SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 13
การเขียนคำาสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
ตัวแปรในภาษาซี

       ตัวแปร (Variable) คือ การจองพื้นที่ในหน่วยความจำาของ
คอมพิวเตอร์สำาหรับเก็บข้อมูลที่ต้องใช้ในการทำางานของโปรแกรม โดยมี
การตั้งชื่อเรียกหน่วยความจำาในตำาแหน่งนั้นด้วย เพื่อความสะดวกในการ
เรียกใช้ข้อมูล ถ้าจะใช้ข้อมูลใดก็ให้เรียกผ่านชื่อของตัวแปรที่เก็บเอาไว้

ชนิดของข้อมูล

        ภาษาซีเป็นอีกภาษาหนึ่งที่มีชนิดของข้อมูลให้ใช้งานหลายอย่าง
ด้วยกัน ซึ่งชนิดของข้อมูลแต่ละอย่างมีขนาดเนื้อที่ที่ใช้ในหน่วยความจำาที่
แตกต่างกัน และเนื่องจากการที่มีขนาดที่แตกต่างกันไป ดังนันในการเลือก
                                                           ้
ใช้งานประเภทข้อมูลก็ควรจะคำานึงถึงความจำาเป็นในการใช้งานด้วย สำาหรับ
ประเภทของข้อมูลมีดังนี้คือ

            ขนาด
ชนิด        ความ       ช่วงของค่า             การใช้งาน
            กว้าง
                       ASCII character
char        8 บิต                             เก็บข้อมูลชนิดอักขระ
                       (-128 ถึง 127)
Unsigned                                      เก็บข้อมูลอักขระแบบไม่คิด
            8 บิต      0-255
char                                          เครื่องหมาย
int         16 บิต     -32768 ถึง 32767       เก็บข้อมูลชนิดจำานวนเต็ม
                       -2147483648 ถึง        เก็บข้อมูลชนิดจำานวนเต็ม
long        32 บิต
                       2147483649             แบบยาว
                       3.4E-38 ถึง 3.4E+38
Float       32 บิต     หรือ ทศนิยม 6       เก็บข้อมูลชนิดเลขทศนิยม
                       ตำาแหน่ง
                       1.7E-308 ถึง
Double      64 บิต     1.7E+308 หรือ          เก็บข้อมูลชนิดเลขทศนิยม
                       ทศนิยม 12 ตำาแหน่ง
Unsigned                                      เก็บข้อมูลชนิดจำานวนเต็ม
            16 บิต     0 ถึง 65535
int                                           ไม่คิดเครื่องหมาย
Unsigned                                      เก็บข้อมูลชนิดจำานวนเต็ม
            32 บิต     0 ถึง 4294967296
long                                          แบบยาว ไม่คิดเครื่องหมาย
รูปแบบในการประกาศตัวแปรในภาษา C

       การสร้างตัวแปรขึ้นมาใช้งานจะเรียกว่า การประกาศตัวแปร
(Variable Declaration) โดยเขียนคำาสั่งให้ถูกต้องตามแบบการประกาศ
ตัวแปร แสดงดังนี้

          type name;
          type : ชนิดของตัวแปร
          name : ชื่อของตัวแปร ซึ่งต้องตั้งให้ถูกต้องตามหลัก
          ของภาษา C



การเขียนคำาสั่งเพื่อประกาศตัวแปร ส่วนใหญ่แล้วจะเขียนไว้ในส่วนหัวของ
โปรแกรมก่อนฟังก์ชั่น Main ซึ่งการเขียนไว้ในตำาแหน่งดังกล่าว จะทำาให้
ตัวแปรเหล่านั้นสามารถเรียกใช้จากที่ใดก็ได้ในโปรแกรม

หลักการตั้งชื่อตัวแปร

        ในการประกาศสร้างตัวแปรต้องมีการกำาหนดชื่อ ซึ่งชื่อนั้นไม่ใช่ว่า
จะตั้งให้สื่อความหมายถึงข้อมูลที่เก็บอย่างเดียว โดยไม่คำานึงถึงอย่างอื่น
เนื่องจากภาษา C มีข้อกำาหนดในการตั้งชื่อตัวแปรเอาไว้ แล้วถ้าตั้งชื่อผิด
หลักการเหล่านี้ โปรแกรมจะไม่สามารถทำางานได้ หลักการตั้งชื่อตัวแปรใน
ภาษา C แสดงไว้ดังนี้

     ต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A-Z หรือ a-z หรือเครื่องหมาย _(Underscore)
1.
     เท่านั้น
     ภายในชื่อตัวแปรสามารถใช้ตัวอักษร A-Z หรือ a-z หรือตัวเลข 0-9 หรือ
2.
     เครื่องหมาย _
3. ภายในชื่อห้ามเว้นช่องว่าง หรือใช้สัญลักษณ์นอกเหนือจากข้อ 2
4. ตัวอักษรเล็กหรือใหญ่มีความหมายแตกต่างกัน
5. ห้ามตั้งชื่อซำ้ากับคำาสงวน (Reserved Word) ดังนี้
คำาสงวนใน C มาตรฐาน ( ANSI Standard C)
auto     default     float    register    struct     volatile   break
 do        far      return     switch     while       case      double
goto      short     typedef     char       else         if      signed
union     const     enum         int      sizeof     unsigned continue
extern     long      static     void
                     คำาสงวนที่มีเพิ่มใน Borland C
 asm       _cs        _ds       _es        _ss        cdecl      far
         interrup
huge                 near      pascal    _export
             t

ตัวอย่างการตั้งชื่อตัวแปรในภาษา C ทั้งที่ถูกต้องและไม่ถูกต้องตามหลัก
การ แสดงดังนี้

       bath_room ถูกต้อง
                    ผิดหลักการ เนื่องจากมีเครื่องหมาย - ปรากฏใน
         n-sync
                    ชื่อ
         108dots    ผิดหลักการ เนื่องจากขึ้นต้นด้วยตัวเลข
         Year#      ผิดหลักการ เนื่องจากมีเครื่องหมาย # อยู่ในชื่อ
         _good      ถูกต้อง
          goto      ผิดหลักการ เนื่องจากเป็นคำาสงวน
          work      ถูกต้อง
          break     ผิดหลักการ เนื่องจากเป็นคำาสงวน
ตัวแปรสำาหรับข้อความ

        ในภาษา C ไม่มีการกำาหนดชนิดของตัวแปรสำาหรับข้อความ
โดยตรง แต่จะใช้การกำาหนดชนิดของตัวแปรอักขระ (char) ร่วมกับการ
กำาหนดขนาดแทน และจะเรียกตัวแปรสำาหรับเก็บข้อความว่า ตัวแปรสตริง
(string) รูปแบบการประกาศตัวแปรสตริงแสดงได้ดังนี้

char name[n] = "str";
name : ชื่อของตัวแปร
n     : ขนาดของข้อความ หรือจำานวนอักขระในข้อความ
      : ข้อความเริ่มต้นที่จะกำาหนดให้กับตัวแปรซึ่งต้องเขียนไว้ภายใน
str
      เครื่องหมาย " "



ตัวอย่างการประกาศตัวแปรสำาหรับเก็บข้อความ แสดงได้ดังนี้

char name[5] =       สร้างตัวแปร name สำาหรับเก็บ ข้อความ kwan ซึ่งมี
"kwan" ;             4 ตัวอักษร ดังนั้น name ต้องมีขนาด 5
char year[5] =       สร้างตัวแปร year สำาหรับเก็บ ข้อความ 2549 ซึ่งมี 4
"2549";              ตัวอักษร ดังนั้น year ต้องมีขนาด 5
char product_id[4] สร้างตัวแปร product_id สำาหรับเก็บ ข้อความ A01
= "A01";           ซึ่งมี 3 ตัวอักษร ดังนั้น product_id ต้องมีขนาด 4

เครื่องหมายและตัวดำาเนินการในภาษา C

        ตัวดำาเนินการในการเขียนโปรแกรมภาษา C มีอยู่ 3 ประเภท คือ
การคำานวณทางคณิตศาสตร์ การดำาเนินการทางตรรกศาสตร์ และการ
เปรียบเทียบ ซึ่งการดำาเนินการแต่ละประเภทจะมีเครื่องหมายที่ต้องใช้เพื่อ
เขียนคำาสั่งสำาหรับการดำาเนินการประเภทนั้น ๆ ดังรายละเอียด
เครื่องหมายการคำานวณทางคณิตศาสตร์

    เครื่องหมายที่ใช้สำาหรับการคำานวณทางคณิตศาสตร์ใช้ภาษา C สรุป
ดังนี้

เครื่องหมา
              ความหมาย                          ตัวอย่าง
     ย
                                 3+2 การบวกเลข 3 บวกกับ 2 ได้ผลลัพธ์
   +             บวก
                                 คือ 5
                                 3 - 2 การลบเลข 3 ลบกับ 2 ได้ผลลัพธ์คือ
    -            ลบ
                                 1
                                 2*3 การคูณเลข 3 บวกกับ 2 ได้ผลลัพธ์
    *            คูณ
                                 คือ 6
    /            หาร             15/2 การหาร 15 หารกับ 2 ได้ผลลัพธ์คือ 7
                                 15%2 การหารเอาเศษ 15 หารกับ 2 ได้
   %          หารเอาเศษ
                                 ผลลัพธ์คือ 1



ตัวดำาเนินการเปรียบเทียบ

    ใช้เปรียบเทียบค่า 2 ค่าเพื่อแสดงการเลือก ซึ่งโปรแกรมโดยทั่วไปใช้
ในการทดสอบเงื่อนไขตามที่กำาหนดการเปรียบเทียบโดยการเท่ากันของ 2
ค่าจะใช้เครื่องหมาย ==

   เครื่องหมาย     ความหมาย                      ตัวอย่าง
        >              มากกว่า        a > b a มากกว่า b
                   มากกว่าหรือ
        >==                           a >= b a มากกว่าหรือเท่ากับ b
                     เท่ากับ
        <              น้อยกว่า       a < b a น้อยกว่า b
                   น้อยกว่าหรือ
        <==                           a <= b a น้อยกว่าหรือเท่ากับ b
                      เท่ากับ
        ==             เท่ากับ        a == b a เท่ากับ b
!=           ไม่เท่ากับ   a != b a ไม่เท่ากับ b




ตัวดำาเนินการตรรกะ

        การดำาเนินการเปรียบเทียบค่าทางตรรกะ ( และ หรือ ไม่ )

เครื่องหม    ความ
                                         ตัวอย่าง
   าย        หมาย
                      x < 60 && x > 50 กำาหนดให้ x มีค่าในช่วง 50
  &&          และ
                      ถึง 60
                      x == 10 || x == 15 กำาหนดให้ x มีค่าเท่ากับ
   ||         หรือ
                      ตัวเลข 2 ค่า คือ 10 หรือ 15
   !          ไม่     x = 10 !x กำาหนดให้ x ไม่เท่ากับ 10



การเขียนนิพจน์ในภาษา C

    นิพจน์ในภาษา C ก็คือ การนำาข้อมูลและตัวแปรในภาษา C มาดำาเนิน
การด้วยเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ ตรรกศาสตร์ หรือเครื่องหมาย
เปรียบเทียบในภาษา C เป็นตัวสั่งงาน ดังตัวอย่าง
ลำาดับความสำาคัญของเครื่องหมาย

      ส่วนใหญ่นิพจน์ที่เขียนขึ้นในโปรแกรมมักจะซับซ้อน มีการดำาเนิน
การหลายอย่างปะปนอยู่ภายในนิพจน์เดียวกัน

          ลำาดับความ
                           ลำาดับความสำาคัญจากสูงไปตำ่า
             สำาคัญ
              1                          ()
              2                        *,/,%
              3                         +,-

ตัวอย่างการทำางานของโอเปอเรเตอร์

จงหาค่าของนิพจน์ 8 + 7 * 6

วิธีทำา

1. ให้สังเกตที่ตัวโอเปอเรเตอร์ก่อนเสมอว่ามีโอเปอเรเตอร์อะไรบ้าง ในที่
นี้มี + และ *
2. ทำาการไล่ลำาดับความสำาคัญของโอเปอเรเตอร์ทั้งหมดเปรียบเทียบกัน
จากตัวที่มีลำาดับความสำาคัญสูงสุดไปยังตัวที่มีลำาดับสำาคับตำ่าสุด
การแสดงผลและรับข้อมูล
แสดงผลออกทางหน้าจอ

       การทำางานพื้นฐานที่สุดหรือเรียกได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งในการทำางาน
ของทุกโปรแกรมคือ การแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพ โดยในภาษา C
นั้น การแสดงผลข้อมูลออกทางจอสามารถทำาได้ดังนี้

คำาสั่ง printf

       คำาสั่ง printf ถือได้ว่าเป็นคำาสั่งพื้นฐานที่สุดในการแสดงผลข้อมูล
ทุกชนิดออกทางหน้าจอไม่ว่าจะเป็นจำานวนเต็ม int ทศนิยม float ข้อความ
string หรืออักขระ นอกจากนี้คำาสั่งยังมีความยืดหยุ่นสูง โดยเราสามารถ
กำาหนดหรือจัดรูปแบบการแสดงผลให้มีระเบียบหรือเหมาะสมตามความ
ต้องการได้อีกด้วย



รูปแบบคำาสั่ง prinft

                    printf ("format",variable);



    format        ข้อมูลที่ต้องการแสดงผลออกทางหน้าจอ โดยข้อมูลนี้
                  ต้องเขียนไว้ในเครื่องหมาย " " ข้อมูลที่สามารถแสดง
                  ผลได้มีอยู่ 2 ประเภท คือ ข้อความธรรมดา และค่าที่
                  เก็บไว้ในตัวแปร ซึ่งถ้าเป็นค่าที่เก็บไว้ในตัวแปรต้องใส่
                  รหัสควบคุมรูปแบบให้ตรงกับชนิดของข้อมูลที่เก็บไว้ใน
                  ตัวแปรนันด้วย
                           ้
   variable       ตัวแปรหรือนิพจน์ที่ต้องการนำาค่าไปแสดงผลให้ตรงกับ
                  รหัสควบคุมรูปแบบที่กำาหนดไว้




รหัสควบคุมรูปแบบการแสดงผลค่าของตัวแปรออกทางหน้าจอ
แสดงได้ดังนีีี้

รหัสควบคุมรูป                        การนำาไปใช้งาน
    แบบ
%d         แสดงผลค่าของตัวแปรชนิดจำานวนเต็ม

     %u         แสดงผลค่าของตัวแปรชนิดจำานวนเต็มบวก

      %f        แสดงผลค่าของตัวแปรชนิดจำานวนทศนิยม

     %c         แสดงผลอักขระ 1 ตัว

     %s         แสดงผลข้อความ หรืออักขระมากกว่า 1 ตัว


ตัวอย่างการใช้คำาสั่ง printf แสดงผลข้อความธรรมดาออกทางหน้า
จอ ดังนีีี้

#include <stdio.h>
#include <conio.h>
void main()
{
  clrscr();
  prinft('Lampang Kunlayanee Schooln");
  printf("Program Cn");
getch();
}

ผลลัพธ์โปรแกรม

Lampang Kunlayanee School
Program C

ส่วนตัวอย่างการใช้คำาสั่ง printf แสดงผลจากค่าของตัวแปรหรือนิพจน์
การคำานวณออกทางหน้าจอ แสดงได้ดังนี้ โดยกำาหนดให้

                   ตัวแปร x เก็บจำานวนเต็ม 45

 printf("total value = %d",x); แสดงข้อความ total value = 45 ออก
                            ทางจอภาพ



แสดงผลให้เป็นระเบียบด้วยอักขระควบคุมการแสดงผล

        นอกจากนี้เรายังสามารถจัดรูปแบบการแสดงผลให้ดูเป็นระเบียบ
มากขึ้น อย่างเช่นขึนบรรทัดใหม่ หลังแสดงข้อความ หรือเว้นระยะแท็บระ
                   ้
หว่างข้อความ โดยใช้อักขระควบคุมการแสดงผลร่วมกับคำาสั่ง printf
อักขระควบคุม                           ความหมาย
  การแสดงผล
      n          ขึนบรรทัดใหม่
                    ้
       t         เว้นช่องว่างเป็นระยะ 1 แท็บ (6 ตัวอักษร)
       r         เว้นช่องว่างเป็นระยะ 1 แท็บ (6 ตัวอักษร)
       f         เว้นช่องว่างเป็นระยะ 1 หน้าจอ
       b         ลบอักขระสุดท้ายออก 1 ตัว




คำาสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด

      การทำางานของโปรแกรมส่วนใหญ่มักจะเป้นการเชื่อมโยงกับผู้ใช้
แบบ 2 ทิศทาง คือ ทั้งภาคของการแสดงผลการทำางานออกทางหน้า
จอ และภาคของการรับข้อมูลจากผู้ใช้เข้ามาทางคีย์บอร์ด เพื่อร่วมในการ
ประมวลผลของโปรแกรม

คำาสั่ง scanf()

        ในภาษา C การรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดสามารถทำาได้โดยการเรียก
ใช้ฟังก์ชน scanf() ซึ่งเป็นฟังก์ชันมาตรฐานสำาหรับรับข้อมูลจาก
         ั
คีย์บอร์ด โดยสามารถรับข้อมูลได้ทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นจำานวนเต็ม
ทศนิยม อักขระ หรือข้อความ

รูปแบบคำาสั่ง scanf()

                   scanf("format",&variable);

   format         การใช้รหัสควบคุมรูปแบบ เพื่อกำาหนดชนิดของข้อมูลที่
                  จะรับเข้ามาจากคีย์บอร์ด โดยรหัสควบคุมรูปแบบใช้ชุด
                  เดียวกับคำาสั่ง printf()
   variable        ตัวแปรที่จะใช้เก็บค่าข้อมูลที่รับเข้ามาจากคีย์บอร์ด
                  โดยชนิดของตัวแปรจะต้องตรงกับรหัสควบคุมรูปแบบที่
                  กำาหนดไว้ นอกจากนี้หน้าชื่อของตัวแปรจะต้องนำาหน้า
                  ด้วยเครื่องหมาย & ยกเว้นตัวแปรสตริง สำาหรับเก็บ
                  ข้อความเท่านั้นที่ไม่ต้องนำาหน้าด้วยเครื่องหมาย &

ตัวอย่างการใช้งานคำาสั่ง scanf() เพือรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด
                                    ่
#include <stdio.h>
#include <conio.h>
void main()
{
  clrscr();
  int x,y,sum;
  printf("Enter The Length is : ");
  scanf ("%d",&x);
  printf("Enter The Width is : ");
  scanf ("%d",&y);
  sum = x*y;
  printf("The area is :%d",sum);
getch();
}




ผลลัพธ์โปรแกรม

Enter The Length is : 15
Enter The Width is   :5
The area is        : 75

การเขียนโปรแกรมคำานวณ
ีื  เราสามารถคำานวณหาผลลัพทธ์ของนิพจน์คณิตศาสตร์ด้วยการเขียน
โปรแกรมภาษาซี ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นการแสดงลำาดับการประมวลผลทาง
คณิตศาสตร์ของนิพจน์ต่าง ๆ

#include <stdio.h>
#include <conio.h>
void main()
{
  clrscr();
  int a,b,c,d;
  a=(3+4)*5;
  b=3+4*5;
  c=(2+7)*4%10;
  d=2+7*4%10;
  e=10+2*8/4*3-5;
  printf("(3+4)*5 =%dn",a);
printf("3+4*5 =%dn",b);
    printf("(2+7)*4%10 =%dn",c);
    printf("(2+7)*4%10 =%dn",d);
    printf("10+2*8/4*3-5 =%dn",e);
    getch();
}

ผลลัพธ์โปรแกรม

    (3+4)*5=35
    3+4*5=23
    (2+7)*4%10=6
    2+7*4%10=10
    10+2*8/4*3-5=17

ตัวอย่างโปรแกรมคำานวณหาผลลัพธ์จากการหาร

#include <stdio.h>
#include <conio.h>
void main()
{
clrscr();
int a,b;
float c;
a=20;
b=6;
c=6;
printf("20/6 =%dn",a/b);    /*หารเอาเฉพาะส่วน*/
printf("20%6 =%dn",a%b); /*หารเอาเฉพาะเศษ*/
printf("20/6 =%fn",a/c);    /*หารเอาทั้งเศษและส่วน*/
printf("20/6 =%.2fn",a/c); /*แสดงผลทศนิยม 2 ตำาแหน่ง*/
  getch();
}

ผลลัพธ์โปรแกรม

20/6=3
20%6=2
20/6=3.333333
20/6=3.33
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)Panupong Sinthawee
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิMeaw Sukee
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemsupreechafkk
 
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3Khunnawang Khunnawang
 
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsแบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถาม แบบสอบถาม
แบบสอบถาม khanidthakpt
 
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์peter dontoom
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชWichai Likitponrak
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netWarissa'nan Wrs
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 

La actualidad más candente (20)

ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
 
เฉลย07สมดลกล
เฉลย07สมดลกลเฉลย07สมดลกล
เฉลย07สมดลกล
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิ
 
ชุดการสอนที่ 3 มุมภายนอกกับมุมภายใน
ชุดการสอนที่ 3  มุมภายนอกกับมุมภายในชุดการสอนที่ 3  มุมภายนอกกับมุมภายใน
ชุดการสอนที่ 3 มุมภายนอกกับมุมภายใน
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
 
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
Disney
Disney Disney
Disney
 
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า btsแบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
แบบสอบถาม การตัดสินใจซื้อโทรศัพท์มือถือ I phone ของผู้ใช้บริการรถไฟฟ้า bts
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถาม แบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPointแบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
 
Math
MathMath
Math
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internetข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
 
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมช
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 

Destacado

การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)Visaitus Palasak
 
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซีเครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซีเทวัญ ภูพานทอง
 
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซีการประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซีmycomc55
 
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++dechathon
 
คำสั่งควบคุม
คำสั่งควบคุมคำสั่งควบคุม
คำสั่งควบคุมumaraporn
 
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีบทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีKomkai Pawuttanon
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีchoco336
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++Naowarat Jaikaroon
 
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีboky_peaw
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา CWarawut
 
บทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรบทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรKomkai Pawuttanon
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเทวัญ ภูพานทอง
 
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีChess
 

Destacado (13)

การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
 
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซีเครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
 
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซีการประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
 
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
 
คำสั่งควบคุม
คำสั่งควบคุมคำสั่งควบคุม
คำสั่งควบคุม
 
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีบทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
 
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซี
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
 
บทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรบทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปร
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
 

Similar a การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Thank Chiro
 
การสร้างแบบสอบถาม
 การสร้างแบบสอบถาม การสร้างแบบสอบถาม
การสร้างแบบสอบถามkruthanyaporn
 
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกกลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกNaphamas
 
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามหน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามkruthanyaporn
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา JavaItslvle Parin
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา JavaItslvle Parin
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่  5ใบความรู้ที่  5
ใบความรู้ที่ 5SubLt Masu
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3KEk YourJust'one
 
โปรแกรม ภาษาซี
โปรแกรม ภาษาซีโปรแกรม ภาษาซี
โปรแกรม ภาษาซีfinverok
 

Similar a การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน (20)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
การสร้างแบบสอบถาม
 การสร้างแบบสอบถาม การสร้างแบบสอบถาม
การสร้างแบบสอบถาม
 
ภาษา C#
ภาษา C#ภาษา C#
ภาษา C#
 
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกกลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามหน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
 
Work
WorkWork
Work
 
C language
C languageC language
C language
 
C language
C languageC language
C language
 
Chapter 02 Flowchart
Chapter 02 FlowchartChapter 02 Flowchart
Chapter 02 Flowchart
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่  5ใบความรู้ที่  5
ใบความรู้ที่ 5
 
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูลตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
 
12
1212
12
 
โปรแกรม ภาษาซี
โปรแกรม ภาษาซีโปรแกรม ภาษาซี
โปรแกรม ภาษาซี
 
C slide
C slideC slide
C slide
 
lesson 3
lesson 3lesson 3
lesson 3
 
งาน
งานงาน
งาน
 
Know1 3
Know1 3Know1 3
Know1 3
 

Más de Nookky Anapat

งานย่อยที่ 1
งานย่อยที่ 1งานย่อยที่ 1
งานย่อยที่ 1Nookky Anapat
 
งานย่อยที่ 1
งานย่อยที่ 1งานย่อยที่ 1
งานย่อยที่ 1Nookky Anapat
 
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรม
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรมบทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรม
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรมNookky Anapat
 
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรม
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรมบทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรม
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรมNookky Anapat
 
งานย่อย 1
งานย่อย 1งานย่อย 1
งานย่อย 1Nookky Anapat
 
งานย อยท _ 1
งานย อยท _ 1งานย อยท _ 1
งานย อยท _ 1Nookky Anapat
 
ข่าวไอที
ข่าวไอทีข่าวไอที
ข่าวไอทีNookky Anapat
 
ข่าว It news
ข่าว It newsข่าว It news
ข่าว It newsNookky Anapat
 
Acer iconia tab a700
Acer iconia tab a700Acer iconia tab a700
Acer iconia tab a700Nookky Anapat
 
Acer iconia tab a700
Acer iconia tab a700Acer iconia tab a700
Acer iconia tab a700Nookky Anapat
 

Más de Nookky Anapat (20)

งานย่อยที่ 1
งานย่อยที่ 1งานย่อยที่ 1
งานย่อยที่ 1
 
งานย่อยที่ 1
งานย่อยที่ 1งานย่อยที่ 1
งานย่อยที่ 1
 
Andriod
AndriodAndriod
Andriod
 
Class1
Class1Class1
Class1
 
Class1
Class1Class1
Class1
 
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรม
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรมบทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรม
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรม
 
Class
ClassClass
Class
 
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรม
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรมบทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรม
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรม
 
Intel
IntelIntel
Intel
 
ข่าว It
ข่าว Itข่าว It
ข่าว It
 
งานย่อย 1
งานย่อย 1งานย่อย 1
งานย่อย 1
 
ข่าว It
ข่าว Itข่าว It
ข่าว It
 
งานย อยท _ 1
งานย อยท _ 1งานย อยท _ 1
งานย อยท _ 1
 
ข่าวไอที
ข่าวไอทีข่าวไอที
ข่าวไอที
 
It news (1)
It news (1)It news (1)
It news (1)
 
ข าว+It
ข าว+Itข าว+It
ข าว+It
 
ข่าว It news
ข่าว It newsข่าว It news
ข่าว It news
 
งาน It
งาน Itงาน It
งาน It
 
Acer iconia tab a700
Acer iconia tab a700Acer iconia tab a700
Acer iconia tab a700
 
Acer iconia tab a700
Acer iconia tab a700Acer iconia tab a700
Acer iconia tab a700
 

การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน

  • 1. การเขียนคำาสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน ตัวแปรในภาษาซี ตัวแปร (Variable) คือ การจองพื้นที่ในหน่วยความจำาของ คอมพิวเตอร์สำาหรับเก็บข้อมูลที่ต้องใช้ในการทำางานของโปรแกรม โดยมี การตั้งชื่อเรียกหน่วยความจำาในตำาแหน่งนั้นด้วย เพื่อความสะดวกในการ เรียกใช้ข้อมูล ถ้าจะใช้ข้อมูลใดก็ให้เรียกผ่านชื่อของตัวแปรที่เก็บเอาไว้ ชนิดของข้อมูล ภาษาซีเป็นอีกภาษาหนึ่งที่มีชนิดของข้อมูลให้ใช้งานหลายอย่าง ด้วยกัน ซึ่งชนิดของข้อมูลแต่ละอย่างมีขนาดเนื้อที่ที่ใช้ในหน่วยความจำาที่ แตกต่างกัน และเนื่องจากการที่มีขนาดที่แตกต่างกันไป ดังนันในการเลือก ้ ใช้งานประเภทข้อมูลก็ควรจะคำานึงถึงความจำาเป็นในการใช้งานด้วย สำาหรับ ประเภทของข้อมูลมีดังนี้คือ ขนาด ชนิด ความ ช่วงของค่า การใช้งาน กว้าง ASCII character char 8 บิต เก็บข้อมูลชนิดอักขระ (-128 ถึง 127) Unsigned เก็บข้อมูลอักขระแบบไม่คิด 8 บิต 0-255 char เครื่องหมาย int 16 บิต -32768 ถึง 32767 เก็บข้อมูลชนิดจำานวนเต็ม -2147483648 ถึง เก็บข้อมูลชนิดจำานวนเต็ม long 32 บิต 2147483649 แบบยาว 3.4E-38 ถึง 3.4E+38 Float 32 บิต หรือ ทศนิยม 6 เก็บข้อมูลชนิดเลขทศนิยม ตำาแหน่ง 1.7E-308 ถึง Double 64 บิต 1.7E+308 หรือ เก็บข้อมูลชนิดเลขทศนิยม ทศนิยม 12 ตำาแหน่ง Unsigned เก็บข้อมูลชนิดจำานวนเต็ม 16 บิต 0 ถึง 65535 int ไม่คิดเครื่องหมาย Unsigned เก็บข้อมูลชนิดจำานวนเต็ม 32 บิต 0 ถึง 4294967296 long แบบยาว ไม่คิดเครื่องหมาย
  • 2. รูปแบบในการประกาศตัวแปรในภาษา C การสร้างตัวแปรขึ้นมาใช้งานจะเรียกว่า การประกาศตัวแปร (Variable Declaration) โดยเขียนคำาสั่งให้ถูกต้องตามแบบการประกาศ ตัวแปร แสดงดังนี้ type name; type : ชนิดของตัวแปร name : ชื่อของตัวแปร ซึ่งต้องตั้งให้ถูกต้องตามหลัก ของภาษา C การเขียนคำาสั่งเพื่อประกาศตัวแปร ส่วนใหญ่แล้วจะเขียนไว้ในส่วนหัวของ โปรแกรมก่อนฟังก์ชั่น Main ซึ่งการเขียนไว้ในตำาแหน่งดังกล่าว จะทำาให้ ตัวแปรเหล่านั้นสามารถเรียกใช้จากที่ใดก็ได้ในโปรแกรม หลักการตั้งชื่อตัวแปร ในการประกาศสร้างตัวแปรต้องมีการกำาหนดชื่อ ซึ่งชื่อนั้นไม่ใช่ว่า จะตั้งให้สื่อความหมายถึงข้อมูลที่เก็บอย่างเดียว โดยไม่คำานึงถึงอย่างอื่น เนื่องจากภาษา C มีข้อกำาหนดในการตั้งชื่อตัวแปรเอาไว้ แล้วถ้าตั้งชื่อผิด หลักการเหล่านี้ โปรแกรมจะไม่สามารถทำางานได้ หลักการตั้งชื่อตัวแปรใน ภาษา C แสดงไว้ดังนี้ ต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษร A-Z หรือ a-z หรือเครื่องหมาย _(Underscore) 1. เท่านั้น ภายในชื่อตัวแปรสามารถใช้ตัวอักษร A-Z หรือ a-z หรือตัวเลข 0-9 หรือ 2. เครื่องหมาย _ 3. ภายในชื่อห้ามเว้นช่องว่าง หรือใช้สัญลักษณ์นอกเหนือจากข้อ 2 4. ตัวอักษรเล็กหรือใหญ่มีความหมายแตกต่างกัน 5. ห้ามตั้งชื่อซำ้ากับคำาสงวน (Reserved Word) ดังนี้
  • 3. คำาสงวนใน C มาตรฐาน ( ANSI Standard C) auto default float register struct volatile break do far return switch while case double goto short typedef char else if signed union const enum int sizeof unsigned continue extern long static void คำาสงวนที่มีเพิ่มใน Borland C asm _cs _ds _es _ss cdecl far interrup huge near pascal _export t ตัวอย่างการตั้งชื่อตัวแปรในภาษา C ทั้งที่ถูกต้องและไม่ถูกต้องตามหลัก การ แสดงดังนี้ bath_room ถูกต้อง ผิดหลักการ เนื่องจากมีเครื่องหมาย - ปรากฏใน n-sync ชื่อ 108dots ผิดหลักการ เนื่องจากขึ้นต้นด้วยตัวเลข Year# ผิดหลักการ เนื่องจากมีเครื่องหมาย # อยู่ในชื่อ _good ถูกต้อง goto ผิดหลักการ เนื่องจากเป็นคำาสงวน work ถูกต้อง break ผิดหลักการ เนื่องจากเป็นคำาสงวน
  • 4. ตัวแปรสำาหรับข้อความ ในภาษา C ไม่มีการกำาหนดชนิดของตัวแปรสำาหรับข้อความ โดยตรง แต่จะใช้การกำาหนดชนิดของตัวแปรอักขระ (char) ร่วมกับการ กำาหนดขนาดแทน และจะเรียกตัวแปรสำาหรับเก็บข้อความว่า ตัวแปรสตริง (string) รูปแบบการประกาศตัวแปรสตริงแสดงได้ดังนี้ char name[n] = "str"; name : ชื่อของตัวแปร n : ขนาดของข้อความ หรือจำานวนอักขระในข้อความ : ข้อความเริ่มต้นที่จะกำาหนดให้กับตัวแปรซึ่งต้องเขียนไว้ภายใน str เครื่องหมาย " " ตัวอย่างการประกาศตัวแปรสำาหรับเก็บข้อความ แสดงได้ดังนี้ char name[5] = สร้างตัวแปร name สำาหรับเก็บ ข้อความ kwan ซึ่งมี "kwan" ; 4 ตัวอักษร ดังนั้น name ต้องมีขนาด 5 char year[5] = สร้างตัวแปร year สำาหรับเก็บ ข้อความ 2549 ซึ่งมี 4 "2549"; ตัวอักษร ดังนั้น year ต้องมีขนาด 5 char product_id[4] สร้างตัวแปร product_id สำาหรับเก็บ ข้อความ A01 = "A01"; ซึ่งมี 3 ตัวอักษร ดังนั้น product_id ต้องมีขนาด 4 เครื่องหมายและตัวดำาเนินการในภาษา C ตัวดำาเนินการในการเขียนโปรแกรมภาษา C มีอยู่ 3 ประเภท คือ การคำานวณทางคณิตศาสตร์ การดำาเนินการทางตรรกศาสตร์ และการ เปรียบเทียบ ซึ่งการดำาเนินการแต่ละประเภทจะมีเครื่องหมายที่ต้องใช้เพื่อ เขียนคำาสั่งสำาหรับการดำาเนินการประเภทนั้น ๆ ดังรายละเอียด
  • 5. เครื่องหมายการคำานวณทางคณิตศาสตร์ เครื่องหมายที่ใช้สำาหรับการคำานวณทางคณิตศาสตร์ใช้ภาษา C สรุป ดังนี้ เครื่องหมา ความหมาย ตัวอย่าง ย 3+2 การบวกเลข 3 บวกกับ 2 ได้ผลลัพธ์ + บวก คือ 5 3 - 2 การลบเลข 3 ลบกับ 2 ได้ผลลัพธ์คือ - ลบ 1 2*3 การคูณเลข 3 บวกกับ 2 ได้ผลลัพธ์ * คูณ คือ 6 / หาร 15/2 การหาร 15 หารกับ 2 ได้ผลลัพธ์คือ 7 15%2 การหารเอาเศษ 15 หารกับ 2 ได้ % หารเอาเศษ ผลลัพธ์คือ 1 ตัวดำาเนินการเปรียบเทียบ ใช้เปรียบเทียบค่า 2 ค่าเพื่อแสดงการเลือก ซึ่งโปรแกรมโดยทั่วไปใช้ ในการทดสอบเงื่อนไขตามที่กำาหนดการเปรียบเทียบโดยการเท่ากันของ 2 ค่าจะใช้เครื่องหมาย == เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่าง > มากกว่า a > b a มากกว่า b มากกว่าหรือ >== a >= b a มากกว่าหรือเท่ากับ b เท่ากับ < น้อยกว่า a < b a น้อยกว่า b น้อยกว่าหรือ <== a <= b a น้อยกว่าหรือเท่ากับ b เท่ากับ == เท่ากับ a == b a เท่ากับ b
  • 6. != ไม่เท่ากับ a != b a ไม่เท่ากับ b ตัวดำาเนินการตรรกะ การดำาเนินการเปรียบเทียบค่าทางตรรกะ ( และ หรือ ไม่ ) เครื่องหม ความ ตัวอย่าง าย หมาย x < 60 && x > 50 กำาหนดให้ x มีค่าในช่วง 50 && และ ถึง 60 x == 10 || x == 15 กำาหนดให้ x มีค่าเท่ากับ || หรือ ตัวเลข 2 ค่า คือ 10 หรือ 15 ! ไม่ x = 10 !x กำาหนดให้ x ไม่เท่ากับ 10 การเขียนนิพจน์ในภาษา C นิพจน์ในภาษา C ก็คือ การนำาข้อมูลและตัวแปรในภาษา C มาดำาเนิน การด้วยเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ ตรรกศาสตร์ หรือเครื่องหมาย เปรียบเทียบในภาษา C เป็นตัวสั่งงาน ดังตัวอย่าง
  • 7. ลำาดับความสำาคัญของเครื่องหมาย ส่วนใหญ่นิพจน์ที่เขียนขึ้นในโปรแกรมมักจะซับซ้อน มีการดำาเนิน การหลายอย่างปะปนอยู่ภายในนิพจน์เดียวกัน ลำาดับความ ลำาดับความสำาคัญจากสูงไปตำ่า สำาคัญ 1 () 2 *,/,% 3 +,- ตัวอย่างการทำางานของโอเปอเรเตอร์ จงหาค่าของนิพจน์ 8 + 7 * 6 วิธีทำา 1. ให้สังเกตที่ตัวโอเปอเรเตอร์ก่อนเสมอว่ามีโอเปอเรเตอร์อะไรบ้าง ในที่ นี้มี + และ * 2. ทำาการไล่ลำาดับความสำาคัญของโอเปอเรเตอร์ทั้งหมดเปรียบเทียบกัน จากตัวที่มีลำาดับความสำาคัญสูงสุดไปยังตัวที่มีลำาดับสำาคับตำ่าสุด
  • 8. การแสดงผลและรับข้อมูล แสดงผลออกทางหน้าจอ การทำางานพื้นฐานที่สุดหรือเรียกได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งในการทำางาน ของทุกโปรแกรมคือ การแสดงผลข้อมูลออกทางจอภาพ โดยในภาษา C นั้น การแสดงผลข้อมูลออกทางจอสามารถทำาได้ดังนี้ คำาสั่ง printf คำาสั่ง printf ถือได้ว่าเป็นคำาสั่งพื้นฐานที่สุดในการแสดงผลข้อมูล ทุกชนิดออกทางหน้าจอไม่ว่าจะเป็นจำานวนเต็ม int ทศนิยม float ข้อความ string หรืออักขระ นอกจากนี้คำาสั่งยังมีความยืดหยุ่นสูง โดยเราสามารถ กำาหนดหรือจัดรูปแบบการแสดงผลให้มีระเบียบหรือเหมาะสมตามความ ต้องการได้อีกด้วย รูปแบบคำาสั่ง prinft printf ("format",variable); format ข้อมูลที่ต้องการแสดงผลออกทางหน้าจอ โดยข้อมูลนี้ ต้องเขียนไว้ในเครื่องหมาย " " ข้อมูลที่สามารถแสดง ผลได้มีอยู่ 2 ประเภท คือ ข้อความธรรมดา และค่าที่ เก็บไว้ในตัวแปร ซึ่งถ้าเป็นค่าที่เก็บไว้ในตัวแปรต้องใส่ รหัสควบคุมรูปแบบให้ตรงกับชนิดของข้อมูลที่เก็บไว้ใน ตัวแปรนันด้วย ้ variable ตัวแปรหรือนิพจน์ที่ต้องการนำาค่าไปแสดงผลให้ตรงกับ รหัสควบคุมรูปแบบที่กำาหนดไว้ รหัสควบคุมรูปแบบการแสดงผลค่าของตัวแปรออกทางหน้าจอ แสดงได้ดังนีีี้ รหัสควบคุมรูป การนำาไปใช้งาน แบบ
  • 9. %d แสดงผลค่าของตัวแปรชนิดจำานวนเต็ม %u แสดงผลค่าของตัวแปรชนิดจำานวนเต็มบวก %f แสดงผลค่าของตัวแปรชนิดจำานวนทศนิยม %c แสดงผลอักขระ 1 ตัว %s แสดงผลข้อความ หรืออักขระมากกว่า 1 ตัว ตัวอย่างการใช้คำาสั่ง printf แสดงผลข้อความธรรมดาออกทางหน้า จอ ดังนีีี้ #include <stdio.h> #include <conio.h> void main() { clrscr(); prinft('Lampang Kunlayanee Schooln"); printf("Program Cn"); getch(); } ผลลัพธ์โปรแกรม Lampang Kunlayanee School Program C ส่วนตัวอย่างการใช้คำาสั่ง printf แสดงผลจากค่าของตัวแปรหรือนิพจน์ การคำานวณออกทางหน้าจอ แสดงได้ดังนี้ โดยกำาหนดให้ ตัวแปร x เก็บจำานวนเต็ม 45 printf("total value = %d",x); แสดงข้อความ total value = 45 ออก ทางจอภาพ แสดงผลให้เป็นระเบียบด้วยอักขระควบคุมการแสดงผล นอกจากนี้เรายังสามารถจัดรูปแบบการแสดงผลให้ดูเป็นระเบียบ มากขึ้น อย่างเช่นขึนบรรทัดใหม่ หลังแสดงข้อความ หรือเว้นระยะแท็บระ ้ หว่างข้อความ โดยใช้อักขระควบคุมการแสดงผลร่วมกับคำาสั่ง printf
  • 10. อักขระควบคุม ความหมาย การแสดงผล n ขึนบรรทัดใหม่ ้ t เว้นช่องว่างเป็นระยะ 1 แท็บ (6 ตัวอักษร) r เว้นช่องว่างเป็นระยะ 1 แท็บ (6 ตัวอักษร) f เว้นช่องว่างเป็นระยะ 1 หน้าจอ b ลบอักขระสุดท้ายออก 1 ตัว คำาสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด การทำางานของโปรแกรมส่วนใหญ่มักจะเป้นการเชื่อมโยงกับผู้ใช้ แบบ 2 ทิศทาง คือ ทั้งภาคของการแสดงผลการทำางานออกทางหน้า จอ และภาคของการรับข้อมูลจากผู้ใช้เข้ามาทางคีย์บอร์ด เพื่อร่วมในการ ประมวลผลของโปรแกรม คำาสั่ง scanf() ในภาษา C การรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดสามารถทำาได้โดยการเรียก ใช้ฟังก์ชน scanf() ซึ่งเป็นฟังก์ชันมาตรฐานสำาหรับรับข้อมูลจาก ั คีย์บอร์ด โดยสามารถรับข้อมูลได้ทุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นจำานวนเต็ม ทศนิยม อักขระ หรือข้อความ รูปแบบคำาสั่ง scanf() scanf("format",&variable); format การใช้รหัสควบคุมรูปแบบ เพื่อกำาหนดชนิดของข้อมูลที่ จะรับเข้ามาจากคีย์บอร์ด โดยรหัสควบคุมรูปแบบใช้ชุด เดียวกับคำาสั่ง printf() variable ตัวแปรที่จะใช้เก็บค่าข้อมูลที่รับเข้ามาจากคีย์บอร์ด โดยชนิดของตัวแปรจะต้องตรงกับรหัสควบคุมรูปแบบที่ กำาหนดไว้ นอกจากนี้หน้าชื่อของตัวแปรจะต้องนำาหน้า ด้วยเครื่องหมาย & ยกเว้นตัวแปรสตริง สำาหรับเก็บ ข้อความเท่านั้นที่ไม่ต้องนำาหน้าด้วยเครื่องหมาย & ตัวอย่างการใช้งานคำาสั่ง scanf() เพือรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด ่
  • 11. #include <stdio.h> #include <conio.h> void main() { clrscr(); int x,y,sum; printf("Enter The Length is : "); scanf ("%d",&x); printf("Enter The Width is : "); scanf ("%d",&y); sum = x*y; printf("The area is :%d",sum); getch(); } ผลลัพธ์โปรแกรม Enter The Length is : 15 Enter The Width is :5 The area is : 75 การเขียนโปรแกรมคำานวณ ีื เราสามารถคำานวณหาผลลัพทธ์ของนิพจน์คณิตศาสตร์ด้วยการเขียน โปรแกรมภาษาซี ตัวอย่างต่อไปนี้เป็นการแสดงลำาดับการประมวลผลทาง คณิตศาสตร์ของนิพจน์ต่าง ๆ #include <stdio.h> #include <conio.h> void main() { clrscr(); int a,b,c,d; a=(3+4)*5; b=3+4*5; c=(2+7)*4%10; d=2+7*4%10; e=10+2*8/4*3-5; printf("(3+4)*5 =%dn",a);
  • 12. printf("3+4*5 =%dn",b); printf("(2+7)*4%10 =%dn",c); printf("(2+7)*4%10 =%dn",d); printf("10+2*8/4*3-5 =%dn",e); getch(); } ผลลัพธ์โปรแกรม (3+4)*5=35 3+4*5=23 (2+7)*4%10=6 2+7*4%10=10 10+2*8/4*3-5=17 ตัวอย่างโปรแกรมคำานวณหาผลลัพธ์จากการหาร #include <stdio.h> #include <conio.h> void main() { clrscr(); int a,b; float c; a=20; b=6; c=6; printf("20/6 =%dn",a/b); /*หารเอาเฉพาะส่วน*/ printf("20%6 =%dn",a%b); /*หารเอาเฉพาะเศษ*/ printf("20/6 =%fn",a/c); /*หารเอาทั้งเศษและส่วน*/ printf("20/6 =%.2fn",a/c); /*แสดงผลทศนิยม 2 ตำาแหน่ง*/ getch(); } ผลลัพธ์โปรแกรม 20/6=3 20%6=2 20/6=3.333333 20/6=3.33