์เน็ต ภายในเวลา 12 นาที - แหล่งการพนันภายใน 15 นาที - แหล่งซื้อขายซีดี ดีวีดีลามก สถานบันเทิงและสถานบริการ ทางเพศภายใน 30 นาที การเปลี่ยนแปลงด้านสภาพแวดล้อมในการดารงชีวิต ที่มา : ปาณบดี เอกะจัมปกะ และ นิธิศ วัฒนมะโน 17 กันยายน 2551
  • 27. ด้านครอบครัว การเปลี่ยนแปลงด้านครอบครัว ผลกระทบต่อสุขภาวะเด็กไทย 1. การหย่าร้างมากขึ้น 3.4 คู่ต่อ พันครัวเรือน ใน พ.ศ. 2539  4.9 คู่ต่อพันครัวเรือนใน พ.ศ. 2549 1. เด็กถูกทอดทิ้งเพิ่มมากขึ้น พ.ศ. 2536 จาก 30.33 ต่อ เด็กแสนคน 48.49 ต่อเด็กแสนคนใน พ.ศ.2549 ส่งผลให้ - เด็กไม่ได้รับการดูแลเรื่องอาหารและสุขภาพ ทาให้ มี ปัญหาสุขภาพ เช่น สุขภาพจิต ปัญหาทุพโภชนาการ ฯลฯ 2. ดัชนีความอบอุ่นของครอบครัว ไทยลดลงจากร้อยละ 67.8 ใน พ.ศ. 2546 58.7 ใน พ.ศ. 2549 2. เด็กมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมและถูกดาเนินคดีเพิ่มขึ้น - เด็ก 7-18 ปี ถูกดาเนินคดีเรื่องยาเสพติด ร้อยละ 35.1 ใน พ.ศ. 2541-2550 3. เวลาที่ใช้ดูแลสมาชิกใน ครัวเรือนเฉลี่ยวันละ 2.2-3.2 ชั่วโมง 3. ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการทารุนแรง ทั้งการทาร้าย ตนเองและทาร้ายกัน ในเด็กวัย 0-4 ปี และ 5-14 ปี คิดเป็ น มูลค่า 9-23 ล้านบาท ที่มา : ปาณบดี เอกะจัมปกะ และ นิธิศ วัฒนมะโน 17 กันยายน 2551
  • 28. แสดงลักษณะการเสียชีวิตจากการติดค้างของศีรษะ (head entrapment) ในช่องว่างที่มีความกว้างกว่า 6 เซนติเมตรในเตียงเด็กทารก แสดงการติดค้างของศีรษะในช่องว่างระหว่างเตียงกับกาแพงหรือเตียงกับ เฟอร์นิเจอร์อื่น ที่มา : อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ และคณะ 17 กันยายน
  • 29. 13.72 13.58 11.55 12.76 14.74 14.20 12.53 10.50 8.11 7.02 5.88 4.92 4.34 4.16 0 2 4 6 8 10 12 14 16 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 อัตราการตายจากการจมน้าในเด็กอายุ 1-14 ปี (/100000) (/100000) อัตราการตายจากการจมน้า (/100000) ในเด็กอายุ 1- 14 ปี ที่มา : อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์ และคณะ 17 กันยายน 2551
  • 30. เด็กถูกทารุณกรรม ละเลยทอดทิ้ง 2.7 ล ้านคน/ปี เด็กกาพร ้าและถูกทอดทิ้ง 700-800 คน/ปี เด็กอาศัยในสลัม 2 ล ้านคน แรงงานเด็ก 1 ล ้านคน เด็กกระทาผิด 50,000 คน เด็กพิการ 66,585 คน เด็กติดเชื้อ HIV 3500 คน บิดามารดาติดเชื้อ HIV 500,000 คน เด็กต่างชาติ (<15 ปี) 93,000 คน เด็กยากจน 2.1 ล ้านคน เด็กเร่ร่อน 13,000 คน เด็กไร ้รัฐ ? ความยากจน การขาดโอกาส ครอบครัวล่มสลาย ความรุนแรง ด ้อยการศึกษา ที่มา : ศรีเวียง ไพโรจน์กุล และคณะ 17 กันยายน 2551