SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 611
Descargar para leer sin conexión
พจนานุกรมพุทธศาสน
ฉบับประมวลศัพท
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)
(ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑)
พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท
© พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)
ISBN 974-575-029-8
พิมพครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๒๒ จํานวน ๑,๕๐๐ เลม
– งานพระราชทานเพลิงศพ พระครูปลัดสมัย กิตฺติทตฺโต เจาอาวาสพระพิเรนทร
พิมพครั้งที่ ๒ (เพิ่มศัพทและปรับปรุง) พ.ศ. ๒๕๒๗ จํานวน ๙,๔๐๐ เลม
พิมพครั้งที่ ๓ (เพิ่มภาคผนวก) พ.ศ. ๒๕๒๘ จํานวน ๕,๐๐๐ เลม
– พิมพถวายมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดย “ทุนพิมพพจนานุกรมพุทธศาสน”
พิมพครั้งที่ ๔–๙ พ.ศ. ๒๕๓๑–๒๕๔๓ จํานวน ๓๑,๕๐๐ เลม
พิมพครั้งที่ ๑๐ พ.ศ. ๒๕๔๖ (จัดเรียงพิมพใหมดวยระบบคอมพิวเตอร)
ขนาดตัวอักษรธรรมดา ๕,๐๐๐ เลม และขนาดตัวอักษรใหญ ๕,๐๐๐ เลม
พิมพครั้งที่ ๑๑ - มีนาคม ๒๕๕๐ มิถุนายน ๒๕๕๑ (ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑)
– คณะผูศรัทธารวมกันจัดพิมพเปนธรรมทาน จํานวน ๑๐,๐๐๐ เลม
พิมพที่
อนุโมทนา
พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ที่พิมพแจกเผื่อแผกันออกไปในครั้ง
กอน มาถึงบัดนี้ กลาวไดวาไมมีเหลือที่จะมอบใหแกผูใด กลายเปนของหายากอยาง
ยิ่ง ผูศรัทธามากหลายทาน จึงประสงคจะพิมพพจนานุกรมฯ ฉบับนั้นเพิ่มขึ้น เพื่อใช
ศึกษาคนควาเองหรือใชศึกษาในกลุมในหมูของตนบาง เพื่อแจกเปนธรรมทาน เปน
การเผยแพรสงเสริมความรูความเขาใจในพระพุทธศาสนาใหกวางขวางเพิ่มทวียิ่งขึ้น
บาง ดังเปนที่ทราบกันวา ไดมีการรวมกลุมบอกแจงบุญเจตนารวมกันไว โดยมี
อาจารยวิไลวรรณ เวชชาชีวะ เปนศูนยกลาง และตอมา ไดมีกลุมที่รวมขาวทางคุณ
กานดา อารยางกูร และคุณบุบผา คณิตกุล มาประสานเสริม จึงเพิ่มจํานวนผูจะ
บําเพ็ญธรรมทานมากขึ้นๆ
แมกระนั้น ญาติโยมผูศรัทธาก็ไมอาจดําเนินการอะไรคืบหนา เพราะทางดาน
ตัวผูเรียบเรียงเองเงียบอยู ไมรูกัน จนกระทั่ง เมื่อทราบขาววาผูเรียบเรียงกําลังชําระ
เพิ่มเติมพจนานุกรมเลมนั้นอยู ผูศรัทธา ซึ่งปรารถนาจะพิมพ พจนานุกรมพุทธ-
ศาสตร ฉบับประมวลธรรม ดวย ก็ไดตกลงกันวาจะรอพิมพพจนานุกรมทั้งสองเลม
พรอมในคราวเดียวกัน
ในที่สุด เวลาผานไป ๒-๓ ป บัดนี้ พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท
ผานการชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑ เสร็จแลว หนังสือกลายเปนเลมหนาใหญ มีเนื้อความ
เพิ่มขึ้นมากมาย ถึงโอกาสที่จะดําเนินการพิมพเผยแพรตามบุญเจตนาที่ไดตั้งไว
ขออนุโมทนาฉันทะในธรรมและไมตรีจิตตอประชาชน ของทานผูศรัทธาที่ใฝใน
ธรรมทานบุญกิริยา อันเปนเครื่องเจริญธรรมเจริญปญญาแกประชาชน หวังไดวา
ธรรมทานของผูศรัทธา จะเปนสวนชวยดํารงรักษาสืบตออายุพระพุทธศาสนา และ
เปนปจจัยเสริมสรางประโยชนสุขใหแผขยายกวางไกลออกไปในโลก ขอใหผูบําเพ็ญ
กุศลจริยานี้ พรอมญาติมิตรทั้งปวง เจริญดวยจตุรพิธพรชัย รมเย็นในธรรม มีความสุข
เกษมศานตยั่งยืนนานทั่วกัน
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)
๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๑
บันทึกนํา - พิมพครั้งที่ ๑๑
(ฉบับ “ชําระเพิ่มเติม ชวงที่ ๑”)
หนังสือนี้เกิดขึ้น ๒๙ ปมาแลว เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๒ เดิมทีนั้นมุงใหเปนงานสําหรับใชไปพลาง โดยพัก
งานพจนานุกรมเดิมที่เริ่มมาแต พ.ศ. ๒๕๐๖ ไวกอน (มีความเปนมาดังไดเลาไวตางหาก) และเปนงานเรงดวน
เฉพาะหนา เพื่อเปนอนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพทานอาจารยพระครูปลัดสมัย กิตฺติทตฺโต อดีตเจา
อาวาสวัดพระพิเรนทร ทําไวเพียงเปนขอมูลพื้นฐาน สําหรับผูเรียนนักธรรม และผูแรกศึกษา จึงตั้งชื่อวา
พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับครู นักเรียน นักธรรม พรอมกับหวังวาจะหาโอกาสปรับปรุงและเพิ่มเติมตอไป
บัดนี้ งานพจนานุกรมเดิมที่เริ่มแตป ๒๕๐๖ ซึ่งพักไว ไดกลายเปนพับไปแลว สวน พจนานุกรมพุทธ
ศาสน ฉบับประมวลศัพท นี้ (เปลี่ยนเปนชื่อปจจุบันเมื่อพิมพครั้งที่ ๒ ใน พ.ศ.๒๕๒๗ เพื่อเขาชุดกับ
พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม ที่ไดเกิดขึ้นกอนตั้งแต พ.ศ.๒๕๑๘) ยังเปนเพียงขอมูลพื้นฐาน
อยูอยางเดิม จนกระทั่งตนปที่แลว เดือนมกราคม พ.ศ.๒๕๕๐ ผานเวลามา ๒๘ ป บังเอิญผูเรียบเรียงเกิดมีโรค
แทรกที่คอนขางยืดเยื้อ ก็เลยไดมีเวลาและโอกาสหันไปรื้อฟนงานเพิ่มเติมพจนานุกรมนี้ แตกระนั้น ก็กลาย
เปนงานยืดเยื้อ มีงานอื่นมาแยงเวลาไปเสียมาก ถึงขณะนี้ ๑ ปครึ่ง จึงยุติที่จะพิมพเผยแพรไปคราวหนึ่งกอน
งานปรับปรุงและเพิ่มเติมนี้ ในที่นี้ เรียกวา การชําระ-เพิ่มเติม เปนงานใหญ ยากจะทําใหเต็มตาม
ตองการ จึงไดแบงงานนั้นเปน ๓ ชวง ดังนี้
การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑: แกไขปรับปรุงขอขาดตกบกพรองที่พบเฉพาะหนา โดยเฉพาะสวนหลงตา
ที่บังเอิญพบ และเพิ่มเติมคําศัพทและคําอธิบายที่รีบดวน หรือบังเอิญนึกได รวมทั้งศัพทที่บันทึกไวระหวางเวลาที่
ผานมา (เลือกทําเฉพาะคําที่ไมซับซอนนัก) และบางคําที่ทานผูใชไดมีน้ําใจแจงมาวาเจอคําผิดหรือคนหาไมพบ
การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๒: อาน-ตรวจตลอดเลม เพื่อจะไดมองเห็นคําพิมพผิด คําตก จุดและแงที่
จะแกไข-ปรับปรุง-เพิ่มเติมทั่วทั้งหมด พรอมทั้งจัดปรับคําอธิบายศัพททั้งของเดิมและสวนที่เพิ่มเติม ใหเขา
มาตรฐานเดียวกัน ทั้งในแงการแสดงความหมาย วิธีอธิบาย และอัตราสวนความยาวที่สัมพันธกับความสําคัญ
ของศัพทนั้นๆ
การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๓: มุงที่การจัดระบบ เพื่อใหสม่ําเสมอ กลมกลืน เปนแบบแผนอันเดียวกัน
และทั่วกัน เชน มีคําอาน บอกที่มาในคัมภีร แสดงคําเดิมในภาษาบาลีและสันสกฤต และถาเปนไปได ใหคํา
แปลภาษาอังกฤษของศัพทตั้งหรือหัวศัพท พรอมทั้งแผนที่และภาพประกอบ
บัดนี้ ถือวาเสร็จงาน ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑ เนื้อหนังสือขยายจากเดิมเพิ่มขึ้น ๒๐๔ หนา (จาก ๓๗๖
หนา เปน ๕๘๐ หนา) มีศัพทที่ปรับแกเพิ่มเติมประมาณ ๑,๑๐๐ คํา แตพรอมกับที่มีศัพทและคําอธิบายเพิ่มขึ้น
เปนอันมาก ก็เกิดความไมสมดุลขึ้น เพราะวา ในขณะที่ศัพทเพิ่มใหม และศัพทที่ปรับปรุง (เชน ปริตร, ภาณ
ยักษ, มานะ) มีคําอธิบายยืดยาว ดังจะเปนสารานุกรม แตคําเกาที่มีอยูเดิมสวนใหญมีคําอธิบายสั้นนิดเดียว
ทั้งนี้ ขอใหถือวาคงใชตอไปพลางกอน และใหความเรียบรอยราบรื่นเปนเรื่องของการชําระ-เพิ่มเติม
ชวงที่ ๒ และ ชวงที่ ๓ ที่อาจจะมีขางหนา
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)
๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๑
ความเปนมา
ในการ “ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑”: ม.ค. ๒๕๕๐ - มิ.ย. ๒๕๕๑
ก) งานในโครงการ ชะงัก-หายไป
ยอนหลังไปถึง พ.ศ.๒๕๐๖ เมื่อหนังสือ Student’s Thai–Pali–English Dictionary of
Buddhist Terms เลมเล็กๆ เสร็จแลว ผูจัดทําหนังสือนี้ ก็ไดเริ่มงานพจนานุกรมพระพุทธศาสนา
งานคางที่ ๑: เริ่มแรก คิดจะทําพจนานุกรมพระพุทธศาสนาเชิงสารานุกรม ฉบับที่คอนขาง
สมบูรณเลยทีเดียว มีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยเขียนแยกเปน ๒ คอลัมน ซาย-พากยไทย
และ ขวา-พากยอังกฤษ เริ่ม ๒๙ ก.ย. ๒๕๐๖ ถึง ๑๒ พ.ย. ๒๕๐๗ จบอักษร “บ” (ยังคางชําระ
บางคํา) ตองเขารับงานที่มหาจุฬาฯ แลวยุงกับงานที่นั่น จนงานพจนานุกรมชะงักแลวหยุดไปเลย
งานคางที่ ๒: เมื่อเห็นวายากจะมีโอกาสทํางานคางนั้นตอ จึงคิดใหมวาจะทําฉบับที่มีเพียงพากย
ไทย อยางยนยอ โดยมีภาษาอังกฤษเฉพาะคําแปลศัพทใสวงเล็บหอยทายไว แลวเริ่มงานใน พ.ศ.-
--- แตงานที่มหาจุฬาฯ มาก พอทําจบ “ต” ก็ตองหยุด (ตนฉบับงานชุดนี้ทั้งหมดหายไปแลว)
(ระหวางนั้น ในป ๒๕๑๕ โดยคํานิมนตของทานเจาคุณเทพกิตติโสภณ ครั้งยังเปนพระมหา
สมบูรณ สมฺปุณฺโณ ตกลงทําประมวลหมวดธรรมออกมาใชกันไปพลางกอน ทําใหเกิดพจนานุกรม
พุทธศาสตร[ตอมาเติมคําวา ประมวลธรรม]เสร็จเปนเลม ใน พ.ศ. ๒๕๑๘)
งานคางที่ ๓: ใน พ.ศ.๒๕๑๙ ไปเปนวิทยากรที่ Swarthmore College เมื่อกลับมาในป ๒๕๒๑
ตั้งใจหยุดงานอื่นทั้งหมดเพื่อจัดทําสารานุกรมพุทธศาสนาโดยเริ่มตนใหมทําเฉพาะพากยภาษาไทย มี
ภาษาอังกฤษเพียงคําแปลศัพทในวงเล็บหอยทาย พอใกลสิ้นป ๒๕๒๑ ก็จบ “ก” รวมได ๑๐๕ หนา
กระดาษพิมพดีด และขึ้น “ข” ไปไดเล็กนอย แลวหันไปทําคําเกี่ยวกับประวัติเสร็จไปอีก ๘๐ หนา
ตนป ๒๕๒๒ นั้นเอง ศาสตราจารย ดร.ระวี ภาวิไล จะพิมพพุทธธรรม ไดขอเวลาทานเพื่อ
เขียนเพิ่มเติม แลวการไปบรรยายที่ Harvard University มาแทรก กวาจะเติมและพิมพเสร็จ สิ้น
เวลา ๓ป งานทําพจนานุกรม-สารานุกรมเปนอันหยุดระงับไป จากนั้นงานดานอื่นเพิ่มขึ้นตลอดมา
ข) งานใหมนอกสาย แตเสร็จ: พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท
๑. ยุคพิมพระบบเกา
ตนป ๒๕๒๒ นั้นแหละ เมื่อเห็นวาคงไมมีโอกาสฟนงานที่คาง ก็นึกถึงหนังสือ ศัพทหลัก
สูตรภาษาไทย (สําหรับวิชาใหมในหลักสูตรนักธรรม) ที่มหาจุฬาฯ พิมพออกมาใน พ.ศ.๒๕๐๓ ซึ่ง
แทบจะยังไมทันไดเผยแพร วิชาใหมนั้นก็ถูกยกเลิกเสีย จึงพบหนังสือชุดนั้นเหลือคางถูกทอดทิ้ง
อยูมากมาย เห็นวา มีขอมูลพอจะทําเปนพจนานุกรมเบื้องตนได อยางนอยหัวศัพทที่มีอยูก็จะทุน
แรงทุนเวลาในการเก็บศัพทไปไดมาก จึงตกลงทํางานใหมชิ้นที่งายและรวบรัด โดยนําหนังสือชุดนั้น
ทั้ง ๓ เลม รวม ๙ ภาค (ศัพท น.ธ.ตรี–โท–เอก ชั้นละ ๓ วิชา จึงมีชั้นละ ๓ ภาค) มาจัดเรียงเปน
ค
พจนานุกรมเบื้องตนเลมเดียว พิมพออกมากอน ในงานพระราชทานเพลิงศพทานอาจารยพระครูปลัด
สมัย กิตฺติทตฺโต (๑๙ พ.ค. ๒๕๒๒) เรียกชื่อวา พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับครู นักเรียน นักธรรม
(เปลี่ยนเปนชื่อปจจุบันวาพจนานุกรมพุทธศาสนฉบับประมวลศัพท เมื่อพิมพครั้งที่๒พ.ศ.๒๕๒๗)
หนังสือใหมเลมนี้ไมเกี่ยวของกับงานที่ทํามาแลวแตอยางใด งานเกาที่ทําคางไวทั้งหมดถูกพัก
เก็บเฉยไว เพราะในกรณีนี้ มุงสําหรับผูเรียนขั้นตน โดยเฉพาะนักเรียนนักธรรม ตองการเพียงศัพท
พื้นๆ และความหมายสั้นๆ งายๆ จึงคงขอมูลสวนใหญไวตามหนังสือศัพทหลักสูตรภาษาไทยนั้น
โดยแกไขปรับปรุงอธิบายเพิ่มหรือเขียนขยายบางเพียงบางคํา และเติมศัพทนักธรรมที่ตกหลนและ
ศัพททั่วไปอันควรรูที่ยังไมมี เขามาบาง รวมแลว เปนขอมูลของเกากับของใหมราวครึ่งตอครึ่ง
หลังจากพิมพออกมาแลว พจนานุกรมเลมนี้ก็มีชะตากรรมที่ขึ้นตอระบบการพิมพยุคนั้น
โดยเฉพาะตนแบบซึ่งอยูในแผนกระดาษที่ตายตัว แทบปรับเปลี่ยนอะไรไมไดเลย การพิมพครั้ง
ตอๆ มา ตองพิมพซ้ําตามตนแบบเดิม ถาจําเปนตองแกไข ก็แกไดเพียง ๔–๕ บรรทัด ยิ่งตอมา
แผนกระดาษตนแบบก็ผุเปอย โดยเฉพาะพจนานุกรมนี้ ตนแบบที่ทําขึ้นใหมในการพิมพครั้งที่ ๒
ไดสูญหายไปตั้งแตพิมพเสร็จ การพิมพตอนั้นมาตองใชวิธีถายภาพจากหนังสือที่พิมพครั้งกอนๆ
แตกระนั้น พจนานุกรมนี้ยังมีศัพทและคําอธิบายที่จะตองเพิ่มอีกมาก เมื่อแกไขของเดิมไม
ได พอถึงป ๒๕๒๘ จะพิมพครั้งที่ ๓ จึงใสสวนเพิ่มเขามาตางหากตอทายเลมเปน “ภาคผนวก” (มี
ศัพทตั้งหรือหัวศัพทเพิ่ม ๑๒๔ ศัพท รวม ๒๔ หนา) จากนั้นมา ก็ไดแคพิมพซ้ําเดิมอยางเดียว
๒. เขาสูยุคขอมูลคอมพิวเตอร
เมื่อเวลาผานมาถึงยุคคอมพิวเตอร ก็มองเห็นทางวาจะแกไข–ปรับปรุง–เพิ่มเติมพจนานุกรม
นี้ได แตก็ตองรอจุดตั้งตนใหม คือพิมพขอมูลพจนานุกรมในเลมหนังสือ ลงในคอมพิวเตอร
แมจะตองใชเวลาและแรงงานมาก ก็มีทานที่สมัครใจเสียสละ ไดพิมพขอมูลหนังสือ
พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ลงในคอมพิวเตอร โดยมิไดนัดหมายกัน เทาที่ทราบ ๔ ชุด
เริ่มดวยพระมหาเจิม สุวโจ แหงมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ที่ทํางานอยูหลายปจนเตรียมขอมูล
เสร็จแลวมอบมาใหเมื่อวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๑ แลวก็มีชุดของผูอื่นตามมาอีก
ทั้งที่มีขอมูลในคอมพิวเตอรแลว ผูจัดทําเองก็ไมมีเวลาตรวจ เวลาผานมาจนกระทั่ง รศ. ดร.
สมศีล ฌานวังศะ ราชบัณฑิต (มีบุตรหญิง–ชาย คือ น.ส.ภาวนา ตั้งแตยังเปน ด.ญ.ภาวนา ฌานวังศะ
และนองชาย คือ นายปญญา ตั้งแตยังเปน ด.ช.ปญญา ฌานวังศะ เปนผูชวยพิมพขอมูล) นอกจาก
พิมพขอมูลหนังสือลงในคอมพิวเตอรแลวยังชวยรับภาระในการพิสูจนอักษร(ตรวจปรูฟ)ตลอดเลม
นอกจากตรวจเองแลว ก็ยังหาพระชวยตรวจทานอีก ใหแนใจวาขอมูลใหมในระบบคอมพิวเตอรนี้
ตรงกับขอมูลเดิมในเลมหนังสือ แลวในที่สุด พจนานุกรมนี้ก็พิมพเสร็จออกมาใน พ.ศ. ๒๕๔๖
เนื่องจากผูจัดทําเองยังไมมีเวลาแมแตจะตรวจปรูฟ พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวล
ศัพท พิมพครั้งที่ ๑๐ ที่เสร็จออกมาในพ.ศ.๒๕๔๖ ซึ่งเปนครั้งแรกที่ใชขอมูลในระบบคอมพิวเตอร
จึงมีหลักการทั่วไปวา ใหคงเนื้อหาไวอยางเดิมตามฉบับเรียงพิมพเกายังไมปรับปรุงหรือเพิ่มเติม
ง
ค) งานเริ่มเขาทาง: ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑
๑. ผานไป ๒๘ ป จึงถึงทีชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑
บัดนี้ เวลาผานไป ๒๙ ปแลว นับแตพิมพ พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ออก
มาครั้งแรก ใน พ.ศ. ๒๕๒๒ ขอมูลสวนใหญในพจนานุกรมนั้น ยังเปนขอมูลพื้นฐานที่ตั้งใจวาจะ
ชําระ-เพิ่มเติม แตก็ขัดของตลอดมา
ในชวง ๒๔ ปแรก ติดขัดดวยระบบการพิมพไมเอื้อแลวความบีบคั้นดานเวลาก็ซ้ําเขาไป สวน
ในชวง ๔ ปที่ชิดใกลนี้ ทั้งที่มีขอมูลสะดวกใชอยูในคอมพิวเตอร ก็ติดขัดดวยขาดเวลาและโอกาส
จนมาถึงขึ้นปใหม๒๕๕๐นี้ เมื่อหาโอกาสปลีกตัวจากวัด พอดีโรคทางเดินหายใจกําเริบขึ้นอีก
คออักเสบลงไปถึงสายเสียง พูดยากลําบาก ตอดวยกลามเนื้อยึดสายเสียงอักเสบ โรคยืดเยื้อเกิน ๒ เดือน
ไดไปพักรักษาตัวในชนบทนานหนอย เปนโอกาสใหไดเริ่มงานชําระ-เพิ่มเติมพจนานุกรม แตในขั้นนี้
เรงทําเฉพาะสวนรีบดวนและสวนที่พบเฉพาะหนาใหเสร็จไปชั้นหนึ่งกอน เรียกวา “งานชําระ-เพิ่ม
เติม ชวงที่ ๑” คิดวาลุลวงไปไดทีหนึ่ง คงจะปดงานจัดใหพรอมเพื่อเขาโรงพิมพไดทันกอนโรคจะหาย
แตแลวก็ไมเปนไปอยางนั้น จึงมีเรื่องตองเลาตออีก
๒. อะไรมากับ และจะมาตาม การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑
งานชําระ-เพิ่มเติมนี้ คือการทําให พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท มีคุณสมบัติ
เต็มตามความมุงหมาย เพราะหนังสือที่พิมพเรื่อยมานั้น จัดทําขึ้นอยางรวบรัดเพื่อพอใชไปพลาง
กอน เพียงเปนขอมูลพื้นฐานอยางที่กลาวแลว (มีบางบางคําที่มีโอกาสขยายความไปกอนแลว)
เนื่องจากตระหนักวา จะไมมีโอกาสทํางานชําระ-เพิ่มเติมอยางตอเนื่องใหเสร็จสิ้นไปในคราว
เดียว จึงกะวาจะแบงงานนี้เปน ๓ ชวง สําหรับชวงที่ ๑ คิดวาเพียงจะแกไขปรับปรุงขอขาดตกบก
พรองที่พบเฉพาะหนา โดยเฉพาะสวนหลงตาที่บังเอิญพบ และเพิ่มเติมคําศัพทและคําอธิบายที่รีบ
ดวน หรือบังเอิญนึกได เสร็จแลวก็พิมพออกไปทีหนึ่งกอน งานปรับปรุงนอกจากนั้น เอาไวทําใน
ชวงที่ ๒ และ ชวงที่ ๓
อยางไรก็ดี เมื่อตกลงยุติงานชวงที่ ๑ วาพอเทานี้กอน (๑๖มี.ค.๒๕๕๐) พอดีไดอานจดหมาย
ของพระมหานิยม สีลสํวโร (เสนารินทร) ที่สงมาตั้งแต ๑๘ พ.ย. ๒๕๔๗ ก็มองเห็นวา ทานแจงคํา
ผิด-ตก ที่สําคัญ แมจะมากแหง ก็ใชเวลาแกไขไมมาก จึงทําใหเสร็จไปดวยในคราวนี้ รวมเพิ่มที่แก
ไขอีกราว ๕๐ แหง อีกทั้งไดเห็นชัดวา ดวยฉันทะของทานเอง พระมหานิยมตรวจพจนานุกรม โดย
เทียบกับเลมเดิมที่เปนตนฉบับไปดวยนี้ ทานใชเวลาอานจริงจังละเอียด จนทําใหคิดวา ในการ
ชําระ-เพิ่มเติมชวงที่ ๒ ที่จะอานอยางตรวจปรูฟตลอดดวยนั้น งานสวนนี้คงเบาลงมาก จะไดมุงไป
ที่งานเพิ่มเติม-ปรับปรุงทั่วไป จึงขออนุโมทนาพระมหานิยม สีลสํวโร ไว ณ ที่นี้
พอจะปดงาน หันมาดูรายการศัพทที่พระธรรมรักษาแจงมาตั้งแต ๑๔ ธ.ค.๒๕๒๘ จนถึง ก.ค.
๒๕๒๙วาไมพบในพจนานุกรมฯรวมได๒๘คําเปนศัพทในอรรถกถาชาดกแทบทั้งนั้นเห็นวานาจะทํา
ใหเสร็จไปดวยเลย จึงตัดคํานอกขอบเขตออกไป ๖ ศัพท (๑๙ หัวศัพทที่ทําเพิ่มตามเสนอของพระ
จ
ธรรมรักษาคือจุลกฐิน ฉาตกภัย ธุวภัต นิพัทธทาน บุพจริยา ประชุมชาดก ปาฏิหาริยปกษ พาหิรทาน
พาหิรภัณฑ วิตถารนัย สัตตสดกมหาทาน สัมมานะ สาธุกีฬา สุคโตวาท อธิคมธรรม อภิสัมพุทธคาถา
อสทิสทาน อุปทวะ อุยยานบาล, อุทยานบาล) แลวแถมเองอีกประมาณ ๒๐ คํา ใชเวลาคน-เขียนจน
เสร็จอีก ๔ วัน (ของพระมหานิยมราว ๕๐ ศัพท ทานตรวจใชเวลามากมาย แตเปนการแกคําที่พิมพ
ผิด-ตก จึงใชเวลาเพียง ๖.๔๐ ชม. ก็เสร็จ สวนของพระธรรมรักษา แจงคําที่ไมเจอ แมจะนอย ทําแค
๑๙ หัวศัพทแตตองเขียนเพิ่มใหม จึงใชเวลามาก) ขออนุโมทนาพระธรรมรักษาดวย
มีจุดหนึ่งซึ่งการแกปญหาคอนขางซับซอน คือ คํา “อสิตดาบส” ที่ไดรับความเอื้อเฟอจาก รอง
ศาสตราจารย ดร.ภัทรพร สิริกาญจน แจงใหทราบวา ทานที่ทํางานวิชาการ ทั้งฝายผูเสนองาน และ
ฝายผูพิจารณางาน ประสบความติดของ เพราะหลักฐานชั้นตนกับเอกสารอางอิง มีขอมูลขัดแยงกัน
ใบแจงของ ดร.ภัทรพร สิริกาญจน ชวยทําใหเอะใจและไดตรวจสอบขอมูล ซึ่งไดแกปญหาดวยวิธี
บอกขอมูลไปตามที่เปนของแหลงนั้นๆ โดยไมวินิจฉัย ขออนุโมทนาทานผูแจง เปนอยางยิ่ง
เมื่องานปรับแกเพิ่มเติมดําเนินมาถึงวันที่๒๔มีนาคม๒๕๕๐มีศัพทตั้งที่เพิ่มขึ้นและที่มีความ
เปลี่ยนแปลงราว ๓๑๗ หัวศัพท (ไมนับการแกคําผิด-ตก ที่พระมหานิพนธชวยแจงมาราว ๕๐ แหง)
หนังสือหนาเพิ่มขึ้น ๔๘ หนา (จากเดิม ๓๗๖ หนา เปน ๔๒๔ หนา) คิดวาจะยุติเทานี้และสงโรงพิมพ
อยางไรก็ดี เมื่อเหลือบไปดูในหนังสือที่พิมพรุนเกา พ.ศ.๒๕๒๗ ซึ่งใชเปนที่ทยอยบันทึกศัพท
ที่นึกขึ้นมาวาควรเพิ่มหรือควรปรับปรุง ก็ไดเห็นวาบางศัพทนาจะเติมลงไปในคราวนี้ดวย ก็เลยรอเพิ่ม
อีกหนอย พอทําคํานี้เสร็จ เห็นวาคํานั้นก็นาทํา ก็เติมอีกหนอย แลวมีงานอื่นที่เรงแทรกเขามาเปน
ระยะๆ รวมแลวงานอื่นแทรกราว๘เดือน และมีเวลาทํายืดมาราว๖ เดือน ทําไปทํามาก็ยุติลงในบัดนี้
การแกไขและเพิ่มเติมทั้งหมดนี้ เปนการทําเปนจุดๆ มุงจําเพาะไปที่จุดนั้นๆ จึงยังไมไดตรวจดู
ทั่วตลอดทั้งเลม การแกคําที่พิมพผิดและการเพิ่มศัพทใหมจํานวนมาก เปนเรื่องที่มาจากความบังเอิญ
พบบังเอิญเห็น เชน จะดูคํา “สรณคมน” วาควรอธิบายเพิ่มเติมหรือไม พอดีเหลือบไปเห็นคํา
“สรภัญญะ” ซึ่งอยูใกลๆ ทั้งที่ไมไดนึกไววาจะทําอะไรกับคํานี้เลย แตพอเห็นวาไดใหความหมายไวสั้น
นัก ก็เลยเขียนอธิบายใหมอยางคอนขางยาว, จะอธิบายคําวา “ภาณวาร” ใหชัดขึ้น ก็พลอยนึกถึงคําวา
“ภาณยักษ” ดวย ทั้งที่เดิมไมมีคํานี้ และไมไดตั้งใจมาแตเดิม ก็เลยบรรจุ “ภาณยักษ” เขามาดวย และ
อธิบายเสียยาว, คําวา “ถวายพรพระ” “คาถาพาหุง” “ชัยมงคลคาถา” ฯลฯ ก็เขามาโดยบังเอิญทํานองนี้
แมคําที่พิมพผิด ซึ่งยังไมไดตั้งใจจะตรวจปรูฟ ก็พบโดยบังเอิญและแกไปมากมาย แมกระทั่ง
เมื่อหนังสือใกลจะเสร็จ เชน จะเติมขอความ ๑ บรรทัดวา “ศาสนวงศ ดู สาสนวงส” ตอนนั้นจะตอง
รักษาใหขอความบรรทัดแรกและบรรทัดสุดทายของหนานั้นคงอยูที่เดิม จึงตองลดบรรทัดในหนานั้น
ลง ๑ บรรทัด ทําใหตองอานหาคําศัพทในหนานั้นซึ่งมีคําอธิบายที่พอจะบีบใหบรรทัดนอยลง ก็เลย
เจอโดยบังเอิญวา ที่คํา “ศีล ๘” มีขอความวา “จะรักษาประจําใจก็ได” เกิดความสงสัยวา ไมนาจะมี
“ใจ” จึงเปดหนังสือเกาสมัยปกสีสมดู พบวามีแต “ประจํา” จึงไดแกโดยตัด “ใจ” ออกไป หรืออยาง
เมื่อตรวจดูความเรียบรอยของหัวศัพทที่ขึ้นไปปรากฏบนหัวกระดาษ ก็ทําใหบังเอิญพบหัวศัพทที่พิมพ
ผิด “สปทาจาริกังคะ” (สปทานจาริกังคะ) และ “อปโลกนธรรม” (อปโลกนกรรม) จึงไดแกใหถูกตอง
ฉ
๓. การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑ ทําใหมีความเปลี่ยนแปลงอะไร
การชําระ-เพิ่มเติมชวงที่ ๑ นี้ ถือวายุติลงในวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๑ ไดทําให
พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท มีศัพทที่เพิ่มขึ้นและที่มีความเปลี่ยนแปลงรวม
ประมาณ ๑,๑๐๐ หัวศัพท กลายเปนเพิ่มอีก ๒๐๔ หนา (จากเดิม ๓๗๖ หนา เปน ๕๘๐ หนา)
หัวศัพท ที่มีการปรับแก และที่เพิ่มใหมในระยะ ๒ เดือนแรก มี ตัวอยาง ดังนี้
กัป,กัลป กิริยา กิเลสพันหา คงคา คณาจารย เครื่องราง
ชุมนุมเทวดา ตัณหา ๑๐๘ ทักขิณาบถ ทีฆนขสูตร ธรรมราชา ธัญชาติ
นัมมทา บริขาร บุพการ บุพนิมิตแหงมรรค ปกตัตตะ ปปญจะ
ปริตร,ปริตต ปญญา ๓ พรหมจรรย มหานที ๕ มหายาน มาตรา
มานะ ยถากรรม ยมุนา โยนก โวการ (เชน จตุโวการ) สมานฉันท
สรภู สังคายนา สัจกิริยา สัจจาธิฏฐาน สีหนาท สุตะ
หีนยาน อจิรวดี อธิษฐาน อธิษฐานธรรม อภิสัมพุทธคาถา อโศกมหาราช
อาภัพ อายุ อายุสังขาร อาสภิวาจา อุตราบถ อุทยาน
หัวศัพท ที่มีการปรับแก และที่เพิ่มใหมในระยะ ๑๔ เดือนหลัง มี ตัวอยาง ดังนี้
กรรมวาท กลาป คันธกุฎี คามวาสี คิหิวินัย จุณณิยบท
จูฬมัชฌิมมหาศีล ฉันมื้อเดียว ชยมังคลัฏฐกคาถา ชวนะ ญาณ ๑๖ เดน
ตุลา ถวายพรพระ ธรรมทูต ธรรมสภา บังสุกุลตาย-เปน ปฏิกรรม
ปรมัตถธรรม ปานะ โปราณัฏฐกถา พุทธาวาส ภาณยักษ ยมกปาฏิหาริย
รูปรูป,สุขุมรูป วิถีจิต วิปสสนูปกิเลส สมานฉันท สรณคมน สรภัญญะ
สังฆาวาส สารีริกธาตุ สุวรรณภูมิ สูกรมัททวะ อตัมมยตา อภิธัมมัตถสังคหะ
อรรถกถา อรัญวาสี อัชฏากาศ อากาศ อุปฏฐานศาลา เอตทัคคะ
การชําระ-เพิ่มเติมนี้ ทําให พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท มีลักษณะคืบเคลื่อน
เขาไปใกลงานคางที่ ๓ ซึ่งไดหยุดลงเมื่อใกลสิ้นป ๒๕๒๑ เชน คํา “กัป, กัลป” ในการพิมพครั้ง
ที่ ๑๐ พ.ศ. ๒๕๔๖ มีคําอธิบาย ๑๒ บรรทัด แตในฉบับชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑ นี้ ขยายเปน
๑๑๓ บรรทัด เมื่อนําไปเทียบกับฉบับงานคางที่ ๓ นั้น (ในการเขียนขยายคราวนี้ ไมไดหันไปดู
งานคางนั้นเลย) ปรากฏวา คําอธิบายในฉบับชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑ นี้ ยังสั้นกวาเกาเกือบครึ่งหนึ่ง
ถาตองการมองใหชัดวางานชําระ-เพิ่มเติมมีลักษณะอยางไร จะดูไดงายที่คําตัวอยางขางบน
นั้น เฉพาะอยางยิ่งคําวา กัป,กัลป; กิเลสพันหา; เครื่องราง; ชาดก; ทักขิณาบถ; นัมมทา; บริขาร;
ปริตร,ปริตต; ภาณวาร; มานะ; ยถากรรม; สรภัญญะ; สัจกิริยา; อธิษฐาน; อายุ
บัดนี้ งานชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑ ไดเสร็จสิ้นแลว โดยกําหนดเอาเองวาเพียงเทานี้ แตงาน
ชําระ-เพิ่มเติมชวงที่๒ และ ๓ ซึ่งรอขางหนา มีมากกวา
ขอทําความเขาใจรวมกันวา ตามที่คิดไว งานตรวจชําระ ๓ ชวง จะเปนดังนี้
ช
การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑: แกไขปรับปรุงขอขาดตกบกพรองที่พบเฉพาะหนา โดยเฉพาะ
สวนหลงตาที่บังเอิญพบ และเพิ่มเติมคําศัพทและคําอธิบายที่รีบดวน หรือบังเอิญนึกได รวมทั้ง
ศัพทที่บันทึกไวระหวางเวลาที่ผานมา (ไดเลือกทําแลวเฉพาะคําที่ไมซับซอนนัก) และบางคําที่ทานผู
ใชหนังสือ ไดมีน้ําใจแจงมาวาเจอคําผิดหรือคนหาไมพบ
การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๒: อาน-ตรวจตลอดเลม เพื่อจะไดมองเห็นคําพิมพผิด คําตก
จุดและแงที่จะแกไข-ปรับปรุง-เพิ่มเติมทั่วทั้งหมด พรอมทั้งจัดปรับคําอธิบายศัพททั้งของเดิมและ
สวนที่เพิ่มเติม ใหเขามาตรฐานเดียวกัน ทั้งในแงการแสดงความหมาย วิธีอธิบาย และอัตราสวน
ความยาวที่สัมพันธกับความสําคัญของศัพทนั้นๆ
การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๓: มุงที่การจัดระบบ เพื่อใหสม่ําเสมอ กลมกลืน เปนแบบแผน
อันเดียวกันและทั่วกัน เชน มีคําอาน บอกที่มาในคัมภีร แสดงคําเดิมในภาษาบาลีและสันสกฤต
และถาเปนไปได ใหคําแปลภาษาอังกฤษของศัพทตั้งหรือหัวศัพท พรอมทั้งแผนที่และภาพประกอบ
งานชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑ ไดเสร็จสิ้นลง โดยกําหนดเอาเองวาแคนี้กอน แตชวงที่ ๒ และ
ชวงที่ ๓ ไมอาจคาดหมายวาจะเสร็จเมื่อใด หากไมนิราศ-ไมไดโอกาสจากโรค ก็กลาวไดเพียงวา
อยูในความตั้งใจที่จะทําตอไป
พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต)
๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๑
คําปรารภ
(ในการพิมพครั้งที่ ๑๐)
เมื่อกลาวถึง พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท หลายทานนึกถึง พจนานุกรมพุทธศาสตร
ฉบับประมวลธรรม ดวย โดยเขาใจวาเปนหนังสือชุดที่มีสองเลมรวมกัน แตแทจริงเปนหนังสือที่เกิดขึ้นตาง
หากกัน ตางคราวตางวาระ และมีความเปนมาที่ทั้งตางหากจากกัน และตางแบบตางลักษณะกัน
ก. ความเปนมา ชวงที่ ๑: งานสําเร็จ แตขยายไมได
พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม เปนหนังสือที่คอยๆ กอตัวขึ้นทีละนอย เริ่มจากหนังสือ
Student’s Thai–Pali–English Dictionary of Buddhist Terms เลมเล็กๆ ที่จัดทําเสร็จใน พ.ศ. ๒๕๐๖
ตอแตนั้นก็ไดปรับปรุง–เพิ่มเติม–ขยายขนาดขึ้นเรื่อยๆ และไดขยายขอบเขตออกไปจนกลายเปนงานที่มี
ลักษณะเปนสารานุกรม
เมื่อเวลาผานไปๆ ก็มองเห็นวางานทําสารานุกรมจะกินเวลายืดเยื้อยาวนานมาก ยิ่งมีงานอื่นแทรกเขา
มาบอยๆ ก็ยิ่งยากที่จะมองเห็นความจบสิ้น ในที่สุดจึงตกลงวาควรทําพจนานุกรมขนาดยอมๆ ขั้นพื้นฐาน
ออกมากอน และไดรวบรวมคัดเลือกหมวดธรรมมาจัดทําคําอธิบายขึ้น ซึ่งไดบรรจบรวมกับหนังสือเลมเล็ก
เดิมที่สืบมาแต พ.ศ. ๒๕๐๖ กลายเปนภาคหนึ่งๆ ใน ๓ ภาคของหนังสือที่รวมเปนเลมเดียวกันอันมีชื่อวา
พจนานุกรมพุทธศาสตร เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๕
กาลลวงมาจนถึง พ.ศ. ๒๕๒๘ พจนานุกรมพุทธศาสตร ซึ่งพิมพครั้งที่ ๔ จึงมีชื่อปจจุบันวา
พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม เพื่อใหเขาคูกับพจนานุกรมอีกเลมหนึ่งที่เปลี่ยนจากชื่อเดิมมา
เปน พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท
ถึงวาระนี้ พจนานุกรมสองเลมนี้จึงเสมือนเปนหนังสือที่รวมกันเปนชุดอันเดียว
พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ที่วานั้น เปนหนังสือที่เกิดขึ้นแบบทั้งเลมฉับพลันทันที
โดยแทรกตัวเขามาใน พ.ศ. ๒๕๒๒ ระหวางที่งานทําพจนานุกรมซึ่งขยายขอบเขตออกไปจนจะเปนสารานุกรม
นั้น กําลังดําเนินอยู
เนื่องจากผูรวบรวมเรียบเรียงเห็นวางานทําสารานุกรม คงจะกินเวลายืดเยื้อไปอีกนาน และ
พจนานุกรมพุทธศาสตร ที่ทําเสร็จไปแลว ก็มีเฉพาะดานหลักธรรมซึ่งจัดเรียงตามลําดับหมวดธรรม ควรจะมี
พจนานุกรมเลมเล็กๆ งายๆ วาดวยพระพุทธศาสนาทั่วๆ ไป แบบเรียงตามลําดับอักษร ที่พอใชประโยชนพื้นๆ
สําหรับผูเลาเรียนในขั้นตน โดยเฉพาะนักเรียนนักธรรม ออกมากอน
พรอมนั้นก็พอดีประจวบเหตุผลอีกอยางหนึ่งมาหนุน คือ ไดเห็นหนังสือ ศัพทหลักสูตรภาษาไทย
สําหรับนักธรรม ชั้นตรี ชั้นโท และชั้นเอก ที่มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยจัดพิมพออกมาใน พ.ศ. ๒๕๐๓
เหลืออยูจํานวนมากมาย และดูเหมือนวาไมมีใครเอาใจใส
หนังสือ ศัพทหลักสูตรภาษาไทย ชุดนั้น ทาง มจร. จัดพิมพขึ้นมาเพื่อสนองความตองการของ
นักเรียนนักธรรมที่จะตองสอบวิชาใหมซึ่งเพิ่มเขามาในหลักสูตร คือวิชาภาษาไทย แตแทบจะยังไมทันไดเผย
แพรออกไป วิชาภาษาไทยนั้นก็ไดถูกยกเลิกเสีย หนังสือชุดนั้นจึงถูกทอดทิ้ง
ไดมองเห็นวา หนังสือ ศัพทหลักสูตรภาษาไทย นั้น ไมควรจะถูกทิ้งไปเสียเปลา ถานํามาจัดเรียงใหมในรูป
พจนานุกรม ก็จะใชประโยชนได อยางนอยศัพทตั้งหรือหัวศัพทที่มีอยูก็จะทุนแรงทุนเวลาในการเก็บศัพทเปนอันมาก
ฌ
โดยนัยนี้ ก็ไดนําหนังสือ ศัพทหลักสูตรภาษาไทย ชุดนั้นทั้ง ๙ ภาค (ศัพทสําหรับนักธรรมตรี–โท–เอก
ชั้นละ ๓ วิชา จึงมีชั้นละ ๓ ภาค พิมพรวมเปนชั้นละเลม) มาจัดเรียบเรียงเปนพจนานุกรมเลมเดียว ดังไดเลา
ไวแลวใน “แถลงการจัดทําหนังสือ ประกาศพระคุณ ขอบคุณ และอนุโมทนา (ในการพิมพครั้งที่ ๑)”
ศัพทจํานวนมากทีเดียว ที่งายๆ พื้นๆ และตองการเพียงความหมายสั้นๆ หรือคําอธิบายเพียงเล็ก
นอย ไดคงไวตามเดิมบาง แกไขปรับปรุงบาง สวนศัพทที่ตองการคําอธิบายยาวๆ ก็เขียนขยาย และศัพท
สําหรับการเรียนนักธรรมที่ตกหลนหรือศัพททั่วไปอันควรรูที่ยังไมมี ก็เติมเขามา รวมเปนของเกากับของใหม
ประมาณครึ่งตอครึ่ง จึงเกิดเปนพจนานุกรม ซึ่งในการพิมพครั้งแรก พ.ศ. ๒๕๒๒ เรียกชื่อวา พจนานุกรม
พุทธศาสน ฉบับครู นักเรียน นักธรรม
ตอมา ในการพิมพครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๒๗ พจนานุกรมเลมนั้นไดเปลี่ยนมีชื่ออยางปจจุบันวา
พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท คือหนังสือเลมนี้
เมื่อมีการเผยแพรมากขึ้น ผูขออนุญาตพิมพบางแหงจึงไดนําพจนานุกรมทั้งสองเลมนี้มาจัดรวมกัน
เปนชุด และลาสุดบางทีถึงกับทํากลองใสรวมกัน
แมจะมีประวัติแหงการเกิดขึ้นตางหากกัน แตพจนานุกรมสองเลมนี้ก็มีลักษณะที่เหมือนกันอยางหนึ่ง
คือเปนงานในชวงระหวางที่งานทําพจนานุกรมซึ่งตอเนื่องมาแตเดิมและขยายออกไปจนกลายเปนสารานุกรม
แสดงอาการวาจะเปนเรื่องยืดเยื้อตองรออีกยาวนาน
หลังจากการพิมพลงตัวแลว พจนานุกรมสองเลมนี้ก็มีชะตากรรมอยางเดียวกัน คือขึ้นตอระบบการทํา
ตนแบบและการพิมพยุคกอนนั้น ซึ่งตนแบบอยูในแผนกระดาษที่ตายตัว แกไขและขยับขยายไดยาก ยิ่งเปน
หนังสือขนาดหนาและมีรูปแบบซับซอน ก็แทบปรับเปลี่ยนอะไรไมไดเลย
ดวยเหตุนี้ การพิมพพจนานุกรมสองเลมนั้นในครั้งตอๆ มา จึงตองพิมพซ้ําตามตนแบบเดิม ถาจํา
เปนจริงๆ ที่จะตองแกไข ก็แกไดเพียง ๔–๕ บรรทัด ยิ่งเมื่อเวลาผานมานานขึ้น แผนกระดาษตนแบบทั้งหมด
ก็ผุเปอยหรือสูญหายไป (ตนแบบของ พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ซึ่งทําขึ้นใหมในการพิมพ
ครั้งที่ ๒ ไดสูญหายไปตั้งแตเมื่อการพิมพครั้งที่ ๒ นั้นเสร็จสิ้นลง) ทําใหการพิมพตอจากนั้นตองใชวิธีถาย
ภาพจากหนังสือที่พิมพครั้งกอนๆ ซึ่งจะไดตัวหนังสือที่เลือนลางลงไปเรื่อยๆ ไดแตรอเวลาที่จะพิมพทําตน
แบบขึ้นใหม โดยจะถือโอกาสเพิ่มเติมดวยพรอมกัน
อยางไรก็ตาม เนื่องจาก พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท นี้ มีศัพทและคําอธิบายที่จะเพิ่ม
มากมาย เมื่อแกไขตนแบบเดิมไมได ก็จึงใสสวนเพิ่มเขามาตางหากตอทายเลมในการพิมพครั้งที่ ๓ พ.ศ.
๒๕๒๘ โดยทําเปน “ภาคผนวก” (มีศัพทตั้งหรือหัวศัพทเพิ่ม ๑๒๔ ศัพท รวม ๒๔ หนา ขยายขนาดเลม
หนังสือเฉพาะตัวพจนานุกรมแทๆ ขึ้นเปน ๔๖๖ หนา) ตอแตนั้นมา ก็พิมพซ้ําอยางที่กลาวขางตน
ข. ความเปนมา ชวงที่ ๒: เขายุคใหม มีฐานที่จะกาวตอ
ระหวางรอเวลาที่จะพิมพทําตนแบบใหม พรอมกับเขียนเพิ่มเติม ซึ่งมองไมเห็นวาจะมีโอกาสทําไดเมื่อ
ใด กาลก็ลวงมา จนถึงยุคคอมพิวเตอร
ระบบคอมพิวเตอรไดชวยใหการพิมพเจริญกาวหนาอยางมหัศจรรย ซึ่งแกปญหาสําคัญในการทํา
พจนานุกรมไดทั้งหมด โดยเฉพาะ
• การพิมพขอมูลใหมทําไดอยางดีและคลองสะดวก
• รักษาขอมูลใหมนั้นไวไดสมบูรณและยืนนาน โดยมีคุณภาพคงเดิม หรือจะปรับใหดียิ่งขึ้นก็ได
ญ
• ขอมูลใหมที่เก็บไวนั้น จะแกไข–ปรับปรุง–เพิ่มเติม ที่จุดไหนสวนใด อยางไร และเมื่อใด ก็ไดตาม
ปรารถนา
ถึงตอนนี้ ก็เห็นทางที่จะทําใหงานทําพจนานุกรมกาวตอไป แตก็ตองรอขั้นตอนสําคัญ คือจุดตั้งตน
ครั้งใหม ไดแกการพิมพขอมูลพจนานุกรมทั้งหมดในเลมหนังสือลงในคอมพิวเตอร ซึ่งตองใชเวลาและแรง
งานมากทีเดียว
ถามีขอมูลที่พิมพลงในคอมพิวเตอรไวพรอมแลว ถึงจะยังไมมีเวลาที่จะแกไข–ปรับปรุง–เพิ่มเติม ก็
อุนใจได เพราะสามารถเก็บรอไว มีโอกาสเมื่อใด ก็ทําไดเมื่อนั้น แตตองเริ่มขั้นเตรียมขอมูลนั้นใหไดกอน
ขณะที่ผูรวบรวมเรียบเรียงเองพิมพดีดไมเปน กับทั้งมีงานอื่นพันตัวนุงนัง ไมไดดําเนินการอันใดใน
เรื่องนี้ ก็ไดมีทานที่มีใจรักและทานที่มองเห็นประโยชน ไดพิมพขอมูล พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวล
ศัพท ทั้งหมดของเลมหนังสือลงในคอมพิวเตอร ดวยความสมัครใจของตนเอง โดยมิไดนัดหมาย เทาที่ทราบ/
เทาที่พบ ๔ ราย เปน ๔ ชุด คือ
๑. พระมหาเจิม สุวโจ แหงสถาบันวิจัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ไดเริ่มจัดทํางานนี้ตั้งแตระยะ
ตนๆ ของยุคแหงการพิมพดวยระบบคอมพิวเตอร ซึ่งทั้งอุปกรณและบุคลากรดานนี้ยังไมพรั่งพรอม ใชเวลา
หลายป จนในที่สุด ไดมอบขอมูลที่เตรียมเสร็จแลวแกผูรวบรวมเรียบเรียง เมื่อวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๑
ขอมูลที่พระมหาเจิม สุวโจ เตรียมไวนี้ ไดจัดวางรูปแบบเสร็จแลว รอเพียงงานขั้นที่จะสงเขาโรงพิมพ
รวมทั้งการตรวจครั้งสุดทาย นับวาพรอมพอสมควร แตผูรวบรวมเรียบเรียงก็ไมมีเวลาตรวจ เวลาก็ผานมาเรื่อยๆ
๒. รศ. ดร.สมศีล ฌานวังศะ ราชบัณฑิต ไดเตรียมขอมูลพจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท
(พรอมทั้งพจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม) โดยบุตรหญิง–ชาย คือน.ส.ภาวนา ตั้งแตยังเปน
ด.ญ.ภาวนา ฌานวังศะ และนองชาย คือ นายปญญา ตั้งแตยังเปนด.ช.ปญญา ฌานวังศะ ไดชวยกันแบงเบา
ภาระดวยการพิมพขอมูลทั้งหมดของเลมหนังสือลงในคอมพิวเตอร ภายใตการดูแลของ ดร.สมศีล ฌานวังศะ
ซึ่งเปนผูตรวจความเรียบรอยและจัดรูปแบบขอมูลนั้นตามเลมหนังสืออีกทีหนึ่ง
๓. พระไตรปฎก (ในแผน CD – ระบบคอมพิวเตอร) ฉบับสมาคมศิษยเกา มหาจุฬาลงกรณราช-
วิทยาลัย ซึ่งเสร็จออกเผยแพรในชวงตนของ พ.ศ. ๒๕๔๓ ไดขอบรรจุ พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับ
ประมวลธรรม และ พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ไวในโปรแกรมดวย ผูจัดทําจึงไดพิมพขอมูล
ทั้งหมดของหนังสือทั้งสองเลมนั้นลงในคอมพิวเตอร แตเนื่องจากเปนขอมูลสําหรับโปรแกรมคอมพิวเตอร จึง
ไมไดจัดรูปแบบเพื่อการตีพิมพอยางเลมหนังสือ
๔. พจนานุกรมพุทธศาสน (ในแผน CD – ระบบคอมพิวเตอร) รุน ๑.๕ (ในโปรแกรมวา พจนานุกรม
พุทธศาสตร Version <1.2>) พ.ศ. ๒๕๔๔ จัดทําโดยคณะวิศวกรรมศาสตรคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยรังสิต
ซึ่งก็ไมไดจัดรูปแบบเพื่อการตีพิมพอยางเลมหนังสือ เพราะเปนขอมูลสําหรับโปรแกรมคอมพิวเตอร
ขอมูลทั้ง ๔ ชุดนี้ ผูจัดทําชุดนั้นๆ ไดนําศัพทตั้งและคําอธิบายทั้งหมดใน “ภาคผนวก” รวม ๒๔ หนา
๑๒๔ ศัพท ของฉบับเรียงพิมพระบบเกา มาแทรกเขาในเนื้อหาหลักของเลมตามลําดับอักษรเสร็จเรียบรอยดวย
เมื่อมีชุดขอมูลใหเลือก ก็แนนอนวาจะตองพิจารณาเฉพาะชุดที่จัดรูปแบบไวแลวเพื่อการตีพิมพอยาง
เลมหนังสือ คือชุดที่ ๑ และชุดที่ ๒
แตทั้งที่มีขอมูลนั้นแลว เวลาก็ผานไปๆ โดยผูรวบรวมเรียบเรียงมิไดดําเนินการใดๆ เพราะวาแมจะมี
ขอมูลครบทั้งหมดแลว แตก็ยังมีงานสุดทายในขั้นสงโรงพิมพ โดยเฉพาะการพิสูจนอักษร (ตรวจปรูฟ) ตลอด
เลมอีกครั้ง ซึ่งควรเปนภาระของผูรวบรวมเรียบเรียงเอง
ฎ
ถาจะใหผูรวบรวมเรียบเรียงพิสูจนอักษรเองอยางแตกอน การพิมพคงตองรออีกแรมป หรืออาจจะ
หลายป (ยิ่งมาบัดนี้ เมื่อตาทั้งสองเปนโรคตอหินเขาอีก ก็แทบหมดโอกาส) คงตองปลอยใหพิมพครั้งใหมดวยการ
ถายภาพจากหนังสือที่พิมพครั้งกอนตอไปอีก
ค. ความเปนมา ชวงที่ ๓: พิมพครั้งใหม ในระบบใหม
การพิมพในระบบใหมคืบหนา เมื่อ ดร.สมศีล ฌานวังศะ ชวยรับภาระขั้นสุดทายในการจัดทําตนแบบ
ใหพรอมที่จะนําเขารับการตีพิมพในโรงพิมพ
ในงานขั้นสุดทายนี้ สําหรับ พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม ซึ่งจัดเรียงใหมดวยระบบ
คอมพิวเตอร และพิมพเปนเลมหนังสือไปแลวเปนครั้งแรก เมื่อกลางป พ.ศ. ๒๕๔๕ นั้นผูรวบรวมเรียบเรียง
ไดอานตนแบบสุดทายกอนยุติ แตเมื่อมาถึง พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ก็เปนเวลาที่ผูรวบรวม
เรียบเรียงประสบปญหาจากโรคตามากแลว รวมทั้งโรคตอหิน จึงยกภาระในการตรวจปรูฟอานตนแบบแมแต
ครั้งยุติให ดร.สมศีล ฌานวังศะ รับดําเนินการทั้งหมด เพียงแตเมื่อมีขอผิดแปลกนาสงสัยที่ใด ก็ไถถามปรึกษา
เปนแตละแหงๆ ไป
พอดีวา ผูรับภาระนอกจากมีความละเอียดและทํางานนี้ดวยใจรักแลว ยังเปนผูศึกษาวิจัยเรื่อง
พจนานุกรมเปนพิเศษอีกดวย ยิ่งเมื่อไดคอมพิวเตอรมาเปนเครื่องมือ ก็ยิ่งชวยใหการจัดเรียงพิมพตนแบบ
สามารถดําเนินมาจนหนังสือเสร็จเปนเลมในรูปลักษณที่ปรากฏอยูนี้
พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท พิมพครั้งที่ ๑๐ ซึ่งเปนครั้งแรกที่ใชขอมูลอันไดเตรียมขึ้น
ใหมดวยระบบการพิมพแบบคอมพิวเตอรนี้ โดยหลักการ ไดตกลงวาใหคงเนื้อหาไวอยางเดิมตามฉบับเรียง
พิมพระบบเกา ยังไมปรับปรุงหรือเพิ่มเติม เนื่องจากผูรวบรวมเรียบเรียงยังไมมีเวลาที่จะดําเนินการกับคํา
ศัพทมากมายอันควรเพิ่มและสิ่งที่ควรแกไขปรับปรุงตางๆ ที่บันทึกไวระหวางเวลาที่ผานมา และจะรอก็ไมมี
กําหนด (จุดเนนหลักอยูที่การไดฐานขอมูลในระบบคอมพิวเตอร ซึ่งทําใหพรอมและสะดวกที่จะปรับปรุงเพิ่ม
เติมตอไป)
ทั้งนี้ มีขอยกเวน คือ
๑. นําศัพทตั้งและคําอธิบายทั้งหมดใน “ภาคผนวก” ของฉบับเรียงพิมพระบบเกา มาแทรกเขาไปใน
เนื้อหาหลักของเลมตามลําดับอักษรของศัพทนั้นๆ (ขอนี้เปนการเปลี่ยนแปลงดานรูปแบบเทานั้น สวนเนื้อหา
ยังคงเดิม)
๒. เนื่องจากมีศัพทตั้ง ๘ คํา ที่ไดปรับปรุงคําอธิบายไวกอนแลว จึงนํามาใสรวมดวย พรอมทั้งถือ
โอกาสแกไขเนื้อความผิดพลาด ๒–๓ แหงที่ผูใชพจนานุกรมฉบับนี้ ทั้งบรรพชิตและคฤหัสถบางทานไดแจง
เขามานับแตการพิมพครั้งกอนๆ ซึ่งขอขอบคุณ–อนุโมทนาไว ณ ที่นี้ดวย
๓. มีการปรับปรุงเพิ่มเติมปลีกยอยที่พบเห็นนึกไดแลวถือโอกาสทําไปดวยระหวางทํางานขั้นสุดทาย
ในการจัดทําตนแบบใหพรอมกอนจะสงเขารับการตีพิมพในโรงพิมพ กลาวคือ คําอธิบายเล็กนอยในบางแหง
ซึ่งเห็นวาควรจะและพอจะใหเสร็จไปไดในคราวนี้ เฉพาะอยางยิ่ง
• ไดปรับคําอธิบายคําวา ศิลปศาสตร และไดนําคําอธิบายการแบงชวงกาลในพุทธประวัติ คือชุด
ทูเรนิทาน–อวิทูเรนิทาน–สันติเกนิทาน ชุดปฐมโพธิกาล–มัชฌิมโพธิกาล–ปจฉิมโพธิกาล และชุดปุริมกาล–อปร
กาล มาปรับรวมกันไวที่ศัพทตั้งวา พุทธประวัติ อีกแหงหนึ่งดวย
ฏ
• ไดแยกความหมายยอยของศัพทตั้งบางคําออกจากกัน เพื่อใหเกิดความชัดเจนยิ่งขึ้น (เชน คํา
วา พยัญชนะ)
• ไดตัดศัพทตั้งบางคําที่เห็นวาไมจําเปนออก (เชน วงศกุล, เทวรูปนาคปรก)
๔. เนื่องจากเดิมนั้น พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท นี้ จัดทําขึ้นโดยมุงเพื่อประโยชนของ
ผูเลาเรียนขั้นตน โดยเฉพาะนักธรรมตรี–โท–เอก ถอยคําใดมีในแบบเรียนนักธรรม ก็ไดรักษาการสะกดตัว
โดยคงไวอยางเดิมตามแบบเรียนเลมนั้นๆ เปนสวนมาก
แตในการพิมพตามระบบใหมครั้งนี้ เห็นวาควรจะคํานึงถึงคนทั่วไป ไมจํากัดเฉพาะนักธรรม จึงตกลง
ปรับการสะกดตัวของบางศัพทใหเปนปจจุบัน (เชน ปฤษณา แกเปน ปริศนา)
พรอมนั้น ตามที่พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ใหหลักไววา คําที่เปนศัพทธรรมบัญญัติ จะเขียน
ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หรือเขียนเต็มรูปอยางเดิมก็ได และในพจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับ
ประมวลศัพท แตเดิมมาเขียนทั้งสองรูป เชน โลกุตตรธรรม–โลกุตรธรรม อริยสัจจ–อริยสัจ สวนในการพิมพ
ตามระบบใหมครั้งนี้ ถาคํานั้นอยูในขอความอธิบาย ไดปรับเขียนเปนรูปเดียวกันทั้งหมด เชน โลกุตตรธรรม
อริยสัจจ ทั้งนี้ เพื่อความสอดคลองกลมกลืนเปนอันเดียวกัน แตผูอานจะนําไปเขียนเองในรูปที่ประสงคก็ได
ตามคําชี้แจงตนเลม
๕. แตเดิมมาหนังสือนี้มุงเพื่อประโยชนแกผูมีความรูพื้นฐานทางธรรมอยูแลว โดยเฉพาะนักเรียน
นักธรรม ซึ่งถือวารูวิธีอานคําบาลีอยูแลว จึงไมไดนึกถึงการที่จะแสดงวิธีอานคําบาลีนั้นไว แตบัดนี้ไดตกลงที่
จะคํานึงถึงผูใชทั่วไป
ดังนั้น ในการพิมพครั้งใหมดวยระบบใหมนี้ จึงไดแสดงวิธีอานออกเสียงศัพทตั้งบางคําเพื่อเกื้อกูลแกผู
ใชที่ยังไมคุนกับวิธีอานคําที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต เชน สมสีสี [สะ-มะ-สี-สี], โอมสวาท [โอ-มะ-สะ-วาด]
แตเนื่องจากยังเปนทํานองงานแถม จึงทําเทาที่นึกไดหรือพบเฉพาะหนา อาจมีคําศัพททํานองนี้อยูอีกหลายคํา
ที่ยังมิไดแสดงวิธีอานออกเสียงกํากับไว
อยางไรก็ตาม ในการพิมพใหมครั้งนี้ ไดแทรก “วิธีอานคําบาลี” เพิ่มเขามาดวย เพื่อใหผูใชทั่วไปทราบ
หลักพื้นฐานที่พอจะนําไปใชเปนแนวทางในการอานไดดวยตนเอง โดย ดร.สมศีล ฌานวังศะ ชวยรับภาระเขียนมา
งานขั้นสุดทายที่จะเขาโรงพิมพมีความละเอียด ซึ่งตองใชเวลาและเรี่ยวแรงกําลังมาก ประกอบกับผู
รับภาระมีงานอื่นที่ตองรับผิดชอบอีกหลายดาน นับจากเริ่มงานขั้นสุดทายนี้ จนตนแบบเสร็จเรียบรอยนําสง
โรงพิมพได ก็ใชเวลาไปหลายเดือน
ทั้งนี้เพราะวา งานขั้นสุดทายกอนรับการตีพิมพมิใชเพียงการตรวจความถูกตองของตัวอักษรเทานั้น
นอกจากอานปรูฟตลอดเลม ทวนแลวทวนอีกหลายเที่ยวแลว ไดถือโอกาสแหงการพิมพที่เปนการวางรูปแบบ
ครั้งใหมและมีคอมพิวเตอรเปนอุปกรณนี้ ตรวจทานจัดการเกี่ยวกับความสอดคลองกลมกลืน–สม่ําเสมอ–
ครบถวน โดยเฉพาะในเรื่องที่เปนระบบแบบแผน ใหลงตัวไวเทาที่จะทําได คือ
ก) ความสอดคลองกลมกลืน ทั่วๆ ไป ไมวาจะเปนเครื่องหมายวรรคตอน หรือการพิมพคํา–ขนาด
ตัวอักษร–รูปลักษณของตัวอักษร ทั้งคําทั่วไปและคําที่ใชในการอางอิงและอางโยง (เชน ดู เทียบ คูกับ ตรงขามกับ)
ไดพยายามตรวจและแกไขใหสม่ําเสมอกันทุกแหง
ข) ความถูกตองครบถวนทั่วถึง อีกหลายอยาง ที่ยังอาจตกหลนหรือขามไปในการพิมพระบบเกา
โดยเฉพาะการอางโยง ไดตรวจสอบเทาที่ทําได เชน ตรวจดูใหแนใจวาศัพทตั้งทุกคําที่เปนธรรมขอยอย ได
อางโยงถึงหมวดธรรมใหญที่ธรรมขอยอยนั้นแยกออกมา
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2
Dict sadda 2

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึก
แหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึกแหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึก
แหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึกtakuapa
 
ท.เลียงพิบูลย์Tl001
ท.เลียงพิบูลย์Tl001ท.เลียงพิบูลย์Tl001
ท.เลียงพิบูลย์Tl001privategold
 
Structure and development of plant seed-group5/334
Structure and development of plant seed-group5/334Structure and development of plant seed-group5/334
Structure and development of plant seed-group5/334ThanyapornK1
 
จิตตนคร นครหลวงของโลก
จิตตนคร นครหลวงของโลกจิตตนคร นครหลวงของโลก
จิตตนคร นครหลวงของโลกPanda Jing
 
การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์
การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์
การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์Tongsamut vorasan
 
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tongsamut vorasan
 
MY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ONMY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ONPiyaratt R
 
Happy Work Place
Happy Work Place Happy Work Place
Happy Work Place PMAT
 
09 คาถาที่ ๑๘๐ ๑๙๗
09 คาถาที่ ๑๘๐   ๑๙๗09 คาถาที่ ๑๘๐   ๑๙๗
09 คาถาที่ ๑๘๐ ๑๙๗Phaiboon Sopha
 
โบราณวัตถุและโบราณสถาน
โบราณวัตถุและโบราณสถานโบราณวัตถุและโบราณสถาน
โบราณวัตถุและโบราณสถานguest7e2840
 
สารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนา
สารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนาสารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนา
สารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนาบริษัทปุ้มปุ้ย
 
สัปดาห์ที่ ๒เทคนิคการอ่าน
สัปดาห์ที่ ๒เทคนิคการอ่านสัปดาห์ที่ ๒เทคนิคการอ่าน
สัปดาห์ที่ ๒เทคนิคการอ่านgueste5023c7
 
ร่างพระราชบัญญัติ 41 ผ่านวาระ 3
ร่างพระราชบัญญัติ 41 ผ่านวาระ 3ร่างพระราชบัญญัติ 41 ผ่านวาระ 3
ร่างพระราชบัญญัติ 41 ผ่านวาระ 3PMAT
 
คู่มือทำวัตรเช้าเย็น สำหรับศีลจารีศีลจาริณี
คู่มือทำวัตรเช้าเย็น สำหรับศีลจารีศีลจาริณีคู่มือทำวัตรเช้าเย็น สำหรับศีลจารีศีลจาริณี
คู่มือทำวัตรเช้าเย็น สำหรับศีลจารีศีลจาริณีTongsamut vorasan
 

La actualidad más candente (18)

แหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึก
แหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึกแหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึก
แหล่งโบราณคดีบ้านทุ่งตึก
 
ท.เลียงพิบูลย์Tl001
ท.เลียงพิบูลย์Tl001ท.เลียงพิบูลย์Tl001
ท.เลียงพิบูลย์Tl001
 
Structure and development of plant seed-group5/334
Structure and development of plant seed-group5/334Structure and development of plant seed-group5/334
Structure and development of plant seed-group5/334
 
จิตตนคร นครหลวงของโลก
จิตตนคร นครหลวงของโลกจิตตนคร นครหลวงของโลก
จิตตนคร นครหลวงของโลก
 
การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์
การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์
การศึกษาเรื่องการกในคัมภีร์โมคคัลลานไวยากรณ์
 
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
 
MY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ONMY HEART WILL GO ON
MY HEART WILL GO ON
 
Taxiway
TaxiwayTaxiway
Taxiway
 
Happy Work Place
Happy Work Place Happy Work Place
Happy Work Place
 
09 คาถาที่ ๑๘๐ ๑๙๗
09 คาถาที่ ๑๘๐   ๑๙๗09 คาถาที่ ๑๘๐   ๑๙๗
09 คาถาที่ ๑๘๐ ๑๙๗
 
Developing Hc
Developing HcDeveloping Hc
Developing Hc
 
โบราณวัตถุและโบราณสถาน
โบราณวัตถุและโบราณสถานโบราณวัตถุและโบราณสถาน
โบราณวัตถุและโบราณสถาน
 
สารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนา
สารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนาสารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนา
สารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนา
 
Give N기부(기쁜기부)
Give N기부(기쁜기부)Give N기부(기쁜기부)
Give N기부(기쁜기부)
 
Reading Technic
Reading TechnicReading Technic
Reading Technic
 
สัปดาห์ที่ ๒เทคนิคการอ่าน
สัปดาห์ที่ ๒เทคนิคการอ่านสัปดาห์ที่ ๒เทคนิคการอ่าน
สัปดาห์ที่ ๒เทคนิคการอ่าน
 
ร่างพระราชบัญญัติ 41 ผ่านวาระ 3
ร่างพระราชบัญญัติ 41 ผ่านวาระ 3ร่างพระราชบัญญัติ 41 ผ่านวาระ 3
ร่างพระราชบัญญัติ 41 ผ่านวาระ 3
 
คู่มือทำวัตรเช้าเย็น สำหรับศีลจารีศีลจาริณี
คู่มือทำวัตรเช้าเย็น สำหรับศีลจารีศีลจาริณีคู่มือทำวัตรเช้าเย็น สำหรับศีลจารีศีลจาริณี
คู่มือทำวัตรเช้าเย็น สำหรับศีลจารีศีลจาริณี
 

Más de Rose Banioki

Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุนSpm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุนRose Banioki
 
2013ar-Berkshire Hathaway
2013ar-Berkshire Hathaway2013ar-Berkshire Hathaway
2013ar-Berkshire HathawayRose Banioki
 
Techinque mutual-fund
Techinque mutual-fundTechinque mutual-fund
Techinque mutual-fundRose Banioki
 
หนังสือความทรงอภิญญา
หนังสือความทรงอภิญญาหนังสือความทรงอภิญญา
หนังสือความทรงอภิญญาRose Banioki
 
Nutritive values of foods
Nutritive values of foodsNutritive values of foods
Nutritive values of foodsRose Banioki
 
Ipad user guide ios7
Ipad user guide ios7Ipad user guide ios7
Ipad user guide ios7Rose Banioki
 
Iphone user guide th
Iphone user guide thIphone user guide th
Iphone user guide thRose Banioki
 
The differencebetweenbeachesinindia&greece
The differencebetweenbeachesinindia&greeceThe differencebetweenbeachesinindia&greece
The differencebetweenbeachesinindia&greeceRose Banioki
 
Toilets pierre daspe
Toilets pierre daspeToilets pierre daspe
Toilets pierre daspeRose Banioki
 
Pps hollywood dorado_bea
Pps hollywood dorado_beaPps hollywood dorado_bea
Pps hollywood dorado_beaRose Banioki
 
Photos carlosalbertobau
Photos carlosalbertobauPhotos carlosalbertobau
Photos carlosalbertobauRose Banioki
 

Más de Rose Banioki (20)

Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุนSpm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
 
2013ar-Berkshire Hathaway
2013ar-Berkshire Hathaway2013ar-Berkshire Hathaway
2013ar-Berkshire Hathaway
 
Instant tax
Instant taxInstant tax
Instant tax
 
Techinque mutual-fund
Techinque mutual-fundTechinque mutual-fund
Techinque mutual-fund
 
หนังสือความทรงอภิญญา
หนังสือความทรงอภิญญาหนังสือความทรงอภิญญา
หนังสือความทรงอภิญญา
 
Nutritive values of foods
Nutritive values of foodsNutritive values of foods
Nutritive values of foods
 
Thaifood table
Thaifood tableThaifood table
Thaifood table
 
Ipad user guide ios7
Ipad user guide ios7Ipad user guide ios7
Ipad user guide ios7
 
Iphone user guide th
Iphone user guide thIphone user guide th
Iphone user guide th
 
P4
P4P4
P4
 
P3
P3P3
P3
 
P1
P1P1
P1
 
To myfriends
To myfriendsTo myfriends
To myfriends
 
The differencebetweenbeachesinindia&greece
The differencebetweenbeachesinindia&greeceThe differencebetweenbeachesinindia&greece
The differencebetweenbeachesinindia&greece
 
Toilets pierre daspe
Toilets pierre daspeToilets pierre daspe
Toilets pierre daspe
 
Tibet
TibetTibet
Tibet
 
Pps hollywood dorado_bea
Pps hollywood dorado_beaPps hollywood dorado_bea
Pps hollywood dorado_bea
 
Photosdutempspass
PhotosdutempspassPhotosdutempspass
Photosdutempspass
 
Photo mix7
Photo mix7Photo mix7
Photo mix7
 
Photos carlosalbertobau
Photos carlosalbertobauPhotos carlosalbertobau
Photos carlosalbertobau
 

Dict sadda 2

  • 2. พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท © พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ISBN 974-575-029-8 พิมพครั้งที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๒๒ จํานวน ๑,๕๐๐ เลม – งานพระราชทานเพลิงศพ พระครูปลัดสมัย กิตฺติทตฺโต เจาอาวาสพระพิเรนทร พิมพครั้งที่ ๒ (เพิ่มศัพทและปรับปรุง) พ.ศ. ๒๕๒๗ จํานวน ๙,๔๐๐ เลม พิมพครั้งที่ ๓ (เพิ่มภาคผนวก) พ.ศ. ๒๕๒๘ จํานวน ๕,๐๐๐ เลม – พิมพถวายมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย โดย “ทุนพิมพพจนานุกรมพุทธศาสน” พิมพครั้งที่ ๔–๙ พ.ศ. ๒๕๓๑–๒๕๔๓ จํานวน ๓๑,๕๐๐ เลม พิมพครั้งที่ ๑๐ พ.ศ. ๒๕๔๖ (จัดเรียงพิมพใหมดวยระบบคอมพิวเตอร) ขนาดตัวอักษรธรรมดา ๕,๐๐๐ เลม และขนาดตัวอักษรใหญ ๕,๐๐๐ เลม พิมพครั้งที่ ๑๑ - มีนาคม ๒๕๕๐ มิถุนายน ๒๕๕๑ (ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑) – คณะผูศรัทธารวมกันจัดพิมพเปนธรรมทาน จํานวน ๑๐,๐๐๐ เลม พิมพที่
  • 3. อนุโมทนา พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ที่พิมพแจกเผื่อแผกันออกไปในครั้ง กอน มาถึงบัดนี้ กลาวไดวาไมมีเหลือที่จะมอบใหแกผูใด กลายเปนของหายากอยาง ยิ่ง ผูศรัทธามากหลายทาน จึงประสงคจะพิมพพจนานุกรมฯ ฉบับนั้นเพิ่มขึ้น เพื่อใช ศึกษาคนควาเองหรือใชศึกษาในกลุมในหมูของตนบาง เพื่อแจกเปนธรรมทาน เปน การเผยแพรสงเสริมความรูความเขาใจในพระพุทธศาสนาใหกวางขวางเพิ่มทวียิ่งขึ้น บาง ดังเปนที่ทราบกันวา ไดมีการรวมกลุมบอกแจงบุญเจตนารวมกันไว โดยมี อาจารยวิไลวรรณ เวชชาชีวะ เปนศูนยกลาง และตอมา ไดมีกลุมที่รวมขาวทางคุณ กานดา อารยางกูร และคุณบุบผา คณิตกุล มาประสานเสริม จึงเพิ่มจํานวนผูจะ บําเพ็ญธรรมทานมากขึ้นๆ แมกระนั้น ญาติโยมผูศรัทธาก็ไมอาจดําเนินการอะไรคืบหนา เพราะทางดาน ตัวผูเรียบเรียงเองเงียบอยู ไมรูกัน จนกระทั่ง เมื่อทราบขาววาผูเรียบเรียงกําลังชําระ เพิ่มเติมพจนานุกรมเลมนั้นอยู ผูศรัทธา ซึ่งปรารถนาจะพิมพ พจนานุกรมพุทธ- ศาสตร ฉบับประมวลธรรม ดวย ก็ไดตกลงกันวาจะรอพิมพพจนานุกรมทั้งสองเลม พรอมในคราวเดียวกัน ในที่สุด เวลาผานไป ๒-๓ ป บัดนี้ พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ผานการชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑ เสร็จแลว หนังสือกลายเปนเลมหนาใหญ มีเนื้อความ เพิ่มขึ้นมากมาย ถึงโอกาสที่จะดําเนินการพิมพเผยแพรตามบุญเจตนาที่ไดตั้งไว ขออนุโมทนาฉันทะในธรรมและไมตรีจิตตอประชาชน ของทานผูศรัทธาที่ใฝใน ธรรมทานบุญกิริยา อันเปนเครื่องเจริญธรรมเจริญปญญาแกประชาชน หวังไดวา ธรรมทานของผูศรัทธา จะเปนสวนชวยดํารงรักษาสืบตออายุพระพุทธศาสนา และ เปนปจจัยเสริมสรางประโยชนสุขใหแผขยายกวางไกลออกไปในโลก ขอใหผูบําเพ็ญ กุศลจริยานี้ พรอมญาติมิตรทั้งปวง เจริญดวยจตุรพิธพรชัย รมเย็นในธรรม มีความสุข เกษมศานตยั่งยืนนานทั่วกัน พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๑
  • 4. บันทึกนํา - พิมพครั้งที่ ๑๑ (ฉบับ “ชําระเพิ่มเติม ชวงที่ ๑”) หนังสือนี้เกิดขึ้น ๒๙ ปมาแลว เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๒ เดิมทีนั้นมุงใหเปนงานสําหรับใชไปพลาง โดยพัก งานพจนานุกรมเดิมที่เริ่มมาแต พ.ศ. ๒๕๐๖ ไวกอน (มีความเปนมาดังไดเลาไวตางหาก) และเปนงานเรงดวน เฉพาะหนา เพื่อเปนอนุสรณในงานพระราชทานเพลิงศพทานอาจารยพระครูปลัดสมัย กิตฺติทตฺโต อดีตเจา อาวาสวัดพระพิเรนทร ทําไวเพียงเปนขอมูลพื้นฐาน สําหรับผูเรียนนักธรรม และผูแรกศึกษา จึงตั้งชื่อวา พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับครู นักเรียน นักธรรม พรอมกับหวังวาจะหาโอกาสปรับปรุงและเพิ่มเติมตอไป บัดนี้ งานพจนานุกรมเดิมที่เริ่มแตป ๒๕๐๖ ซึ่งพักไว ไดกลายเปนพับไปแลว สวน พจนานุกรมพุทธ ศาสน ฉบับประมวลศัพท นี้ (เปลี่ยนเปนชื่อปจจุบันเมื่อพิมพครั้งที่ ๒ ใน พ.ศ.๒๕๒๗ เพื่อเขาชุดกับ พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม ที่ไดเกิดขึ้นกอนตั้งแต พ.ศ.๒๕๑๘) ยังเปนเพียงขอมูลพื้นฐาน อยูอยางเดิม จนกระทั่งตนปที่แลว เดือนมกราคม พ.ศ.๒๕๕๐ ผานเวลามา ๒๘ ป บังเอิญผูเรียบเรียงเกิดมีโรค แทรกที่คอนขางยืดเยื้อ ก็เลยไดมีเวลาและโอกาสหันไปรื้อฟนงานเพิ่มเติมพจนานุกรมนี้ แตกระนั้น ก็กลาย เปนงานยืดเยื้อ มีงานอื่นมาแยงเวลาไปเสียมาก ถึงขณะนี้ ๑ ปครึ่ง จึงยุติที่จะพิมพเผยแพรไปคราวหนึ่งกอน งานปรับปรุงและเพิ่มเติมนี้ ในที่นี้ เรียกวา การชําระ-เพิ่มเติม เปนงานใหญ ยากจะทําใหเต็มตาม ตองการ จึงไดแบงงานนั้นเปน ๓ ชวง ดังนี้ การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑: แกไขปรับปรุงขอขาดตกบกพรองที่พบเฉพาะหนา โดยเฉพาะสวนหลงตา ที่บังเอิญพบ และเพิ่มเติมคําศัพทและคําอธิบายที่รีบดวน หรือบังเอิญนึกได รวมทั้งศัพทที่บันทึกไวระหวางเวลาที่ ผานมา (เลือกทําเฉพาะคําที่ไมซับซอนนัก) และบางคําที่ทานผูใชไดมีน้ําใจแจงมาวาเจอคําผิดหรือคนหาไมพบ การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๒: อาน-ตรวจตลอดเลม เพื่อจะไดมองเห็นคําพิมพผิด คําตก จุดและแงที่ จะแกไข-ปรับปรุง-เพิ่มเติมทั่วทั้งหมด พรอมทั้งจัดปรับคําอธิบายศัพททั้งของเดิมและสวนที่เพิ่มเติม ใหเขา มาตรฐานเดียวกัน ทั้งในแงการแสดงความหมาย วิธีอธิบาย และอัตราสวนความยาวที่สัมพันธกับความสําคัญ ของศัพทนั้นๆ การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๓: มุงที่การจัดระบบ เพื่อใหสม่ําเสมอ กลมกลืน เปนแบบแผนอันเดียวกัน และทั่วกัน เชน มีคําอาน บอกที่มาในคัมภีร แสดงคําเดิมในภาษาบาลีและสันสกฤต และถาเปนไปได ใหคํา แปลภาษาอังกฤษของศัพทตั้งหรือหัวศัพท พรอมทั้งแผนที่และภาพประกอบ บัดนี้ ถือวาเสร็จงาน ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑ เนื้อหนังสือขยายจากเดิมเพิ่มขึ้น ๒๐๔ หนา (จาก ๓๗๖ หนา เปน ๕๘๐ หนา) มีศัพทที่ปรับแกเพิ่มเติมประมาณ ๑,๑๐๐ คํา แตพรอมกับที่มีศัพทและคําอธิบายเพิ่มขึ้น เปนอันมาก ก็เกิดความไมสมดุลขึ้น เพราะวา ในขณะที่ศัพทเพิ่มใหม และศัพทที่ปรับปรุง (เชน ปริตร, ภาณ ยักษ, มานะ) มีคําอธิบายยืดยาว ดังจะเปนสารานุกรม แตคําเกาที่มีอยูเดิมสวนใหญมีคําอธิบายสั้นนิดเดียว ทั้งนี้ ขอใหถือวาคงใชตอไปพลางกอน และใหความเรียบรอยราบรื่นเปนเรื่องของการชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๒ และ ชวงที่ ๓ ที่อาจจะมีขางหนา พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๑
  • 5. ความเปนมา ในการ “ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑”: ม.ค. ๒๕๕๐ - มิ.ย. ๒๕๕๑ ก) งานในโครงการ ชะงัก-หายไป ยอนหลังไปถึง พ.ศ.๒๕๐๖ เมื่อหนังสือ Student’s Thai–Pali–English Dictionary of Buddhist Terms เลมเล็กๆ เสร็จแลว ผูจัดทําหนังสือนี้ ก็ไดเริ่มงานพจนานุกรมพระพุทธศาสนา งานคางที่ ๑: เริ่มแรก คิดจะทําพจนานุกรมพระพุทธศาสนาเชิงสารานุกรม ฉบับที่คอนขาง สมบูรณเลยทีเดียว มีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดยเขียนแยกเปน ๒ คอลัมน ซาย-พากยไทย และ ขวา-พากยอังกฤษ เริ่ม ๒๙ ก.ย. ๒๕๐๖ ถึง ๑๒ พ.ย. ๒๕๐๗ จบอักษร “บ” (ยังคางชําระ บางคํา) ตองเขารับงานที่มหาจุฬาฯ แลวยุงกับงานที่นั่น จนงานพจนานุกรมชะงักแลวหยุดไปเลย งานคางที่ ๒: เมื่อเห็นวายากจะมีโอกาสทํางานคางนั้นตอ จึงคิดใหมวาจะทําฉบับที่มีเพียงพากย ไทย อยางยนยอ โดยมีภาษาอังกฤษเฉพาะคําแปลศัพทใสวงเล็บหอยทายไว แลวเริ่มงานใน พ.ศ.- --- แตงานที่มหาจุฬาฯ มาก พอทําจบ “ต” ก็ตองหยุด (ตนฉบับงานชุดนี้ทั้งหมดหายไปแลว) (ระหวางนั้น ในป ๒๕๑๕ โดยคํานิมนตของทานเจาคุณเทพกิตติโสภณ ครั้งยังเปนพระมหา สมบูรณ สมฺปุณฺโณ ตกลงทําประมวลหมวดธรรมออกมาใชกันไปพลางกอน ทําใหเกิดพจนานุกรม พุทธศาสตร[ตอมาเติมคําวา ประมวลธรรม]เสร็จเปนเลม ใน พ.ศ. ๒๕๑๘) งานคางที่ ๓: ใน พ.ศ.๒๕๑๙ ไปเปนวิทยากรที่ Swarthmore College เมื่อกลับมาในป ๒๕๒๑ ตั้งใจหยุดงานอื่นทั้งหมดเพื่อจัดทําสารานุกรมพุทธศาสนาโดยเริ่มตนใหมทําเฉพาะพากยภาษาไทย มี ภาษาอังกฤษเพียงคําแปลศัพทในวงเล็บหอยทาย พอใกลสิ้นป ๒๕๒๑ ก็จบ “ก” รวมได ๑๐๕ หนา กระดาษพิมพดีด และขึ้น “ข” ไปไดเล็กนอย แลวหันไปทําคําเกี่ยวกับประวัติเสร็จไปอีก ๘๐ หนา ตนป ๒๕๒๒ นั้นเอง ศาสตราจารย ดร.ระวี ภาวิไล จะพิมพพุทธธรรม ไดขอเวลาทานเพื่อ เขียนเพิ่มเติม แลวการไปบรรยายที่ Harvard University มาแทรก กวาจะเติมและพิมพเสร็จ สิ้น เวลา ๓ป งานทําพจนานุกรม-สารานุกรมเปนอันหยุดระงับไป จากนั้นงานดานอื่นเพิ่มขึ้นตลอดมา ข) งานใหมนอกสาย แตเสร็จ: พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ๑. ยุคพิมพระบบเกา ตนป ๒๕๒๒ นั้นแหละ เมื่อเห็นวาคงไมมีโอกาสฟนงานที่คาง ก็นึกถึงหนังสือ ศัพทหลัก สูตรภาษาไทย (สําหรับวิชาใหมในหลักสูตรนักธรรม) ที่มหาจุฬาฯ พิมพออกมาใน พ.ศ.๒๕๐๓ ซึ่ง แทบจะยังไมทันไดเผยแพร วิชาใหมนั้นก็ถูกยกเลิกเสีย จึงพบหนังสือชุดนั้นเหลือคางถูกทอดทิ้ง อยูมากมาย เห็นวา มีขอมูลพอจะทําเปนพจนานุกรมเบื้องตนได อยางนอยหัวศัพทที่มีอยูก็จะทุน แรงทุนเวลาในการเก็บศัพทไปไดมาก จึงตกลงทํางานใหมชิ้นที่งายและรวบรัด โดยนําหนังสือชุดนั้น ทั้ง ๓ เลม รวม ๙ ภาค (ศัพท น.ธ.ตรี–โท–เอก ชั้นละ ๓ วิชา จึงมีชั้นละ ๓ ภาค) มาจัดเรียงเปน
  • 6. ค พจนานุกรมเบื้องตนเลมเดียว พิมพออกมากอน ในงานพระราชทานเพลิงศพทานอาจารยพระครูปลัด สมัย กิตฺติทตฺโต (๑๙ พ.ค. ๒๕๒๒) เรียกชื่อวา พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับครู นักเรียน นักธรรม (เปลี่ยนเปนชื่อปจจุบันวาพจนานุกรมพุทธศาสนฉบับประมวลศัพท เมื่อพิมพครั้งที่๒พ.ศ.๒๕๒๗) หนังสือใหมเลมนี้ไมเกี่ยวของกับงานที่ทํามาแลวแตอยางใด งานเกาที่ทําคางไวทั้งหมดถูกพัก เก็บเฉยไว เพราะในกรณีนี้ มุงสําหรับผูเรียนขั้นตน โดยเฉพาะนักเรียนนักธรรม ตองการเพียงศัพท พื้นๆ และความหมายสั้นๆ งายๆ จึงคงขอมูลสวนใหญไวตามหนังสือศัพทหลักสูตรภาษาไทยนั้น โดยแกไขปรับปรุงอธิบายเพิ่มหรือเขียนขยายบางเพียงบางคํา และเติมศัพทนักธรรมที่ตกหลนและ ศัพททั่วไปอันควรรูที่ยังไมมี เขามาบาง รวมแลว เปนขอมูลของเกากับของใหมราวครึ่งตอครึ่ง หลังจากพิมพออกมาแลว พจนานุกรมเลมนี้ก็มีชะตากรรมที่ขึ้นตอระบบการพิมพยุคนั้น โดยเฉพาะตนแบบซึ่งอยูในแผนกระดาษที่ตายตัว แทบปรับเปลี่ยนอะไรไมไดเลย การพิมพครั้ง ตอๆ มา ตองพิมพซ้ําตามตนแบบเดิม ถาจําเปนตองแกไข ก็แกไดเพียง ๔–๕ บรรทัด ยิ่งตอมา แผนกระดาษตนแบบก็ผุเปอย โดยเฉพาะพจนานุกรมนี้ ตนแบบที่ทําขึ้นใหมในการพิมพครั้งที่ ๒ ไดสูญหายไปตั้งแตพิมพเสร็จ การพิมพตอนั้นมาตองใชวิธีถายภาพจากหนังสือที่พิมพครั้งกอนๆ แตกระนั้น พจนานุกรมนี้ยังมีศัพทและคําอธิบายที่จะตองเพิ่มอีกมาก เมื่อแกไขของเดิมไม ได พอถึงป ๒๕๒๘ จะพิมพครั้งที่ ๓ จึงใสสวนเพิ่มเขามาตางหากตอทายเลมเปน “ภาคผนวก” (มี ศัพทตั้งหรือหัวศัพทเพิ่ม ๑๒๔ ศัพท รวม ๒๔ หนา) จากนั้นมา ก็ไดแคพิมพซ้ําเดิมอยางเดียว ๒. เขาสูยุคขอมูลคอมพิวเตอร เมื่อเวลาผานมาถึงยุคคอมพิวเตอร ก็มองเห็นทางวาจะแกไข–ปรับปรุง–เพิ่มเติมพจนานุกรม นี้ได แตก็ตองรอจุดตั้งตนใหม คือพิมพขอมูลพจนานุกรมในเลมหนังสือ ลงในคอมพิวเตอร แมจะตองใชเวลาและแรงงานมาก ก็มีทานที่สมัครใจเสียสละ ไดพิมพขอมูลหนังสือ พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ลงในคอมพิวเตอร โดยมิไดนัดหมายกัน เทาที่ทราบ ๔ ชุด เริ่มดวยพระมหาเจิม สุวโจ แหงมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ที่ทํางานอยูหลายปจนเตรียมขอมูล เสร็จแลวมอบมาใหเมื่อวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๑ แลวก็มีชุดของผูอื่นตามมาอีก ทั้งที่มีขอมูลในคอมพิวเตอรแลว ผูจัดทําเองก็ไมมีเวลาตรวจ เวลาผานมาจนกระทั่ง รศ. ดร. สมศีล ฌานวังศะ ราชบัณฑิต (มีบุตรหญิง–ชาย คือ น.ส.ภาวนา ตั้งแตยังเปน ด.ญ.ภาวนา ฌานวังศะ และนองชาย คือ นายปญญา ตั้งแตยังเปน ด.ช.ปญญา ฌานวังศะ เปนผูชวยพิมพขอมูล) นอกจาก พิมพขอมูลหนังสือลงในคอมพิวเตอรแลวยังชวยรับภาระในการพิสูจนอักษร(ตรวจปรูฟ)ตลอดเลม นอกจากตรวจเองแลว ก็ยังหาพระชวยตรวจทานอีก ใหแนใจวาขอมูลใหมในระบบคอมพิวเตอรนี้ ตรงกับขอมูลเดิมในเลมหนังสือ แลวในที่สุด พจนานุกรมนี้ก็พิมพเสร็จออกมาใน พ.ศ. ๒๕๔๖ เนื่องจากผูจัดทําเองยังไมมีเวลาแมแตจะตรวจปรูฟ พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวล ศัพท พิมพครั้งที่ ๑๐ ที่เสร็จออกมาในพ.ศ.๒๕๔๖ ซึ่งเปนครั้งแรกที่ใชขอมูลในระบบคอมพิวเตอร จึงมีหลักการทั่วไปวา ใหคงเนื้อหาไวอยางเดิมตามฉบับเรียงพิมพเกายังไมปรับปรุงหรือเพิ่มเติม
  • 7. ง ค) งานเริ่มเขาทาง: ชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑ ๑. ผานไป ๒๘ ป จึงถึงทีชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑ บัดนี้ เวลาผานไป ๒๙ ปแลว นับแตพิมพ พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ออก มาครั้งแรก ใน พ.ศ. ๒๕๒๒ ขอมูลสวนใหญในพจนานุกรมนั้น ยังเปนขอมูลพื้นฐานที่ตั้งใจวาจะ ชําระ-เพิ่มเติม แตก็ขัดของตลอดมา ในชวง ๒๔ ปแรก ติดขัดดวยระบบการพิมพไมเอื้อแลวความบีบคั้นดานเวลาก็ซ้ําเขาไป สวน ในชวง ๔ ปที่ชิดใกลนี้ ทั้งที่มีขอมูลสะดวกใชอยูในคอมพิวเตอร ก็ติดขัดดวยขาดเวลาและโอกาส จนมาถึงขึ้นปใหม๒๕๕๐นี้ เมื่อหาโอกาสปลีกตัวจากวัด พอดีโรคทางเดินหายใจกําเริบขึ้นอีก คออักเสบลงไปถึงสายเสียง พูดยากลําบาก ตอดวยกลามเนื้อยึดสายเสียงอักเสบ โรคยืดเยื้อเกิน ๒ เดือน ไดไปพักรักษาตัวในชนบทนานหนอย เปนโอกาสใหไดเริ่มงานชําระ-เพิ่มเติมพจนานุกรม แตในขั้นนี้ เรงทําเฉพาะสวนรีบดวนและสวนที่พบเฉพาะหนาใหเสร็จไปชั้นหนึ่งกอน เรียกวา “งานชําระ-เพิ่ม เติม ชวงที่ ๑” คิดวาลุลวงไปไดทีหนึ่ง คงจะปดงานจัดใหพรอมเพื่อเขาโรงพิมพไดทันกอนโรคจะหาย แตแลวก็ไมเปนไปอยางนั้น จึงมีเรื่องตองเลาตออีก ๒. อะไรมากับ และจะมาตาม การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑ งานชําระ-เพิ่มเติมนี้ คือการทําให พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท มีคุณสมบัติ เต็มตามความมุงหมาย เพราะหนังสือที่พิมพเรื่อยมานั้น จัดทําขึ้นอยางรวบรัดเพื่อพอใชไปพลาง กอน เพียงเปนขอมูลพื้นฐานอยางที่กลาวแลว (มีบางบางคําที่มีโอกาสขยายความไปกอนแลว) เนื่องจากตระหนักวา จะไมมีโอกาสทํางานชําระ-เพิ่มเติมอยางตอเนื่องใหเสร็จสิ้นไปในคราว เดียว จึงกะวาจะแบงงานนี้เปน ๓ ชวง สําหรับชวงที่ ๑ คิดวาเพียงจะแกไขปรับปรุงขอขาดตกบก พรองที่พบเฉพาะหนา โดยเฉพาะสวนหลงตาที่บังเอิญพบ และเพิ่มเติมคําศัพทและคําอธิบายที่รีบ ดวน หรือบังเอิญนึกได เสร็จแลวก็พิมพออกไปทีหนึ่งกอน งานปรับปรุงนอกจากนั้น เอาไวทําใน ชวงที่ ๒ และ ชวงที่ ๓ อยางไรก็ดี เมื่อตกลงยุติงานชวงที่ ๑ วาพอเทานี้กอน (๑๖มี.ค.๒๕๕๐) พอดีไดอานจดหมาย ของพระมหานิยม สีลสํวโร (เสนารินทร) ที่สงมาตั้งแต ๑๘ พ.ย. ๒๕๔๗ ก็มองเห็นวา ทานแจงคํา ผิด-ตก ที่สําคัญ แมจะมากแหง ก็ใชเวลาแกไขไมมาก จึงทําใหเสร็จไปดวยในคราวนี้ รวมเพิ่มที่แก ไขอีกราว ๕๐ แหง อีกทั้งไดเห็นชัดวา ดวยฉันทะของทานเอง พระมหานิยมตรวจพจนานุกรม โดย เทียบกับเลมเดิมที่เปนตนฉบับไปดวยนี้ ทานใชเวลาอานจริงจังละเอียด จนทําใหคิดวา ในการ ชําระ-เพิ่มเติมชวงที่ ๒ ที่จะอานอยางตรวจปรูฟตลอดดวยนั้น งานสวนนี้คงเบาลงมาก จะไดมุงไป ที่งานเพิ่มเติม-ปรับปรุงทั่วไป จึงขออนุโมทนาพระมหานิยม สีลสํวโร ไว ณ ที่นี้ พอจะปดงาน หันมาดูรายการศัพทที่พระธรรมรักษาแจงมาตั้งแต ๑๔ ธ.ค.๒๕๒๘ จนถึง ก.ค. ๒๕๒๙วาไมพบในพจนานุกรมฯรวมได๒๘คําเปนศัพทในอรรถกถาชาดกแทบทั้งนั้นเห็นวานาจะทํา ใหเสร็จไปดวยเลย จึงตัดคํานอกขอบเขตออกไป ๖ ศัพท (๑๙ หัวศัพทที่ทําเพิ่มตามเสนอของพระ
  • 8. จ ธรรมรักษาคือจุลกฐิน ฉาตกภัย ธุวภัต นิพัทธทาน บุพจริยา ประชุมชาดก ปาฏิหาริยปกษ พาหิรทาน พาหิรภัณฑ วิตถารนัย สัตตสดกมหาทาน สัมมานะ สาธุกีฬา สุคโตวาท อธิคมธรรม อภิสัมพุทธคาถา อสทิสทาน อุปทวะ อุยยานบาล, อุทยานบาล) แลวแถมเองอีกประมาณ ๒๐ คํา ใชเวลาคน-เขียนจน เสร็จอีก ๔ วัน (ของพระมหานิยมราว ๕๐ ศัพท ทานตรวจใชเวลามากมาย แตเปนการแกคําที่พิมพ ผิด-ตก จึงใชเวลาเพียง ๖.๔๐ ชม. ก็เสร็จ สวนของพระธรรมรักษา แจงคําที่ไมเจอ แมจะนอย ทําแค ๑๙ หัวศัพทแตตองเขียนเพิ่มใหม จึงใชเวลามาก) ขออนุโมทนาพระธรรมรักษาดวย มีจุดหนึ่งซึ่งการแกปญหาคอนขางซับซอน คือ คํา “อสิตดาบส” ที่ไดรับความเอื้อเฟอจาก รอง ศาสตราจารย ดร.ภัทรพร สิริกาญจน แจงใหทราบวา ทานที่ทํางานวิชาการ ทั้งฝายผูเสนองาน และ ฝายผูพิจารณางาน ประสบความติดของ เพราะหลักฐานชั้นตนกับเอกสารอางอิง มีขอมูลขัดแยงกัน ใบแจงของ ดร.ภัทรพร สิริกาญจน ชวยทําใหเอะใจและไดตรวจสอบขอมูล ซึ่งไดแกปญหาดวยวิธี บอกขอมูลไปตามที่เปนของแหลงนั้นๆ โดยไมวินิจฉัย ขออนุโมทนาทานผูแจง เปนอยางยิ่ง เมื่องานปรับแกเพิ่มเติมดําเนินมาถึงวันที่๒๔มีนาคม๒๕๕๐มีศัพทตั้งที่เพิ่มขึ้นและที่มีความ เปลี่ยนแปลงราว ๓๑๗ หัวศัพท (ไมนับการแกคําผิด-ตก ที่พระมหานิพนธชวยแจงมาราว ๕๐ แหง) หนังสือหนาเพิ่มขึ้น ๔๘ หนา (จากเดิม ๓๗๖ หนา เปน ๔๒๔ หนา) คิดวาจะยุติเทานี้และสงโรงพิมพ อยางไรก็ดี เมื่อเหลือบไปดูในหนังสือที่พิมพรุนเกา พ.ศ.๒๕๒๗ ซึ่งใชเปนที่ทยอยบันทึกศัพท ที่นึกขึ้นมาวาควรเพิ่มหรือควรปรับปรุง ก็ไดเห็นวาบางศัพทนาจะเติมลงไปในคราวนี้ดวย ก็เลยรอเพิ่ม อีกหนอย พอทําคํานี้เสร็จ เห็นวาคํานั้นก็นาทํา ก็เติมอีกหนอย แลวมีงานอื่นที่เรงแทรกเขามาเปน ระยะๆ รวมแลวงานอื่นแทรกราว๘เดือน และมีเวลาทํายืดมาราว๖ เดือน ทําไปทํามาก็ยุติลงในบัดนี้ การแกไขและเพิ่มเติมทั้งหมดนี้ เปนการทําเปนจุดๆ มุงจําเพาะไปที่จุดนั้นๆ จึงยังไมไดตรวจดู ทั่วตลอดทั้งเลม การแกคําที่พิมพผิดและการเพิ่มศัพทใหมจํานวนมาก เปนเรื่องที่มาจากความบังเอิญ พบบังเอิญเห็น เชน จะดูคํา “สรณคมน” วาควรอธิบายเพิ่มเติมหรือไม พอดีเหลือบไปเห็นคํา “สรภัญญะ” ซึ่งอยูใกลๆ ทั้งที่ไมไดนึกไววาจะทําอะไรกับคํานี้เลย แตพอเห็นวาไดใหความหมายไวสั้น นัก ก็เลยเขียนอธิบายใหมอยางคอนขางยาว, จะอธิบายคําวา “ภาณวาร” ใหชัดขึ้น ก็พลอยนึกถึงคําวา “ภาณยักษ” ดวย ทั้งที่เดิมไมมีคํานี้ และไมไดตั้งใจมาแตเดิม ก็เลยบรรจุ “ภาณยักษ” เขามาดวย และ อธิบายเสียยาว, คําวา “ถวายพรพระ” “คาถาพาหุง” “ชัยมงคลคาถา” ฯลฯ ก็เขามาโดยบังเอิญทํานองนี้ แมคําที่พิมพผิด ซึ่งยังไมไดตั้งใจจะตรวจปรูฟ ก็พบโดยบังเอิญและแกไปมากมาย แมกระทั่ง เมื่อหนังสือใกลจะเสร็จ เชน จะเติมขอความ ๑ บรรทัดวา “ศาสนวงศ ดู สาสนวงส” ตอนนั้นจะตอง รักษาใหขอความบรรทัดแรกและบรรทัดสุดทายของหนานั้นคงอยูที่เดิม จึงตองลดบรรทัดในหนานั้น ลง ๑ บรรทัด ทําใหตองอานหาคําศัพทในหนานั้นซึ่งมีคําอธิบายที่พอจะบีบใหบรรทัดนอยลง ก็เลย เจอโดยบังเอิญวา ที่คํา “ศีล ๘” มีขอความวา “จะรักษาประจําใจก็ได” เกิดความสงสัยวา ไมนาจะมี “ใจ” จึงเปดหนังสือเกาสมัยปกสีสมดู พบวามีแต “ประจํา” จึงไดแกโดยตัด “ใจ” ออกไป หรืออยาง เมื่อตรวจดูความเรียบรอยของหัวศัพทที่ขึ้นไปปรากฏบนหัวกระดาษ ก็ทําใหบังเอิญพบหัวศัพทที่พิมพ ผิด “สปทาจาริกังคะ” (สปทานจาริกังคะ) และ “อปโลกนธรรม” (อปโลกนกรรม) จึงไดแกใหถูกตอง
  • 9. ฉ ๓. การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑ ทําใหมีความเปลี่ยนแปลงอะไร การชําระ-เพิ่มเติมชวงที่ ๑ นี้ ถือวายุติลงในวันที่ ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๑ ไดทําให พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท มีศัพทที่เพิ่มขึ้นและที่มีความเปลี่ยนแปลงรวม ประมาณ ๑,๑๐๐ หัวศัพท กลายเปนเพิ่มอีก ๒๐๔ หนา (จากเดิม ๓๗๖ หนา เปน ๕๘๐ หนา) หัวศัพท ที่มีการปรับแก และที่เพิ่มใหมในระยะ ๒ เดือนแรก มี ตัวอยาง ดังนี้ กัป,กัลป กิริยา กิเลสพันหา คงคา คณาจารย เครื่องราง ชุมนุมเทวดา ตัณหา ๑๐๘ ทักขิณาบถ ทีฆนขสูตร ธรรมราชา ธัญชาติ นัมมทา บริขาร บุพการ บุพนิมิตแหงมรรค ปกตัตตะ ปปญจะ ปริตร,ปริตต ปญญา ๓ พรหมจรรย มหานที ๕ มหายาน มาตรา มานะ ยถากรรม ยมุนา โยนก โวการ (เชน จตุโวการ) สมานฉันท สรภู สังคายนา สัจกิริยา สัจจาธิฏฐาน สีหนาท สุตะ หีนยาน อจิรวดี อธิษฐาน อธิษฐานธรรม อภิสัมพุทธคาถา อโศกมหาราช อาภัพ อายุ อายุสังขาร อาสภิวาจา อุตราบถ อุทยาน หัวศัพท ที่มีการปรับแก และที่เพิ่มใหมในระยะ ๑๔ เดือนหลัง มี ตัวอยาง ดังนี้ กรรมวาท กลาป คันธกุฎี คามวาสี คิหิวินัย จุณณิยบท จูฬมัชฌิมมหาศีล ฉันมื้อเดียว ชยมังคลัฏฐกคาถา ชวนะ ญาณ ๑๖ เดน ตุลา ถวายพรพระ ธรรมทูต ธรรมสภา บังสุกุลตาย-เปน ปฏิกรรม ปรมัตถธรรม ปานะ โปราณัฏฐกถา พุทธาวาส ภาณยักษ ยมกปาฏิหาริย รูปรูป,สุขุมรูป วิถีจิต วิปสสนูปกิเลส สมานฉันท สรณคมน สรภัญญะ สังฆาวาส สารีริกธาตุ สุวรรณภูมิ สูกรมัททวะ อตัมมยตา อภิธัมมัตถสังคหะ อรรถกถา อรัญวาสี อัชฏากาศ อากาศ อุปฏฐานศาลา เอตทัคคะ การชําระ-เพิ่มเติมนี้ ทําให พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท มีลักษณะคืบเคลื่อน เขาไปใกลงานคางที่ ๓ ซึ่งไดหยุดลงเมื่อใกลสิ้นป ๒๕๒๑ เชน คํา “กัป, กัลป” ในการพิมพครั้ง ที่ ๑๐ พ.ศ. ๒๕๔๖ มีคําอธิบาย ๑๒ บรรทัด แตในฉบับชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑ นี้ ขยายเปน ๑๑๓ บรรทัด เมื่อนําไปเทียบกับฉบับงานคางที่ ๓ นั้น (ในการเขียนขยายคราวนี้ ไมไดหันไปดู งานคางนั้นเลย) ปรากฏวา คําอธิบายในฉบับชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑ นี้ ยังสั้นกวาเกาเกือบครึ่งหนึ่ง ถาตองการมองใหชัดวางานชําระ-เพิ่มเติมมีลักษณะอยางไร จะดูไดงายที่คําตัวอยางขางบน นั้น เฉพาะอยางยิ่งคําวา กัป,กัลป; กิเลสพันหา; เครื่องราง; ชาดก; ทักขิณาบถ; นัมมทา; บริขาร; ปริตร,ปริตต; ภาณวาร; มานะ; ยถากรรม; สรภัญญะ; สัจกิริยา; อธิษฐาน; อายุ บัดนี้ งานชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑ ไดเสร็จสิ้นแลว โดยกําหนดเอาเองวาเพียงเทานี้ แตงาน ชําระ-เพิ่มเติมชวงที่๒ และ ๓ ซึ่งรอขางหนา มีมากกวา ขอทําความเขาใจรวมกันวา ตามที่คิดไว งานตรวจชําระ ๓ ชวง จะเปนดังนี้
  • 10. ช การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑: แกไขปรับปรุงขอขาดตกบกพรองที่พบเฉพาะหนา โดยเฉพาะ สวนหลงตาที่บังเอิญพบ และเพิ่มเติมคําศัพทและคําอธิบายที่รีบดวน หรือบังเอิญนึกได รวมทั้ง ศัพทที่บันทึกไวระหวางเวลาที่ผานมา (ไดเลือกทําแลวเฉพาะคําที่ไมซับซอนนัก) และบางคําที่ทานผู ใชหนังสือ ไดมีน้ําใจแจงมาวาเจอคําผิดหรือคนหาไมพบ การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๒: อาน-ตรวจตลอดเลม เพื่อจะไดมองเห็นคําพิมพผิด คําตก จุดและแงที่จะแกไข-ปรับปรุง-เพิ่มเติมทั่วทั้งหมด พรอมทั้งจัดปรับคําอธิบายศัพททั้งของเดิมและ สวนที่เพิ่มเติม ใหเขามาตรฐานเดียวกัน ทั้งในแงการแสดงความหมาย วิธีอธิบาย และอัตราสวน ความยาวที่สัมพันธกับความสําคัญของศัพทนั้นๆ การชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๓: มุงที่การจัดระบบ เพื่อใหสม่ําเสมอ กลมกลืน เปนแบบแผน อันเดียวกันและทั่วกัน เชน มีคําอาน บอกที่มาในคัมภีร แสดงคําเดิมในภาษาบาลีและสันสกฤต และถาเปนไปได ใหคําแปลภาษาอังกฤษของศัพทตั้งหรือหัวศัพท พรอมทั้งแผนที่และภาพประกอบ งานชําระ-เพิ่มเติม ชวงที่ ๑ ไดเสร็จสิ้นลง โดยกําหนดเอาเองวาแคนี้กอน แตชวงที่ ๒ และ ชวงที่ ๓ ไมอาจคาดหมายวาจะเสร็จเมื่อใด หากไมนิราศ-ไมไดโอกาสจากโรค ก็กลาวไดเพียงวา อยูในความตั้งใจที่จะทําตอไป พระพรหมคุณาภรณ (ป. อ. ปยุตฺโต) ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๑
  • 11. คําปรารภ (ในการพิมพครั้งที่ ๑๐) เมื่อกลาวถึง พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท หลายทานนึกถึง พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม ดวย โดยเขาใจวาเปนหนังสือชุดที่มีสองเลมรวมกัน แตแทจริงเปนหนังสือที่เกิดขึ้นตาง หากกัน ตางคราวตางวาระ และมีความเปนมาที่ทั้งตางหากจากกัน และตางแบบตางลักษณะกัน ก. ความเปนมา ชวงที่ ๑: งานสําเร็จ แตขยายไมได พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม เปนหนังสือที่คอยๆ กอตัวขึ้นทีละนอย เริ่มจากหนังสือ Student’s Thai–Pali–English Dictionary of Buddhist Terms เลมเล็กๆ ที่จัดทําเสร็จใน พ.ศ. ๒๕๐๖ ตอแตนั้นก็ไดปรับปรุง–เพิ่มเติม–ขยายขนาดขึ้นเรื่อยๆ และไดขยายขอบเขตออกไปจนกลายเปนงานที่มี ลักษณะเปนสารานุกรม เมื่อเวลาผานไปๆ ก็มองเห็นวางานทําสารานุกรมจะกินเวลายืดเยื้อยาวนานมาก ยิ่งมีงานอื่นแทรกเขา มาบอยๆ ก็ยิ่งยากที่จะมองเห็นความจบสิ้น ในที่สุดจึงตกลงวาควรทําพจนานุกรมขนาดยอมๆ ขั้นพื้นฐาน ออกมากอน และไดรวบรวมคัดเลือกหมวดธรรมมาจัดทําคําอธิบายขึ้น ซึ่งไดบรรจบรวมกับหนังสือเลมเล็ก เดิมที่สืบมาแต พ.ศ. ๒๕๐๖ กลายเปนภาคหนึ่งๆ ใน ๓ ภาคของหนังสือที่รวมเปนเลมเดียวกันอันมีชื่อวา พจนานุกรมพุทธศาสตร เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๕ กาลลวงมาจนถึง พ.ศ. ๒๕๒๘ พจนานุกรมพุทธศาสตร ซึ่งพิมพครั้งที่ ๔ จึงมีชื่อปจจุบันวา พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม เพื่อใหเขาคูกับพจนานุกรมอีกเลมหนึ่งที่เปลี่ยนจากชื่อเดิมมา เปน พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ถึงวาระนี้ พจนานุกรมสองเลมนี้จึงเสมือนเปนหนังสือที่รวมกันเปนชุดอันเดียว พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ที่วานั้น เปนหนังสือที่เกิดขึ้นแบบทั้งเลมฉับพลันทันที โดยแทรกตัวเขามาใน พ.ศ. ๒๕๒๒ ระหวางที่งานทําพจนานุกรมซึ่งขยายขอบเขตออกไปจนจะเปนสารานุกรม นั้น กําลังดําเนินอยู เนื่องจากผูรวบรวมเรียบเรียงเห็นวางานทําสารานุกรม คงจะกินเวลายืดเยื้อไปอีกนาน และ พจนานุกรมพุทธศาสตร ที่ทําเสร็จไปแลว ก็มีเฉพาะดานหลักธรรมซึ่งจัดเรียงตามลําดับหมวดธรรม ควรจะมี พจนานุกรมเลมเล็กๆ งายๆ วาดวยพระพุทธศาสนาทั่วๆ ไป แบบเรียงตามลําดับอักษร ที่พอใชประโยชนพื้นๆ สําหรับผูเลาเรียนในขั้นตน โดยเฉพาะนักเรียนนักธรรม ออกมากอน พรอมนั้นก็พอดีประจวบเหตุผลอีกอยางหนึ่งมาหนุน คือ ไดเห็นหนังสือ ศัพทหลักสูตรภาษาไทย สําหรับนักธรรม ชั้นตรี ชั้นโท และชั้นเอก ที่มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยจัดพิมพออกมาใน พ.ศ. ๒๕๐๓ เหลืออยูจํานวนมากมาย และดูเหมือนวาไมมีใครเอาใจใส หนังสือ ศัพทหลักสูตรภาษาไทย ชุดนั้น ทาง มจร. จัดพิมพขึ้นมาเพื่อสนองความตองการของ นักเรียนนักธรรมที่จะตองสอบวิชาใหมซึ่งเพิ่มเขามาในหลักสูตร คือวิชาภาษาไทย แตแทบจะยังไมทันไดเผย แพรออกไป วิชาภาษาไทยนั้นก็ไดถูกยกเลิกเสีย หนังสือชุดนั้นจึงถูกทอดทิ้ง ไดมองเห็นวา หนังสือ ศัพทหลักสูตรภาษาไทย นั้น ไมควรจะถูกทิ้งไปเสียเปลา ถานํามาจัดเรียงใหมในรูป พจนานุกรม ก็จะใชประโยชนได อยางนอยศัพทตั้งหรือหัวศัพทที่มีอยูก็จะทุนแรงทุนเวลาในการเก็บศัพทเปนอันมาก
  • 12. ฌ โดยนัยนี้ ก็ไดนําหนังสือ ศัพทหลักสูตรภาษาไทย ชุดนั้นทั้ง ๙ ภาค (ศัพทสําหรับนักธรรมตรี–โท–เอก ชั้นละ ๓ วิชา จึงมีชั้นละ ๓ ภาค พิมพรวมเปนชั้นละเลม) มาจัดเรียบเรียงเปนพจนานุกรมเลมเดียว ดังไดเลา ไวแลวใน “แถลงการจัดทําหนังสือ ประกาศพระคุณ ขอบคุณ และอนุโมทนา (ในการพิมพครั้งที่ ๑)” ศัพทจํานวนมากทีเดียว ที่งายๆ พื้นๆ และตองการเพียงความหมายสั้นๆ หรือคําอธิบายเพียงเล็ก นอย ไดคงไวตามเดิมบาง แกไขปรับปรุงบาง สวนศัพทที่ตองการคําอธิบายยาวๆ ก็เขียนขยาย และศัพท สําหรับการเรียนนักธรรมที่ตกหลนหรือศัพททั่วไปอันควรรูที่ยังไมมี ก็เติมเขามา รวมเปนของเกากับของใหม ประมาณครึ่งตอครึ่ง จึงเกิดเปนพจนานุกรม ซึ่งในการพิมพครั้งแรก พ.ศ. ๒๕๒๒ เรียกชื่อวา พจนานุกรม พุทธศาสน ฉบับครู นักเรียน นักธรรม ตอมา ในการพิมพครั้งที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๒๗ พจนานุกรมเลมนั้นไดเปลี่ยนมีชื่ออยางปจจุบันวา พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท คือหนังสือเลมนี้ เมื่อมีการเผยแพรมากขึ้น ผูขออนุญาตพิมพบางแหงจึงไดนําพจนานุกรมทั้งสองเลมนี้มาจัดรวมกัน เปนชุด และลาสุดบางทีถึงกับทํากลองใสรวมกัน แมจะมีประวัติแหงการเกิดขึ้นตางหากกัน แตพจนานุกรมสองเลมนี้ก็มีลักษณะที่เหมือนกันอยางหนึ่ง คือเปนงานในชวงระหวางที่งานทําพจนานุกรมซึ่งตอเนื่องมาแตเดิมและขยายออกไปจนกลายเปนสารานุกรม แสดงอาการวาจะเปนเรื่องยืดเยื้อตองรออีกยาวนาน หลังจากการพิมพลงตัวแลว พจนานุกรมสองเลมนี้ก็มีชะตากรรมอยางเดียวกัน คือขึ้นตอระบบการทํา ตนแบบและการพิมพยุคกอนนั้น ซึ่งตนแบบอยูในแผนกระดาษที่ตายตัว แกไขและขยับขยายไดยาก ยิ่งเปน หนังสือขนาดหนาและมีรูปแบบซับซอน ก็แทบปรับเปลี่ยนอะไรไมไดเลย ดวยเหตุนี้ การพิมพพจนานุกรมสองเลมนั้นในครั้งตอๆ มา จึงตองพิมพซ้ําตามตนแบบเดิม ถาจํา เปนจริงๆ ที่จะตองแกไข ก็แกไดเพียง ๔–๕ บรรทัด ยิ่งเมื่อเวลาผานมานานขึ้น แผนกระดาษตนแบบทั้งหมด ก็ผุเปอยหรือสูญหายไป (ตนแบบของ พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ซึ่งทําขึ้นใหมในการพิมพ ครั้งที่ ๒ ไดสูญหายไปตั้งแตเมื่อการพิมพครั้งที่ ๒ นั้นเสร็จสิ้นลง) ทําใหการพิมพตอจากนั้นตองใชวิธีถาย ภาพจากหนังสือที่พิมพครั้งกอนๆ ซึ่งจะไดตัวหนังสือที่เลือนลางลงไปเรื่อยๆ ไดแตรอเวลาที่จะพิมพทําตน แบบขึ้นใหม โดยจะถือโอกาสเพิ่มเติมดวยพรอมกัน อยางไรก็ตาม เนื่องจาก พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท นี้ มีศัพทและคําอธิบายที่จะเพิ่ม มากมาย เมื่อแกไขตนแบบเดิมไมได ก็จึงใสสวนเพิ่มเขามาตางหากตอทายเลมในการพิมพครั้งที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๒๘ โดยทําเปน “ภาคผนวก” (มีศัพทตั้งหรือหัวศัพทเพิ่ม ๑๒๔ ศัพท รวม ๒๔ หนา ขยายขนาดเลม หนังสือเฉพาะตัวพจนานุกรมแทๆ ขึ้นเปน ๔๖๖ หนา) ตอแตนั้นมา ก็พิมพซ้ําอยางที่กลาวขางตน ข. ความเปนมา ชวงที่ ๒: เขายุคใหม มีฐานที่จะกาวตอ ระหวางรอเวลาที่จะพิมพทําตนแบบใหม พรอมกับเขียนเพิ่มเติม ซึ่งมองไมเห็นวาจะมีโอกาสทําไดเมื่อ ใด กาลก็ลวงมา จนถึงยุคคอมพิวเตอร ระบบคอมพิวเตอรไดชวยใหการพิมพเจริญกาวหนาอยางมหัศจรรย ซึ่งแกปญหาสําคัญในการทํา พจนานุกรมไดทั้งหมด โดยเฉพาะ • การพิมพขอมูลใหมทําไดอยางดีและคลองสะดวก • รักษาขอมูลใหมนั้นไวไดสมบูรณและยืนนาน โดยมีคุณภาพคงเดิม หรือจะปรับใหดียิ่งขึ้นก็ได
  • 13. ญ • ขอมูลใหมที่เก็บไวนั้น จะแกไข–ปรับปรุง–เพิ่มเติม ที่จุดไหนสวนใด อยางไร และเมื่อใด ก็ไดตาม ปรารถนา ถึงตอนนี้ ก็เห็นทางที่จะทําใหงานทําพจนานุกรมกาวตอไป แตก็ตองรอขั้นตอนสําคัญ คือจุดตั้งตน ครั้งใหม ไดแกการพิมพขอมูลพจนานุกรมทั้งหมดในเลมหนังสือลงในคอมพิวเตอร ซึ่งตองใชเวลาและแรง งานมากทีเดียว ถามีขอมูลที่พิมพลงในคอมพิวเตอรไวพรอมแลว ถึงจะยังไมมีเวลาที่จะแกไข–ปรับปรุง–เพิ่มเติม ก็ อุนใจได เพราะสามารถเก็บรอไว มีโอกาสเมื่อใด ก็ทําไดเมื่อนั้น แตตองเริ่มขั้นเตรียมขอมูลนั้นใหไดกอน ขณะที่ผูรวบรวมเรียบเรียงเองพิมพดีดไมเปน กับทั้งมีงานอื่นพันตัวนุงนัง ไมไดดําเนินการอันใดใน เรื่องนี้ ก็ไดมีทานที่มีใจรักและทานที่มองเห็นประโยชน ไดพิมพขอมูล พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวล ศัพท ทั้งหมดของเลมหนังสือลงในคอมพิวเตอร ดวยความสมัครใจของตนเอง โดยมิไดนัดหมาย เทาที่ทราบ/ เทาที่พบ ๔ ราย เปน ๔ ชุด คือ ๑. พระมหาเจิม สุวโจ แหงสถาบันวิจัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ไดเริ่มจัดทํางานนี้ตั้งแตระยะ ตนๆ ของยุคแหงการพิมพดวยระบบคอมพิวเตอร ซึ่งทั้งอุปกรณและบุคลากรดานนี้ยังไมพรั่งพรอม ใชเวลา หลายป จนในที่สุด ไดมอบขอมูลที่เตรียมเสร็จแลวแกผูรวบรวมเรียบเรียง เมื่อวันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๕๔๑ ขอมูลที่พระมหาเจิม สุวโจ เตรียมไวนี้ ไดจัดวางรูปแบบเสร็จแลว รอเพียงงานขั้นที่จะสงเขาโรงพิมพ รวมทั้งการตรวจครั้งสุดทาย นับวาพรอมพอสมควร แตผูรวบรวมเรียบเรียงก็ไมมีเวลาตรวจ เวลาก็ผานมาเรื่อยๆ ๒. รศ. ดร.สมศีล ฌานวังศะ ราชบัณฑิต ไดเตรียมขอมูลพจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท (พรอมทั้งพจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม) โดยบุตรหญิง–ชาย คือน.ส.ภาวนา ตั้งแตยังเปน ด.ญ.ภาวนา ฌานวังศะ และนองชาย คือ นายปญญา ตั้งแตยังเปนด.ช.ปญญา ฌานวังศะ ไดชวยกันแบงเบา ภาระดวยการพิมพขอมูลทั้งหมดของเลมหนังสือลงในคอมพิวเตอร ภายใตการดูแลของ ดร.สมศีล ฌานวังศะ ซึ่งเปนผูตรวจความเรียบรอยและจัดรูปแบบขอมูลนั้นตามเลมหนังสืออีกทีหนึ่ง ๓. พระไตรปฎก (ในแผน CD – ระบบคอมพิวเตอร) ฉบับสมาคมศิษยเกา มหาจุฬาลงกรณราช- วิทยาลัย ซึ่งเสร็จออกเผยแพรในชวงตนของ พ.ศ. ๒๕๔๓ ไดขอบรรจุ พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับ ประมวลธรรม และ พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ไวในโปรแกรมดวย ผูจัดทําจึงไดพิมพขอมูล ทั้งหมดของหนังสือทั้งสองเลมนั้นลงในคอมพิวเตอร แตเนื่องจากเปนขอมูลสําหรับโปรแกรมคอมพิวเตอร จึง ไมไดจัดรูปแบบเพื่อการตีพิมพอยางเลมหนังสือ ๔. พจนานุกรมพุทธศาสน (ในแผน CD – ระบบคอมพิวเตอร) รุน ๑.๕ (ในโปรแกรมวา พจนานุกรม พุทธศาสตร Version <1.2>) พ.ศ. ๒๕๔๔ จัดทําโดยคณะวิศวกรรมศาสตรคอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยรังสิต ซึ่งก็ไมไดจัดรูปแบบเพื่อการตีพิมพอยางเลมหนังสือ เพราะเปนขอมูลสําหรับโปรแกรมคอมพิวเตอร ขอมูลทั้ง ๔ ชุดนี้ ผูจัดทําชุดนั้นๆ ไดนําศัพทตั้งและคําอธิบายทั้งหมดใน “ภาคผนวก” รวม ๒๔ หนา ๑๒๔ ศัพท ของฉบับเรียงพิมพระบบเกา มาแทรกเขาในเนื้อหาหลักของเลมตามลําดับอักษรเสร็จเรียบรอยดวย เมื่อมีชุดขอมูลใหเลือก ก็แนนอนวาจะตองพิจารณาเฉพาะชุดที่จัดรูปแบบไวแลวเพื่อการตีพิมพอยาง เลมหนังสือ คือชุดที่ ๑ และชุดที่ ๒ แตทั้งที่มีขอมูลนั้นแลว เวลาก็ผานไปๆ โดยผูรวบรวมเรียบเรียงมิไดดําเนินการใดๆ เพราะวาแมจะมี ขอมูลครบทั้งหมดแลว แตก็ยังมีงานสุดทายในขั้นสงโรงพิมพ โดยเฉพาะการพิสูจนอักษร (ตรวจปรูฟ) ตลอด เลมอีกครั้ง ซึ่งควรเปนภาระของผูรวบรวมเรียบเรียงเอง
  • 14. ฎ ถาจะใหผูรวบรวมเรียบเรียงพิสูจนอักษรเองอยางแตกอน การพิมพคงตองรออีกแรมป หรืออาจจะ หลายป (ยิ่งมาบัดนี้ เมื่อตาทั้งสองเปนโรคตอหินเขาอีก ก็แทบหมดโอกาส) คงตองปลอยใหพิมพครั้งใหมดวยการ ถายภาพจากหนังสือที่พิมพครั้งกอนตอไปอีก ค. ความเปนมา ชวงที่ ๓: พิมพครั้งใหม ในระบบใหม การพิมพในระบบใหมคืบหนา เมื่อ ดร.สมศีล ฌานวังศะ ชวยรับภาระขั้นสุดทายในการจัดทําตนแบบ ใหพรอมที่จะนําเขารับการตีพิมพในโรงพิมพ ในงานขั้นสุดทายนี้ สําหรับ พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม ซึ่งจัดเรียงใหมดวยระบบ คอมพิวเตอร และพิมพเปนเลมหนังสือไปแลวเปนครั้งแรก เมื่อกลางป พ.ศ. ๒๕๔๕ นั้นผูรวบรวมเรียบเรียง ไดอานตนแบบสุดทายกอนยุติ แตเมื่อมาถึง พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท ก็เปนเวลาที่ผูรวบรวม เรียบเรียงประสบปญหาจากโรคตามากแลว รวมทั้งโรคตอหิน จึงยกภาระในการตรวจปรูฟอานตนแบบแมแต ครั้งยุติให ดร.สมศีล ฌานวังศะ รับดําเนินการทั้งหมด เพียงแตเมื่อมีขอผิดแปลกนาสงสัยที่ใด ก็ไถถามปรึกษา เปนแตละแหงๆ ไป พอดีวา ผูรับภาระนอกจากมีความละเอียดและทํางานนี้ดวยใจรักแลว ยังเปนผูศึกษาวิจัยเรื่อง พจนานุกรมเปนพิเศษอีกดวย ยิ่งเมื่อไดคอมพิวเตอรมาเปนเครื่องมือ ก็ยิ่งชวยใหการจัดเรียงพิมพตนแบบ สามารถดําเนินมาจนหนังสือเสร็จเปนเลมในรูปลักษณที่ปรากฏอยูนี้ พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท พิมพครั้งที่ ๑๐ ซึ่งเปนครั้งแรกที่ใชขอมูลอันไดเตรียมขึ้น ใหมดวยระบบการพิมพแบบคอมพิวเตอรนี้ โดยหลักการ ไดตกลงวาใหคงเนื้อหาไวอยางเดิมตามฉบับเรียง พิมพระบบเกา ยังไมปรับปรุงหรือเพิ่มเติม เนื่องจากผูรวบรวมเรียบเรียงยังไมมีเวลาที่จะดําเนินการกับคํา ศัพทมากมายอันควรเพิ่มและสิ่งที่ควรแกไขปรับปรุงตางๆ ที่บันทึกไวระหวางเวลาที่ผานมา และจะรอก็ไมมี กําหนด (จุดเนนหลักอยูที่การไดฐานขอมูลในระบบคอมพิวเตอร ซึ่งทําใหพรอมและสะดวกที่จะปรับปรุงเพิ่ม เติมตอไป) ทั้งนี้ มีขอยกเวน คือ ๑. นําศัพทตั้งและคําอธิบายทั้งหมดใน “ภาคผนวก” ของฉบับเรียงพิมพระบบเกา มาแทรกเขาไปใน เนื้อหาหลักของเลมตามลําดับอักษรของศัพทนั้นๆ (ขอนี้เปนการเปลี่ยนแปลงดานรูปแบบเทานั้น สวนเนื้อหา ยังคงเดิม) ๒. เนื่องจากมีศัพทตั้ง ๘ คํา ที่ไดปรับปรุงคําอธิบายไวกอนแลว จึงนํามาใสรวมดวย พรอมทั้งถือ โอกาสแกไขเนื้อความผิดพลาด ๒–๓ แหงที่ผูใชพจนานุกรมฉบับนี้ ทั้งบรรพชิตและคฤหัสถบางทานไดแจง เขามานับแตการพิมพครั้งกอนๆ ซึ่งขอขอบคุณ–อนุโมทนาไว ณ ที่นี้ดวย ๓. มีการปรับปรุงเพิ่มเติมปลีกยอยที่พบเห็นนึกไดแลวถือโอกาสทําไปดวยระหวางทํางานขั้นสุดทาย ในการจัดทําตนแบบใหพรอมกอนจะสงเขารับการตีพิมพในโรงพิมพ กลาวคือ คําอธิบายเล็กนอยในบางแหง ซึ่งเห็นวาควรจะและพอจะใหเสร็จไปไดในคราวนี้ เฉพาะอยางยิ่ง • ไดปรับคําอธิบายคําวา ศิลปศาสตร และไดนําคําอธิบายการแบงชวงกาลในพุทธประวัติ คือชุด ทูเรนิทาน–อวิทูเรนิทาน–สันติเกนิทาน ชุดปฐมโพธิกาล–มัชฌิมโพธิกาล–ปจฉิมโพธิกาล และชุดปุริมกาล–อปร กาล มาปรับรวมกันไวที่ศัพทตั้งวา พุทธประวัติ อีกแหงหนึ่งดวย
  • 15. ฏ • ไดแยกความหมายยอยของศัพทตั้งบางคําออกจากกัน เพื่อใหเกิดความชัดเจนยิ่งขึ้น (เชน คํา วา พยัญชนะ) • ไดตัดศัพทตั้งบางคําที่เห็นวาไมจําเปนออก (เชน วงศกุล, เทวรูปนาคปรก) ๔. เนื่องจากเดิมนั้น พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท นี้ จัดทําขึ้นโดยมุงเพื่อประโยชนของ ผูเลาเรียนขั้นตน โดยเฉพาะนักธรรมตรี–โท–เอก ถอยคําใดมีในแบบเรียนนักธรรม ก็ไดรักษาการสะกดตัว โดยคงไวอยางเดิมตามแบบเรียนเลมนั้นๆ เปนสวนมาก แตในการพิมพตามระบบใหมครั้งนี้ เห็นวาควรจะคํานึงถึงคนทั่วไป ไมจํากัดเฉพาะนักธรรม จึงตกลง ปรับการสะกดตัวของบางศัพทใหเปนปจจุบัน (เชน ปฤษณา แกเปน ปริศนา) พรอมนั้น ตามที่พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน ใหหลักไววา คําที่เปนศัพทธรรมบัญญัติ จะเขียน ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หรือเขียนเต็มรูปอยางเดิมก็ได และในพจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับ ประมวลศัพท แตเดิมมาเขียนทั้งสองรูป เชน โลกุตตรธรรม–โลกุตรธรรม อริยสัจจ–อริยสัจ สวนในการพิมพ ตามระบบใหมครั้งนี้ ถาคํานั้นอยูในขอความอธิบาย ไดปรับเขียนเปนรูปเดียวกันทั้งหมด เชน โลกุตตรธรรม อริยสัจจ ทั้งนี้ เพื่อความสอดคลองกลมกลืนเปนอันเดียวกัน แตผูอานจะนําไปเขียนเองในรูปที่ประสงคก็ได ตามคําชี้แจงตนเลม ๕. แตเดิมมาหนังสือนี้มุงเพื่อประโยชนแกผูมีความรูพื้นฐานทางธรรมอยูแลว โดยเฉพาะนักเรียน นักธรรม ซึ่งถือวารูวิธีอานคําบาลีอยูแลว จึงไมไดนึกถึงการที่จะแสดงวิธีอานคําบาลีนั้นไว แตบัดนี้ไดตกลงที่ จะคํานึงถึงผูใชทั่วไป ดังนั้น ในการพิมพครั้งใหมดวยระบบใหมนี้ จึงไดแสดงวิธีอานออกเสียงศัพทตั้งบางคําเพื่อเกื้อกูลแกผู ใชที่ยังไมคุนกับวิธีอานคําที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต เชน สมสีสี [สะ-มะ-สี-สี], โอมสวาท [โอ-มะ-สะ-วาด] แตเนื่องจากยังเปนทํานองงานแถม จึงทําเทาที่นึกไดหรือพบเฉพาะหนา อาจมีคําศัพททํานองนี้อยูอีกหลายคํา ที่ยังมิไดแสดงวิธีอานออกเสียงกํากับไว อยางไรก็ตาม ในการพิมพใหมครั้งนี้ ไดแทรก “วิธีอานคําบาลี” เพิ่มเขามาดวย เพื่อใหผูใชทั่วไปทราบ หลักพื้นฐานที่พอจะนําไปใชเปนแนวทางในการอานไดดวยตนเอง โดย ดร.สมศีล ฌานวังศะ ชวยรับภาระเขียนมา งานขั้นสุดทายที่จะเขาโรงพิมพมีความละเอียด ซึ่งตองใชเวลาและเรี่ยวแรงกําลังมาก ประกอบกับผู รับภาระมีงานอื่นที่ตองรับผิดชอบอีกหลายดาน นับจากเริ่มงานขั้นสุดทายนี้ จนตนแบบเสร็จเรียบรอยนําสง โรงพิมพได ก็ใชเวลาไปหลายเดือน ทั้งนี้เพราะวา งานขั้นสุดทายกอนรับการตีพิมพมิใชเพียงการตรวจความถูกตองของตัวอักษรเทานั้น นอกจากอานปรูฟตลอดเลม ทวนแลวทวนอีกหลายเที่ยวแลว ไดถือโอกาสแหงการพิมพที่เปนการวางรูปแบบ ครั้งใหมและมีคอมพิวเตอรเปนอุปกรณนี้ ตรวจทานจัดการเกี่ยวกับความสอดคลองกลมกลืน–สม่ําเสมอ– ครบถวน โดยเฉพาะในเรื่องที่เปนระบบแบบแผน ใหลงตัวไวเทาที่จะทําได คือ ก) ความสอดคลองกลมกลืน ทั่วๆ ไป ไมวาจะเปนเครื่องหมายวรรคตอน หรือการพิมพคํา–ขนาด ตัวอักษร–รูปลักษณของตัวอักษร ทั้งคําทั่วไปและคําที่ใชในการอางอิงและอางโยง (เชน ดู เทียบ คูกับ ตรงขามกับ) ไดพยายามตรวจและแกไขใหสม่ําเสมอกันทุกแหง ข) ความถูกตองครบถวนทั่วถึง อีกหลายอยาง ที่ยังอาจตกหลนหรือขามไปในการพิมพระบบเกา โดยเฉพาะการอางโยง ไดตรวจสอบเทาที่ทําได เชน ตรวจดูใหแนใจวาศัพทตั้งทุกคําที่เปนธรรมขอยอย ได อางโยงถึงหมวดธรรมใหญที่ธรรมขอยอยนั้นแยกออกมา