SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 24
Descargar para leer sin conexión
บทที่ 1
                                             แนะนําโปรแกรม SPICE

1.1 SPICE คืออะไร

         SPICE ยอมาจากคําในภาษาอังกฤษวา “Simulation Program with Integrated Circuit
Emphasis” SPICE คือซอฟตแวรคอมพิวเตอรชนิดหนึ่งที่มีไวสําหรับชวยในการจําลองการทํางาน
ของวงจรไฟฟา ประโยชนของการใชงาน SPICE คือ ในการออกแบบวงจรไฟฟาเริ่มแรกยังไม
จําเปนตองตอวงจรจริง เพียงแคทําการตอวงจรเพื่อวิเคราะหการทํางานของวงจรในคอมพิวเตอร
กอน เพื่อตรวจสอบผลลัพธที่ไดจากการจําลองการทํางานโดยโปรแกรม SPICE วาตรงกับที่ได
ออกแบบไวหรือไมเพื่อที่จะไดทําการแกไขขอบกพรองตางๆที่อาจเกิดขึ้นได จากนั้นเมื่อไดผลการ
วิเคราะหที่พอใจแลวจึงลงมือทําการตอจริงอีกครั้งหนึ่ง เพื่อตรวจสอบผลการทํางานอีกครั้ง ซึ่งนั่น
หมายถึ ง การลดเวลาในการต อ วงจรจริ ง และการลดความเสี ย หายที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ได ใ นการต อ
วงจรไฟฟาจริงลงไดอยางมาก (แมวาโปรแกรม SPICE สมัยใหมจะจําลองการทํางานของ
วงจรไฟฟาไดโดยมีความเชื่อถือไดสูงมากก็ตาม แตวาก็ตองมีการทดลองตอวงจรจริงดวยเพื่อการ
ยืนยันการทํางานที่สมบูรณของวงจรไฟฟานั้นๆ ดวย)

1.2 การติดตั้งโปรแกรม

             โปรแกรม SPICE ที่ใชการทดลองในหนังสือเลมนี้เปนของบริษัท MicroSim
Corperation ในเวอรชันทดลองใชเวอรชัน 8.0 (Evaluation version 8.0) ซึ่งเปนเวอรชัน
ที่ทางบริษัทฯ แจกใหทดลองใชฟรี โดยมีขอจํากัดบางประการเชนในเรื่องของอุปกรณที่มีใน
ไลบรารี(Library) และจํานวนของอุปกรณที่สามารถมีไดในการจําลองการทํางานแตะครั้งเปนตน
เมื่ อ ทํ า การดาวน โ หลดโปรแกรมลงบนเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร แ ล ว ให ทํ า การดั บ เบิ ล คลิ ก ที่ ไ ฟล
setup.exe โปรแกรมจะเริ่มทําการติดตั้งลงในเครื่องคอมพิวเตอรโดยแสดงหนาตางดังรูปที่ 1.1 ให
เลือกที่                    และ คลิกปุม
บทที่ 1 แนะนําโปรแกรม SPICE




                       รูปที่ 1.1 เริ่มตนการติดตั้งโปรแกรม MicroSim Evaluation version 8.0




     รูปที่ 1.2 เลือกรูปแบบการติดตั้งโปรแกรม และเลือกโฟลเดอรที่จะทําการติดตั้งโปรแกรมซึ่งที่นคือ C:MSimEv_8
                                                                                              ี้




                             รูปที่ 1.3 เลือกโฟลเดอรโปรแกรมที่จะติดตั้งใน Start menu


2 ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
ปฏิบัติการ การวิเคราะหวงจรไฟฟา 1

          จากรูปที่ 1.2 เปนการเลือกรูปแบบในการติดตั้งโปรแกรม ใหเลือกที่        โดยจะเปน
การติดตั้งโปรแกรมที่โฟลเดอร C:MsimEv_8 (ซึ่งสามารถเปลี่ยนเปนโฟลเดอรที่ตองการได)
หลังจากคลิกที่ปุม                แลว โปรแกรมจะแสดงหนาตางรูปที่ 1.3 เพื่อใหทําการเลือก
โฟลเดอรของโปรแกรมที่จะติดตั้งใน Start menu ของวินโดว ซึ่งปกติแลวโปรแกรมจะตั้งชื่อ
โฟลเดอรใหมาแลวคือ DesignLab Eval 8 ในหนาตางรูปที่ 1.3 นี้ใหคลิกที่ปุม        เพื่อทํา
การติดตั้งโปรแกรมตอไป โปรแกรมจะสรุปคาตางๆที่เราเลือกไวขั้นอนกอนหนานี้ดังหนาตางใน
รูปที่ 1.4 ในขั้นตอนนี้ใหคลิกที่ปุม         จะเปนการเริ่มทําการติดตั้งโปรแกรม




                                     รูปที่ 1.4 หนาตางสรุปการติดตั้งโปรแกรม

         หลังจากทําการติดตั้งโปรแกรมไประยะหนึ่ง โปรแกรมจะถามโฟลเดอรที่จะเปนโฟลเดอร
เริ่มตนในการเปดไฟลขอมูลของโปรแกรม และ โฟลเดอรสําหรับไลบรารีของผูใช ดังรูปที่ 1.5
และ 1.6 ซึ่งโดยปกติแลวจะเปนโฟลเดอรยอยที่อยูในโฟลเดอรที่ทําการติดตั้งโปรแกรมโดยมีชื่อ
เปน Projects และ UserLib ตามลําดับ ใหคลิกที่ปุม         เพื่อติดตั้งโปรแกรมตอไป




          รูปที่ 1.5 เลือกโฟลเดอรเริ่มตนในการเปดไฟลขอมูลของโปรแกรม ในที่นี้คือ C:MsimEv_8Projects


                                                                                                           3
บทที่ 1 แนะนําโปรแกรม SPICE




                    รูปที่ 1.6 เลือกโฟลเดอรสําหรับไลบรารีของผูใช ในที่นี้คือ C:MsimEv_8UserLib




  รูปที่ 1.7 เลือกใหสามารถดับเบิลคลิกเพื่อใหวนโดวเปดไฟลที่มนามสกุล LIB, DAT, SCH และ STL โดยโปรแกรม MicroSim
                                               ิ                ี

      รูปที่ 1.7 เปนการเลือกวาตองการใหเมื่อดับเบิลคลิกที่ไฟลที่มีนามสกุล LIB, DAT, SCH
และ STL จะใหวินโดวเปดโปรแกรม MicroSim โดยอัตโนมัติหรือไม ใหเลือกที่




                                   รูปที่ 1.8 หนาตางเมื่อเสร็จสิ้นการติดตั้งโปรแกรม

         เมื่ อติ ดตั้งโปรแกรมเสร็ จ สิ้นโปรแกรมจะแสดงหนาตางดังรูปที่ 1.8 ใหคลิก ที่ปุม
                 เราสามารถเรียกใชโปรแกรมไดโดยเขาไปที่ Start menu ของวินโดว ดังรูปที่ 1.9


4 ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
ปฏิบัติการ การวิเคราะหวงจรไฟฟา 1




                     รูปที่ 1.9 โปรแกรม MicroSim ที่ติดตั้งอยูที่ Start menu ของวินโดว


1.3 การใชงานโปรแกรมเบื้องตน

       การใชงาน SPICE ของ MicroSim* เวอรชันนี้ แบงออกเปน 3 สวนหลักๆจะใชงานคือ
สวนของ Schematics สวนของ Probe และสวนของ PspiceA_D โดย Schematics เปนสวน
หนาจอที่ใชตอรูปวงจรไฟฟาที่จะวิเคราะห กําหนดวิธีการวิเคราะห รวมทั้งการแสดงผลแรงดันหรือ
กระแสไฟฟาในบางสวนของวงจร สําหรับ Probe เปนหนาจอที่แสดงผลการวิเคราะหในรูปของ
กราฟฟก เทียบไดกับหนาจอของเครื่องมือวัดสัญญาณตางๆในหองปฎิบัติการ และสุดทายสวน
ของ PspiceA_D ใชในการวิเคราะหวงจรไฟฟาที่เขียนในหนาจอ Schematics หรือโดยการเขียนเปน
ไฟลชดคําสั่ง (*.cir) โดยในบทนี้จะกลาวถึงการใชงานเฉพาะสวนของ Schematics
     ุ

       1.3.1 ตัวเลขที่ใชในโปรแกรม
       การระบุคาตางๆ ในโปรแกรม MicroSim ที่เปนตัวเลขเชนคาของอุปกรณตางๆ (เชนคา
ความตานทาน คาแรงดัน หรือกระแสไฟฟา เปนตน) รวมถึงคาที่เปนคําตอบที่ไดจากการจําลองการ
ทํางานโดยโปรแกรมนั้นสามารถที่จะระบุไดหลากหลายรูปแบบดังตอไปนี้
       ก) จํานวนเต็ม (integer value)
               เชน 1 350 1200000 -45
       ข) จํานวนทศนิยม (floating point value)
               เชน 0.12 -3.02 800.234
       ค) จํานวนคูณสิบยกกําลัง (exponent value)
               เชน 1.2E4              มีคา 1.2×104          เทากับ 12000
                                                  0
                        5E0            มีคา 5×10             เทากับ 5
                        4.5E-2         มีคา 4.5×10-2         เทากับ 0.045
                        -3.744E2       มีคา -3.7×102         เทากับ -374.4

                                                                                                       5
บทที่ 1 แนะนําโปรแกรม SPICE

        ง) จํานวนเศษสวน (fraction value)
                จํานวนที่เปนเศษสวนตองใสไวภายในวงเล็บปกกา {} เทานั้น
                เชน {1/2}              มีคาเทากับ   0.5
                       {2/3}            มีคาเทากับ   0.666666666666…
                       {-3/4}           มีคาเทากับ   -0.75

        นอกจากนี้ยังสามารถใชคําอุปสรรค (prefixes) ในการระบุคาของอุปกรณไดอีกดวย โดย
คําอุปสรรคที่ใชไดแสดงดังตารางที่ 1.1
        ตารางที่ 1.1 คําอุปสรรคที่ใชในโปรแกรม MicroSim
         ตัวคูณ                      คําอุปสรรค               สัญลักษณที่ใชในโปรแกรม
         10-15                       femto                    f
         10-12                       pico                     p
         10-9                        nano                     n
         10-6                        micro                    u
         10-3                        milli                    m
         10+3                        kilo                     k
         10+6                        mega                     MEG
         10+9                        giga                     G
         10+12                       tera                     T

         ในโปรแกรม MicroSim ไมสนใจตัวอักษรตัวพิมพใหญและตัวพิมพเล็กถือวามีคาเทากัน
ดังนั้น n = N(nano), m = M(milli), g = G(giga), MEG = meg = Meg(mega) เปนตน

        ตัวอยางของการใชคําอุปสรรค
                120k            มีคาเทากับ              12000
                34m             มีคาเทากับ              34M           มีคาเทากับ     0.034
                -6.789meg       มีคาเทากับ              -6789k        มีคาเทากับ     -6789000

        1.3.2 หนวยของปริมาณตางๆ
        หนวยของปริมาณตางๆ เชนแรงดันหรือกระแสไฟฟานั้น โปรแกรมจะใชหนวยมาตรฐาน
เชน แรงดันมีหนวยเปน โวลต กระแสมีหนวยเปนแอมแปร โดยที่เราไมจําเปนตองใสหนวยใหกับ
คาของตัวเลขนั้นๆ เชนถาตัวตานทานมีคาเปน 10 โอหม เราก็ระบุคาใหตัวตานทานมีคาเทากับ 10
(โดยไมตองใสหนวยโอหม) ดังที่จะไดเห็นตอไปในวงจรตัวอยางที่ 1.1

6 ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
ปฏิบัติการ การวิเคราะหวงจรไฟฟา 1

       ตารางที่ 1.2 หนวยของปริมาณตางๆ
        ปริมาณ                                           หนวย
        แรงดัน                                           โวลต (volt)
        กระแสไฟฟา                                       แอมแปร (ampere)
        ความตานทาน                                      โอหม (ohm)
        ความจุไฟฟา                                      ฟารัด (farad)
        ความเหนี่ยวนํา                                   เฮนรี่ (henry)
        เวลา                                             วินาที (second)
        ความถี่                                          เฮิรตซ (hertz)
        มุม                                              องศา (degree)

       1.3.3 เขาสูโปรแกรม Schematics
        โปรแกรม Schematics เปนสวนหนึ่งของโปรแกรม MicroSim โดยเปนสวนหนาจอที่ใช
วาดรูปวงจรไฟฟาที่จะวิเคราะห กําหนดรูปแบบวิธีการวิเคราะห รวมทั้งการแสดงผลแรงดันหรือ
กระแสไฟฟาในบางสวนของวงจร ขั้นตอนการเขาโปรแกรม Schematics แสดงดังรูปที่ 1.10 โดย
มีหนาจอของโปรแกรมดังรูปที่ 1.11


                                    รูปที่ 1.10 การเขาสูโปรแกรม Schematics




                                    รูปที่ 1.11 หนาจอโปรแกรม Schematics


                                                                                                        7
บทที่ 1 แนะนําโปรแกรม SPICE

       1.3.4 การใชงานโปรแกรม Schematics เบื้องตน
        การใชงานเมนูตางๆบางสวนของโปรแกรม Schematics มีคลายคลึงกับโปรแกรมอื่นๆ บน
วินโดว เชนเมนู File เมนู Edit หรือ เมนู Window เปนตน ดังนั้นในที่นี้จะไมขอกลาวถึงเมนู
ตางๆ เหลานี้ จะขอกล าวถึงเฉพาะเมนูที่ จะใชงานและมีความแตกตางจากโปรแกรมอื่น ๆบน
วินโดวเทานั้น ดังที่กลาวขางตนวาโปรแกรม Schematics เปนโปรแกรมที่ใชวาดรูปวงจรที่จะทํา
การจําลองการทํางาน ดังนั้นในขั้นแรกนี้จะกลาวถึงการวาดรูปวงจรโดยโปรแกรม Schematics
กอน

        1.3.4.1 การวางอุปกรณ
        อุปกรณที่จะวาดเปนวงจรที่จะทําการจําลองการทํางานนั้นจะมีชื่อเฉพาะของแตละอุปกรณ
เอง ดังแสดงตัวอยางชื่ออุปกรณบางตัวที่จะในบทนี้ดังตารางที่ 1.3
       ตารางที่ 1.3 ชื่อของอุปกรณในโปรแกรม Schematics
         อุปกรณ                            ชื่ออุปกรณ            สัญลักษณ
         แหลงจายแรงดันอิสระ               VSRC


         แหลงจายกระแสอิสระ                ISRC


         ตัวตานทาน                         R


         กราวนด                            EGND

          การวางอุปกรณทําไดโดยไปที่เมนู Draw เลือก Get New Part… (หรือใชคียลัดคือ
Ctrl+G) จะไดหนาตางดังรูปที่ 1.12 โดยมีชอง Part Name สําหรับใสชื่อของอุปกรณ สวนชอง
Description จะเปนรายละเอียดของอุปกรณนั้นๆ(จะแสดงรายละเอียดกรณีที่พิมพชื่ออุปกรณแลว)
สวนดานลางถัดจากชอง Description จะเปนรายการของอุปกรณที่มีใชในโปรแกรมซึ่งจะมีอุปกรณ
อยูเปนจํานวนมาก โดยในบทนี้จะไมไดแนะนําใหรูจักกับอุปกรณทุกตัว จะแนะนําอุปกรณเพียง 4
ชนิดดังแสดงในตารางที่ 1.3 สวนอุปกรณอื่นๆนั้นจะแนะนําในภายหลังเมื่อตองการเรียกมาใชงาน

       เราอาจเลือกอุปกรณจากรายการที่มีทั้งหมดโดยการคลิกเลือกอุปกรณที่ตองการ หรือ
อาจจะพิมพชื่อของอุปกรณ(ที่เราทราบชื่อแลว)ลงในชอง Part Name ไดเลย

8 ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
ปฏิบัติการ การวิเคราะหวงจรไฟฟา 1



      พิมพชื่อของอุปกรณ

  รายละเอียดของอุปกรณ
  ตามชื่อในชอง Part Name                                                  ปดหนาตางนี้

                                                                           วางอุปกรณ
      รายการอุปกรณที่มีใน                                                 วางอุปกรณพรอมปดหนาตางนี้
      โปรแกรม
      สามารถคลิกเลือก
      อุปกรณจากชองนี้ได                                                 การวางอุปกรณข้นสูง
                                                                                          ั
                                                                           ดูรูป 1.13
                              รูปที่ 1.12 หนาตางการวางอุปกรณขนพื้นฐาน
                                                                ั้




                                                                                แสดงสัญลักษณ
                                                                                ของอุปกรณ

                                                                                การวางอุปกรณข้นพื้นฐาน
                                                                                               ั

                                รูปที่ 1.13 หนาตางการวางอุปกรณขนสูง
                                                                  ั้

         เมื่อพิมพชื่อของอุปกรณในชอง Part Name เสร็จสิ้นแลวใหทําการกดปุม Place หรือปุม
Place & Close ก็ได เราจะไดอุปกรณนั้นเคลื่อนที่ไปพรอมกับเมาส เลื่อนเมาสไปยังตําแหนงที่
ตองการแลวทําการคลิกปุมซายของเมาสจะเปนการวางอุปกรณนั้น ในขั้นตอนนี้อาจวางอุปกรณ
นั้นไดตอไปอีกตอเนื่องหลายๆตัว เมื่อวางอุปกรณเสร็จสิ้นแลวในคลิกสปุมขวาเปนการสิ้นสุดการ
วางอุปกรณ

TIP     ในระหวางการวางอุปกรณอาจกดคียลัด Ctrl+R เพื่อหมุน (Rotate) อุปกรณ หรือกดคียลัด
Ctrl+F เพื่อพลิก (Flip) อุปกรณได (ทั้งนี้อาจหมุนหรือพลิกอุปกรณในภายหลังก็ได)

                                                                                                           9
บทที่ 1 แนะนําโปรแกรม SPICE

          หลังจากการวางอุปกรณบนหนาจอแลวเราสามารถทําการเคลื่อนยาย ลบ หมุน หรือ พลิก
อุปกรณนั้นๆ ได โดยเราตองทําการเลือกอุปกรณนั้นกอน การเลือกทําไดโดยการคลิกที่อุปกรณ
นั้น อุปกรณนั้นจะกลายเปนสีแดง ดังตัวอยางเมื่อคลิกเลือกที่ตัวตานทาน R1 ในรูปที่ 1.14(ก) ซึ่ง
ในที่น้สามารถเลือกอุปกรณที่ละหลายๆตัวไดเชนเดียวกับโปรแกรมอื่นๆ บนวินโดว โดยการกดคีย
       ี
shift คางไวและคลิกเมาสเพื่อเลือกอุปกรณที่ตองการ

        สวนกรณีที่ตองการเลือกอุปกรณครั้งละมากๆ เปนกลุม สามารถทําไดโดยการคลิกเมาส
ซายคางไว และเลื่อนเมาสใหครอบคลุมอุปกรณทั้งหมดที่ตองการเลือกเพื่อใหเกิดกรอบสี่เหลี่ยม
ลอมรอบอุปกรณทั้งหมดที่ตองการและปลอยเมาส อุปกรณท้งหมดในกรอบสี่เหลี่ยมจะกลายเปนสี
                                                        ั
แดงซึ่งหมายถึงอุปกรณนั้นถูกเลือก ดังรูปที่ 1.14(ข)




                      (ก)                                                       (ข)
                                        รูปที่ 1.14 การเลือกอุปกรณ

        - การเคลื่อนยายอุปกรณที่เลือกทําไดโดยการคลิกเมาสซายคางไวที่อุปกรณที่ถูกเลือกไว
          และทําการเลื่อนเมาสไปยังตําแหนงที่ตองการและปลอยเมาส
        - การลบอุปกรณที่ถูกเลือกไวทําไดโดยการกดคีย delete บนคียบอรด หรือเขาเมนู Edit
          เลือกคําสั่ง Delete
        - การหมุนอุปกรณที่ถูกเลือกไวทําไดโดยการกดคียลัด Ctrl+R หรือเขาเมนู Edit เลือก
          คําสั่ง Rotate
        - การพลิกอุปกรณที่ถูกเลือกไวทําไดโดยการกดคียลัด Ctrl+F หรือเขาเมนู Edit เลือกคําสั่ง
          Filp




               (ก) การหมุนอุปกรณ                                        (ข) การพลิกอุปกรณ
                                    รูปที่ 1.15 การหมุนหรือพลิกอุปกรณ


10 ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
ปฏิบัติการ การวิเคราะหวงจรไฟฟา 1

        1.3.4.2 การกําหนดคาของอุปกรณ
        สําหรับการกําหนดคาของอุปกรณในโปรแกรม Schematics ในที่นี้จะแบงเปน 2 ประเภท
คืออุปกรณที่แสดงคาออกมาปรากฏบนหนาจออยูแลว และอุปกรณที่ไมแสดงคาออกมาบนหนาจอ

         อุปกรณชนิดที่แสดงคาของอุปกรณออกมาใหเห็นที่หนาจอ เชนจากรูปที่ 1.14(ก) จะเห็นวา
ตัวตานทาน R1 มีคาเปน 1k (หรือ 1000 โอหม) สามารถทําการกําหนดคาใหอุปกรณไดโดยการ
ดับเบิลคลิกบนคาอุปกรณนั้น โปรแกรมจะแสดงหนาตางใหกําหนดคาของอุปกรณน้ันใหม ดังรูป
ที่ 1.16 พรอมทั้งแสดงกรอบลอมรอบอุปกรณที่เรากําลังแกไขคาเพื่อแสดงวาเรากําลังแกไขคาของ
อุปกรณตัวใดอยู (ในรูปที่ 1.16 จะมีกรอบเสนปะลอมรอบตวตานทาน R1) เมื่อกําหนดคาอุปกรณ
เสร็จสิ้นแลวใหคลิกที่ปม
                         ุ




                        รูปที่ 1.16 การกําหนดคาใหกับอุปกรณที่มีคาปรากฎบนหนาจอ

       สําหรับอุปกรณชนิดที่ไมแสดงคาปรากฎบนหนาจอเชนแหลงจายแรงดัน V1 ในรูปที่ 1.16
การกําหนดคาใหกับอุปกรณประเภทนี้ใหทําการดับเบิลคลิกที่ตัวอุปกรณนั้นเลย โปรแกรมจะ
แสดงหนาตางดังรูปที่ 1.17




                             รูปที่ 1.17 การกําหนดคาใหกับแหลงจายแรงดัน V1

        จากรูปที่ 1.17 ใหทําการคลิกที่บรรทัด DC= และใสคาแรงดัน(ไฟตรง)ของแหลงจาย
แรงดันในชอง Value พรอมทั้งกดคีย Enter (หรือกดปุม       ) คาของอุปกรณนั้นจะปรากฎที่
บรรทัด DC= เปนการเสร็จสิ้นขั้นตอนการกําหนดคาใหกับแหลงจายแรงดัน กดปุม
เพื่อออกจากหนาตางการกําหนดคา ดังสดงขั้นตอนในรูปที่ 1.18

                                                                                                   11
บทที่ 1 แนะนําโปรแกรม SPICE

                                                        2. กําหนดคาแรงดัน
                                                        และกดคีย Enter


      1. คลิกที่
      บรรทัด
      DC=                                                                                       3. กดปุม OK

                   รูปที่ 1.18 การกําหนดคาใหกับแหลงจายแรงดัน V1 มีคา(ไฟตรง)เปน 12 โวลต

Note      สําหรับอุปกรณที่แนะนําในบทนี้มีการกําหนดคาไดดังนี้
          ตัวตานทาน(R) กําหนดคาไดโดยการดับเบิลคลิกที่คาที่ปรกฎบนหนาจอดังรูปที่ 1.16
          แหลงจายแรงดันอิสระ(VSRC) และแหลงจายกระแสอิสระ(ISRC) กําหนดคาไดโดยการ
คลิกที่ตัวอุปกรณนั้นตามขั้นตอนในรูปที่ 1.18 โดยการกําหนดคาที่บรรทัด DC= เปนกําหนดให
แหลงจายดังกลาวเปนแหลงจายแรงดันไฟตรงและแหลงจายกระแสไฟตรงตามลําดับ

       ทั้งนี้อุปกรณตัวอื่นๆ จะมีวิธีการกําหนดคาทํานองเดียวกับอุปกรณขางตน เพียงแตวา
บรรทัดที่ตองกําหนดคาอาจจะตางกันไปแลวชนิดของอุปกรณ ซึ่งจะไดกลาวถึงตอไปในบทอื่นๆ

         สําหรับอุปกรณที่เรากําหนดคาใหแลวแตยังไมแสดงคาปรากฎบนหนาจอเราสามารถทําให
คานั้นปรากฎบนหนาจอไดโดยการดับเบิลคลิกที่อุปกรณนั้นอีกครั้ง โปรแกรมแสดงหนาตางดังรูป
ที่ 1.19 คลิกที่บรรทัดที่ตองการใหแสดงผลบนหนาจอ (ในที่นี้คือบรรทัด DC=12) และคลิกที่ปุม
            โปรมแกรมจะแสดงหนาตางดังรูปที่ 1.20


      1. คลิกที่
      บรรทัดที่                                                                                 2. คลิกปุม
      ตองการ                                                                                   Change Display




                                 รูปที่ 1.19 การใหแสดงผลคา DC=12 บนหนาจอ

       จากรูปที่ 1.20 ใหเลือกที่                เพื่อใหแสดงทั้งชื่อ (Name คือ DC) และคา
(Value คือ 12) บนหนาจอและคลิกที่ปุม           เปนอันเสร็จสิ้นขั้นตอนการกําหนดใหคาที่
ตองการแสดงผลบนหนาจอ ซึ่งจะไดผลดังรูปที่ 1.21


12 ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
ปฏิบัติการ การวิเคราะหวงจรไฟฟา 1




                                 รูปที่ 1.20 การกําหนดกรแสดงผลบนหนาจอ




                       รูปที่ 1.21 รูปวงจรหลังจากกําหนดใหมีการแสดง DC=12 บนหนาจอ

           รูปแบบของการแสดงผลบนหนาจอสําหรับคาที่เราเลือกใหแสดงผล จากรูปที่ 1.20 มี
ทั้งสิ้น 5 รูปแบบคือ

                     เปนการแสดงเฉพาะคา (Value ในที่น้คือเลข 12)
                                                        ี
                     เปนการแสดงเฉพาะชื่อ (Name ในที่นี้คือตัวอักษร DC)
                             เปนการแสดงคาทั้งชื่อและคา (Name และ Value ในที่นี้คือ DC=12)
                                            เปนการแสดงคาทั้งชื่อและคา (เมื่อมีการกําหนดคา)
                 ไมมีการแสดงผลบนหนาจอ

Note   การกําหนดรูปแบบการแสดงผลนี้ไมมีผลตอคาของอุปกรณ คือหมายความวาถึงแมเราจะ
กําหนดใหไมมีการแสดงผลบนหนาจอ แตอุปกรณก็ยังคงมีคาตามที่ไดกําหนดไว

         1.3.4.3 การลากเสนเชื่อมตอวงจร
         หลั ง จากที่ ไ ด ว างอุ ปกรณ ตางๆลงบนหนา จอแล ว ในลําดับต อมาก็ คือการลากเสน เพื่อ
เชื่อมตออุปกรณตางๆ เขาดวยกัน ทําไดโดยการเขาสูเมนู Draw เลือก Wire (หรือใชคียลัดคือ
Ctrl+W) สัญลักษณของเมาสจะกลายเปนรูปดินสอ              ทําการลากเสนไดดังนี้


                                                                                                  13
บทที่ 1 แนะนําโปรแกรม SPICE

        - คลิกเมาสซายไปที่ตําแหนงเริ่มตนที่ตองการ
        - คลิกเมาสซายตามตําแหนงที่ตองการลากเสนไปเรื่อย (ในระหวางการเลื่อนเมาสจะมีเสน
          ปะตามเคอรเซอรของเมาสไปดวย ดังรูปที่ 1.22)
        - เมื่อตองการสิ้นสุดการลากเสนทําไดสองวิธีคือ การคลิกเมาสขวา หรือ การดับเบิลคลิก
          ซายตรงตําแหนงสุดทายที่ตองการ




                                        รูปที่ 1.22 การลากเสนเชื่อมตออุปกรณ

      จังกชัน




                 (ก) เสนเชือมตอกัน
                            ่                                                     (ข) เสนไมเชื่อมตอกัน
                              รูปที่ 1.23 การเชือมตอกันระหวางเสนแนวตั้งกับเสนแนวนอน
                                                ่

         จากรูปที่ 1.23 การลากเสนใหแสนแนวตั้งกับเสนแนวนอนเชื่อมตอกันนั้นดังรูปที่ 1.23(ก)
ตองทําการลากเสนทีละสวน(ลากเสนใหเชื่อมตอกันเปนตัวที T กอน) เพื่อใหเกิดจังกชัน(junction)
เปนการบอกวาเสนทั้งสองมีการเชื่อมตอกัน สวนรูปที่ 1.23(ข) เสนทั้งสองไมเชื่อมตอกัน(ไมมี
จังกชันเกิดขึ้น) ทําไดโดยการลากเสนหนึ่งขามอีกเสนหนึ่งไปเลย

Note     การเคลื่ อนยาย ลบ หรื อหมุนเสนที่เชื่อมตอวงจรสามารถทําไดดวยวิธีเดียวกันกับการ
เคลื่อนยาย ลบ หรือหมุนอุปกรณ




14 ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
ปฏิบัติการ การวิเคราะหวงจรไฟฟา 1

        1.3.4.4 ตัวอยางการใชงานโปรแกรม Schematics

ตัวอยางที่ 1.1 การใชโปรแกรม Schematics อยางงายๆ
        ตัวอยางที่ 1.1 เปนวงจรทางไฟฟาอยางงาย ที่ประกอบขึ้นจาก แหลงจายแรงดันอิสระ และ
ตัวตานทาน ชุดหนึ่งดังรูปที่ 1.24 ทําตามขั้นตอนไดดังตอไปนี้
                                                10Ω

                             12V                                      20Ω

                                    รูปที่ 1.24 วงจรตัวอยางที่ 1.1

         1. กด Ctrl+G เพื่อทําการเรียกใชอุปกรณ จากนั้น
พิมพชื่ออุปกรณ VSRC เพื่อเรียกใช แหลงจายแรงดัน แลว
กดคีย Enter วางแหลงจายแรงดัน ณ ตําแหนงที่ตองการ โดย
การเลื่อนเมาสไปยังตําแหนงนั้นๆ แลวคลิกเมาสซายเพื่อวาง
แหลงจายแรงดัน จากนั้นคลิกเมาสขวาเปนการสิ้นสุดการวาง
แหลงจายแรงดัน
         2. กด Ctrl+G แลวพิมพชื่ออุปกรณ R เปนการ
เรียกใชตัวตานทาน แลวกดคีย Enter วางตัวตานทาน R1 ณ
ตําแหนงตามที่แสดงใหดูในรูป โดยการคลิกเมาสซาย


        3. กด Ctrl+R เพื่อทําการหมุนตัวตานทาน 90 องศา
ในทิศทวนเข็มนาฬิกา แลววางตัวตานทาน R2 ณ ตําแหนงที่
ปรากฎตามรูป โดยการคลิกเมาสซาย คลิกเมาสขวาเปนอัน
สิ้นสุดการวางตัวตานทาน

        4. กด Ctrl+G แลวพิมพช่ืออุปกรณ EGND เปนการ
วางกราวนดซึ่งตองมีในทุกวงจร สําหรับการวิเคราะหวงจร
จากนั้นวาง EGND ตามตําแหนงที่ตองการ โดยการคลิกเมาส
ซาย คลิกเมาสขวาเปนอันสิ้นสุดการวาง EGND



                                                                                                     15
บทที่ 1 แนะนําโปรแกรม SPICE

         5. กด Ctrl+W เพื่อทําการเดินสายสัญญาณ เชื่อม
อุปกรณเขากันตามรูป จะปรากฎเคอรเซอร รูปรางเหมือน
ดินสอขึ้นมา การวางสายมีเทคนิกดังตอไปนี้ คลิกเมาสซาย
สําหรับจุดเริ่มตนของการวางสาย จากนั้นคลิกสซายอีกครั้ง
ณ จุดที่ตองการพักสาย ดับเบิลคลิกซายสําหรับจุดปลายของ
สายสั ญ ญาณ และคลิ ก เมาส ข วาเป น อั น สิ้ น สุ ด การวาง
สายไฟ
         6. ทําการเปลี่ยนแปลงคาความตานทาน R1 โดยการ
ดั บเบิลคลิ ก ซ า ยที่ ค าของตั ว ต านทาน R1 จากที่มีขนาด 1k
โอหม แกใหเปน 10 โอหม และทําการแกคาความตานทาน
R2 ใหเปน 20 โอหม

           7. ทําการจัดตําแหนง ของชื่อ และ คาของอุปกรณ
R1 และ R2 ที่อาจทับซอนกันอยูใหดูสวยงาม โดยการคลิก
เมาส ซ า ยที่ ช่ื อ หรื อ ค า ของอุ ป กรณ ที่ ต อ งการ จะปรากฎ
กรอบสี่เหลี่ยมเล็กๆ ลอมรอบ จากนั้นใหคลิกเมาสซายคางไว
และลากเมาสเลื่อนไปยังตําแหนงที่ตองการ แลวปลอยเมาส
เปนอันสิ้นสุดการเลื่อน
           8. ทําการกําหนดคาของแหลงจายแรงดัน V1 โดย
การดั บ เบิ ล คลิ ก ซ า ยที่ แ หล ง จ า ยแรงดั น V1 จะปรากฎ
หนาตางกําหนดคา จากนั้นคลิกซายที่บรรทัด DC= แลว
พิมพคําวา 12 ลงไปที่ชอง Value เพื่อกําหนดใหแหลงจาย
แรงดัน V1 เปนแหลงจายแรงดันไฟตรงขนาด 12 โวลต
จากนั้นคลิกปุม                    หรือ กดคีย Enter ทําการกดปุม
                ใหทําเลือก                              กดปุม
เพื่อออกจากการเปลี่ ยนแปลงรูปแบบการ และกดปุม
                 อีกครั้ง เพื่อออกจากการกําหนดคาใหแหลงจาย
แรงดัน V1
           9. กด Ctrl+S สําหรับบันทึกวงจรที่ไดวาดไว(หรือ            Note     ชื่ อ ไฟล ไ ม ส ามารถใช
เขาเมนู File เลือกคําสั่ง Save) โดยไฟลจะมีนามสกุล . SCH             ชื่อเปนภาษาไทยได
จากรูปกําหนดใหมช่อวา EXP1.SCH
                        ี ื



16 ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
ปฏิบัติการ การวิเคราะหวงจรไฟฟา 1




                               รูปที่ 1.25 วงจรตัวอยางที่ 1.1 เมื่อวาดวงจรเรียบรอยแลว

        10. ทําการจําลองการทํางานโดยการกดคีย F11 (หรือเขาเมนู Analysis เลือกคําสั่ง
Simulate) จะเปนการจําลองการทํางานในแบบรูปแบบของการวิเคราะหจุดทํางานทางไฟตรง(ซึ่ง
เปนรูปแบบการวิเคราะหที่โปรแกรม)




            รูปที่ 1.26 ทําการจําลองการทํางานโดยเขาเมนู Analysis เลือกคําสั่ง Simulate หรือการกดคีย F11

       11. ทําการกดปุม บนแถบเครื่องมือให
เป น เพื่ อ ให โ ปรแกรมแสดงค า แรงดั น ที่ โ นด
ตางๆในวงจร




                                                                                                            17
บทที่ 1 แนะนําโปรแกรม SPICE

       12. ทําการกดปุม บนแถบเครื่องมือให
เปน เพื่อใหโปรแกรมแสดงคากระแสที่ไหลผาน
อุปกรณตางๆในวงจร



       ในกรณีของคําตอบที่เ ปนแรงดั น โปรแกรมจะแสดงเป นแรงดัน ที่ โนดตางๆ เทียบกั บ
กราวนด โดยโนดกราวนดนั้นจะมีคาแรงดันโนดเปน 0 โวลตเสมอ สวนโนดอื่นๆโปรแกรมก็จะ
แสดงคาแรงดันโนดเมื่อเทียบกับกรานดนั่นเอง


                +                                                                   +

               12V                                                                  8V
                _                                                                   _

                              รูปที่ 1.27 การแสดงแรงดันไฟตรงที่โนดตางๆ

         สวนกรณีของกระแสไฟฟา โปรแกรมจะแสดงกระแสไฟฟาที่อุปกรณทุกตัวในวงจร โดย
เมื่อเราคลิกที่คาของกระแสนั้นๆ โปรแกรมจะแสดงทิศทางการไหลของกระแสไฟฟานั้นดวย ดัง
ตัวอยางในรูปที่ 1.28 กระแสที่ไหลผานัวตานทาน R1 มีคาเปน 400mA มีทิศทางที่ไหลจากทางดาน
ซายมือไปทางดานขวามือ




                     รูปที่ 1.28 การแสดงคากระแสไฟตรงที่ไหลผานอุปกรณตางๆในวงจร

Note   การแสดงผลของแรงดันหรือกระแสไฟฟาบนหนาจอนั้นเปนการแสดงผลแรงดันไฟตรง
และกระแสไฟตรงเทานั้น ในกรณีที่เปนแรงดันหรือกระแสในรูปแบบอื่นไมสามารถแสดงผลบน
หนาจอโปรแกรม Schematics ได

18 ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
ปฏิบัติการ การวิเคราะหวงจรไฟฟา 1

          1.3.4.5 การตรวจสอบผลการจําลองการทํางานในรูปแบบของไฟลตัวอักษร
          นอกจากนี้โปรแกรมจะแสดงผลจากการจําลองการทํางานในรูปแบบของไฟลตัวอักษร
(text file) ไดอีกดวย จากวงจรในตัวอยางที่ 1.1 ใหทําการกําหนดชื่อโนดเสียกอน(เพื่อความสะดวก
ในการตรวจสอบผลลัพธที่ได)

        การกําหนดชื่อโนดทําไดโดยการดับเบิลคลิกที่สาย(wire)ที่เชื่อมตอวงจร โปรแกรมจะ
แสดงหนาตางใหใสช่ือโนดดังรูปที่ 1.29 โดยชื่อโนดสามารถเปนตัวเลขหรือตัวอักษรก็ได ดัง
ตัวอยางในรูปที่ 1.30 โนดดานซายมีชื่อวา N1 และโนดดานขวามีชื่อวา N2 สวนโนดกราวนดนั้น
โปรแกรมจะทําการตั้งชื่อใหเปนโนด 0(ศูนย) โดยอัตโนมัติ




                                รูปที่ 1.29 การตั้งชือโนดใหกับโนดตางๆในวงจร
                                                     ่




                          รูปที่ 1.30 วงจรในตัวอยางที่ 1,1 หลังจากตั้งชื่อโนดตางๆแลว

       หลังจากกําหนดชื่อโนดแลวใหทําการจําลองการทํางานของวงจรอีกครั้ง (โดยการกดคีย
F11) หลังจากนั้นใหเขาเมนู Analysis เลือก Examine Output โปรแกรมจะแสดงหนาตางแสดงผล
การจําลองการทํางานดังตอไปนี้

1:      **** 03/18/109 23:27:41 ******** NT Evaluation PSpice (July 1997) ************
2:
3:      * C:Documents and SettingsAdminDesktopNew FolderEXP1.sch
4:
5:
6:      ****    CIRCUIT DESCRIPTION
7:
8:
9:      *****************************************************************************
10:
11:
12:
13:
14:     * Schematics Version 8.0 - July 1997
15:     * Wed Mar 18 23:27:41 2009
16:


                                                                                                        19
บทที่ 1 แนะนําโปรแกรม SPICE

17:
18:
19:    ** Analysis setup **
20:    .OP
21:
22:
23:    * From [SCHEMATICS NETLIST] section of msim.ini:
24:    .lib nom.lib
25:
26:    .INC "EXP1.net"
27:
28:    **** INCLUDING EXP1.net ****
29:    * Schematics Netlist *
30:
31:
32:
33:    R_R2       N2      0    20
34:    R_R1       N1     N2    10
35:    V_V1       N1      0    DC   12
36:
37:     **** RESUMING EXP1.cir ****
38:    .INC "EXP1.als"
39:
40:
41:
42:     **** INCLUDING EXP1.als ****
43:    * Schematics Aliases *
44:
45:     .ALIASES
46:    R_R2        R2(1=N2 2=0 )
47:    R_R1        R1(1=N1 2=N2 )
48:    V_V1        V1(+=N1 -=0 )
49:    _ _(N2=N2)
50:    _ _(N1=N1)
51:    .ENDALIASES
52:
53:
54:    **** RESUMING EXP1.cir ****
55:    .probe
56:
57:
58:    .END
59:
60:
61:    **** 03/18/109 23:27:41 ******** NT Evaluation PSpice (July 1997) ************
62:
63:    * C:Documents and SettingsAdminDesktopNew FolderEXP1.sch
64:
65:
66:    ****    SMALL SIGNAL BIAS SOLUTION       TEMPERATURE = 27.000 DEG C
67:
68:
69:    *****************************************************************************
70:
71:
72:
73:    NODE VOLTAGE           NODE VOLTAGE   NODE VOLTAGE       NODE VOLTAGE
74:
75:
76:    ( N1) 12.0000          ( N2) 8.0000
77:
78:
79:
80:



20 ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
ปฏิบัติการ การวิเคราะหวงจรไฟฟา 1

81:       VOLTAGE SOURCE CURRENTS
82:       NAME     CURRENT
83:
84:       V_V1      -4.000E-01
85:
86:       TOTAL POWER DISSIPATION 4.80E+00 WATTS
87:
88:    **** 03/18/109 23:27:41 ******** NT Evaluation PSpice (July 1997) ************
89:
90:     * C:Documents and SettingsAdminDesktopNew FolderEXP1.sch
91:
92:
93:     ****     OPERATING POINT INFORMATION       TEMPERATURE = 27.000 DEG C
94:
95:
96:    *****************************************************************************
97:
98:
99:
100:
101:
102:           JOB CONCLUDED
103:
104:           TOTAL JOB TIME        .02




        จากตัวอยางของไฟลเอาตพตที่ไดจะขออธิบายอยางคราวๆดังนี้
                                    ุ
บรรทัด ความหมาย
33 - 35    อธิ บ ายการเชื่ อ มต อ ของอุ ป กรณ ต า งๆในวงจร เช น R_R1        N1    N2 10

           หมายความถึงตัวตานทานที่ชื่อ R1 ตออยูในวงจรที่โนด N1 และ โนด N2 ตามลําดับ
           โดยมีคาความตานทาน 10 โอหม
73 - 76    แสดงคาแรงดันไฟตรงที่โนดตางๆเมื่อเทียบกับโนดกราวนด เชนแรงดันไฟตรงที่โนด
           N1 มีคาเปน 12 โวลต
81 – 84 แสดงคาของกระแสไฟตรงที่ไหลผานแหลงจายแรงดัน ในที่นี้มีแหลงจายแรงดันใน
           วงจรเพียงตัวเดียวคือ V1 โดยมีกระแสไฟตรงไหลผานเทากับ -0.4A หรือ -400mA ซึ่ง
           กระแสดังกลาวเปนกระแสที่มีทิศทางไหลจากขั้วบวกไปยังขั้วลบ
           ของแหล ง จ า ยแรงดั น นั้ น ๆ (ดั ง นั้ น กระแสไฟตรงที่ ไ หลผ า น
           แหลงจายแรงดัน V1 ในตัวอยางนี้มีคาเทากับ 400mA โดยมี
           ทิศทางไหลจากขั้วลบไปยังขั้วบวกนั่นเอง)
86         แสดงคากําลังงานรวมที่แหลงจายจายออกมา ดังตัวอยางมีคาเทากับ 4.8 วัตต




                                                                                         21
บทที่ 1 แนะนําโปรแกรม SPICE

ตัวอยางที่ 1.2 วงจรที่ประกอบดวยแหลงจายกระแสไฟตรงและตัวตานทาน

                                           3mA              20Ω               20Ω

                                       รูปที่ 1.31 วงจรตัวอยางที่ 1,2

        แหลงจายกระแสในวงจรใชอุปกรณชื่อ ISRC โดยมีวิธีกําหนดคาเชนเดียวกับแหลงจาย
แรงดันไฟตรงคือกําหนดคาที่บรรทัด DC= โดยกําหนดใหมีคาเปน 3m (คือกําหนดใหมีคาเปน 3
มิลลิแอมป) ดังนั้นวงจรที่วาดเสร็จสิ้นแลวจะมีลักษณะดังรูปที่ 1.32




                              รูปที่ 1.32 วงจรตัวอยางที่ 1,2 ที่วาดเสร็จสิ้นแลว

      หลังจากนั้นใหบันทึกไฟลพรอมทั้งจําลองการทํางานซึ่งจะไดแรงดันที่โนดตางๆ และ
กระแสที่ไหลผานอุปกรณตางๆ ดังรูปที่ 1.33
                       




                        รูปที่ 1.33 แสดงคาแรงดันและกระแสไฟตรงในวงจรตัวอยาง 1.2

Note      ชื่อของอุปกรณตางๆนั้น (เชน V1 R1 หรือ I1 เปนตน) สามารถทําการแกไขไดโดยการ
ดับเบิลคลิกที่ชื่ออุปกรณนั้นๆและทําการแกไขเปนชื่อใหมตามที่ตองการ โดยมีขอแมวาชื่ออุปกรณ
นี้หามซ้ํากัน และ อุปกรณทุกตัวตองมีชื่อ หมายความวาหามลบชื่อของอุปกรณตางๆนั่นเอง (ปกติ
โปรแกรมจะทําการตั้งชื่อของอุปกรณทุกตัวใหโดยอัตโนมัติโดยไมซํากันอยูแลว)
                                                                  ้




22 ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
ปฏิบัติการ การวิเคราะหวงจรไฟฟา 1

TIP     การใชคําสั่งตางๆ เพื่อความรวดเร็วแลวอาจใชคียลัดหรือปุมบนแถบเครื่องมือก็ได ดัง
ตัวอยางคําสั่งที่อาจใชบอยๆ ดังนี้
          ปุม เมนู                         คียลัด      คําสั่ง
                    Draw ⇒ Get New Part… Ctrl+G          วางอุปกรณ
                    Draw ⇒ Wire             Ctrl+N       วาดเสนเชื่อมตอวงจร
                    Analysis ⇒ Simulate     F11          จําลองการทํางาน
                    View ⇒ In               Ctrl+I       ซูมเขา
                    View ⇒ Out              Ctrl+O       ซูมออก
                    View ⇒ Area             Ctrl+A       ซูมเปนพื้นที่
                    View ⇒ Fit              Ctrl+N       ซูมพอดีหนาจอ



แบบฝกหัดทายบท

1) จงหาคา V1 V2 V3 V4 และ V5

                       1Ω                  2Ω         3Ω               4Ω          5Ω
                       V1                  V2         V3               V4          V5
      60V


        V1 = _____________           V2 = _____________     V3 = _____________
        V4 = _____________           V5 = _____________

2) จงหาคา I1 I 2 I 3 I 4 และ I 5
                          I1               I2        I3           I4          I5
          15A                       2.4Ω        3Ω         4Ω           6Ω          12Ω

        I 1 = _____________          I 2 = _____________    I 3 = _____________
        I 4 = _____________          I 5 = _____________




                                                                                               23
บทที่ 1 แนะนําโปรแกรม SPICE

3) จงหาคา V1 V2 I3 I4 และ I5
                                  2Ω                      3Ω
                                  V1                      V2
             40V                                5Ω                         1Ω             1Ω
                                         I3                         I4               I5   2

        V1 = _____________         V2 = _____________
        I3 = _____________         I4 = _____________               I5 = _____________

4) จงหาคา V1 V2 I1 และ I2
                             I1         12Ω
                                         V1                I2
                   24V                               V2    6Ω                        7A

        V1 = _____________         V2 = _____________
        I1 = _____________         I2 = _____________

5) จงหาคา IA IB IC และ ID
                          1                                                   1 kΩ
                   IA 2 kΩ                       20mA                ID       6
                                   IB                      IC
                                              1 kΩ                       1 kΩ
          15V                                 3                          2                 30V

        IA = _____________         IB = _____________
        IC = _____________         ID = _____________

6) จงหาคา VX และ VY
                                                          12V

             3A                    VX     2Ω                   VY        1Ω               9A

                                                   36V
        VX = _____________         VY = _____________



24 ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlopPor Kung
 
Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1Nuth Otanasap
 
งานคอมพิวเตอร์.Ppt (1)
 งานคอมพิวเตอร์.Ppt (1) งานคอมพิวเตอร์.Ppt (1)
งานคอมพิวเตอร์.Ppt (1)jaikhwan
 

La actualidad más candente (6)

Power point
Power pointPower point
Power point
 
3 software deverlop
3 software deverlop3 software deverlop
3 software deverlop
 
1
11
1
 
Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1Operating System Chapter 1
Operating System Chapter 1
 
งานคอมพิวเตอร์.Ppt (1)
 งานคอมพิวเตอร์.Ppt (1) งานคอมพิวเตอร์.Ppt (1)
งานคอมพิวเตอร์.Ppt (1)
 
Adobe Flash CS3
Adobe Flash CS3Adobe Flash CS3
Adobe Flash CS3
 

Destacado

Destacado (7)

Lcbpc
LcbpcLcbpc
Lcbpc
 
Sboa092a
Sboa092aSboa092a
Sboa092a
 
LLA Tech Launch Presentation
LLA Tech Launch PresentationLLA Tech Launch Presentation
LLA Tech Launch Presentation
 
Digital stress report APLH
Digital stress report APLHDigital stress report APLH
Digital stress report APLH
 
GEOGRAFIA EN E. INFANTIL
GEOGRAFIA EN E. INFANTILGEOGRAFIA EN E. INFANTIL
GEOGRAFIA EN E. INFANTIL
 
SOY MAESTRA DE INFANTIL
SOY MAESTRA DE INFANTILSOY MAESTRA DE INFANTIL
SOY MAESTRA DE INFANTIL
 
RENE MAGRITTE
RENE MAGRITTERENE MAGRITTE
RENE MAGRITTE
 

Similar a Lab c1 1 (20)

9789740328766
97897403287669789740328766
9789740328766
 
9789740328766
97897403287669789740328766
9789740328766
 
Interractive simulation
Interractive simulationInterractive simulation
Interractive simulation
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
รูปทรงกลม
รูปทรงกลมรูปทรงกลม
รูปทรงกลม
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
11
1111
11
 
03activity1
03activity103activity1
03activity1
 
Vegas7 110907211826-phpapp01
Vegas7 110907211826-phpapp01Vegas7 110907211826-phpapp01
Vegas7 110907211826-phpapp01
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 

Lab c1 1

  • 1. บทที่ 1 แนะนําโปรแกรม SPICE 1.1 SPICE คืออะไร SPICE ยอมาจากคําในภาษาอังกฤษวา “Simulation Program with Integrated Circuit Emphasis” SPICE คือซอฟตแวรคอมพิวเตอรชนิดหนึ่งที่มีไวสําหรับชวยในการจําลองการทํางาน ของวงจรไฟฟา ประโยชนของการใชงาน SPICE คือ ในการออกแบบวงจรไฟฟาเริ่มแรกยังไม จําเปนตองตอวงจรจริง เพียงแคทําการตอวงจรเพื่อวิเคราะหการทํางานของวงจรในคอมพิวเตอร กอน เพื่อตรวจสอบผลลัพธที่ไดจากการจําลองการทํางานโดยโปรแกรม SPICE วาตรงกับที่ได ออกแบบไวหรือไมเพื่อที่จะไดทําการแกไขขอบกพรองตางๆที่อาจเกิดขึ้นได จากนั้นเมื่อไดผลการ วิเคราะหที่พอใจแลวจึงลงมือทําการตอจริงอีกครั้งหนึ่ง เพื่อตรวจสอบผลการทํางานอีกครั้ง ซึ่งนั่น หมายถึ ง การลดเวลาในการต อ วงจรจริ ง และการลดความเสี ย หายที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ได ใ นการต อ วงจรไฟฟาจริงลงไดอยางมาก (แมวาโปรแกรม SPICE สมัยใหมจะจําลองการทํางานของ วงจรไฟฟาไดโดยมีความเชื่อถือไดสูงมากก็ตาม แตวาก็ตองมีการทดลองตอวงจรจริงดวยเพื่อการ ยืนยันการทํางานที่สมบูรณของวงจรไฟฟานั้นๆ ดวย) 1.2 การติดตั้งโปรแกรม โปรแกรม SPICE ที่ใชการทดลองในหนังสือเลมนี้เปนของบริษัท MicroSim Corperation ในเวอรชันทดลองใชเวอรชัน 8.0 (Evaluation version 8.0) ซึ่งเปนเวอรชัน ที่ทางบริษัทฯ แจกใหทดลองใชฟรี โดยมีขอจํากัดบางประการเชนในเรื่องของอุปกรณที่มีใน ไลบรารี(Library) และจํานวนของอุปกรณที่สามารถมีไดในการจําลองการทํางานแตะครั้งเปนตน เมื่ อ ทํ า การดาวน โ หลดโปรแกรมลงบนเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร แ ล ว ให ทํ า การดั บ เบิ ล คลิ ก ที่ ไ ฟล setup.exe โปรแกรมจะเริ่มทําการติดตั้งลงในเครื่องคอมพิวเตอรโดยแสดงหนาตางดังรูปที่ 1.1 ให เลือกที่ และ คลิกปุม
  • 2. บทที่ 1 แนะนําโปรแกรม SPICE รูปที่ 1.1 เริ่มตนการติดตั้งโปรแกรม MicroSim Evaluation version 8.0 รูปที่ 1.2 เลือกรูปแบบการติดตั้งโปรแกรม และเลือกโฟลเดอรที่จะทําการติดตั้งโปรแกรมซึ่งที่นคือ C:MSimEv_8 ี้ รูปที่ 1.3 เลือกโฟลเดอรโปรแกรมที่จะติดตั้งใน Start menu 2 ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  • 3. ปฏิบัติการ การวิเคราะหวงจรไฟฟา 1 จากรูปที่ 1.2 เปนการเลือกรูปแบบในการติดตั้งโปรแกรม ใหเลือกที่ โดยจะเปน การติดตั้งโปรแกรมที่โฟลเดอร C:MsimEv_8 (ซึ่งสามารถเปลี่ยนเปนโฟลเดอรที่ตองการได) หลังจากคลิกที่ปุม แลว โปรแกรมจะแสดงหนาตางรูปที่ 1.3 เพื่อใหทําการเลือก โฟลเดอรของโปรแกรมที่จะติดตั้งใน Start menu ของวินโดว ซึ่งปกติแลวโปรแกรมจะตั้งชื่อ โฟลเดอรใหมาแลวคือ DesignLab Eval 8 ในหนาตางรูปที่ 1.3 นี้ใหคลิกที่ปุม เพื่อทํา การติดตั้งโปรแกรมตอไป โปรแกรมจะสรุปคาตางๆที่เราเลือกไวขั้นอนกอนหนานี้ดังหนาตางใน รูปที่ 1.4 ในขั้นตอนนี้ใหคลิกที่ปุม จะเปนการเริ่มทําการติดตั้งโปรแกรม รูปที่ 1.4 หนาตางสรุปการติดตั้งโปรแกรม หลังจากทําการติดตั้งโปรแกรมไประยะหนึ่ง โปรแกรมจะถามโฟลเดอรที่จะเปนโฟลเดอร เริ่มตนในการเปดไฟลขอมูลของโปรแกรม และ โฟลเดอรสําหรับไลบรารีของผูใช ดังรูปที่ 1.5 และ 1.6 ซึ่งโดยปกติแลวจะเปนโฟลเดอรยอยที่อยูในโฟลเดอรที่ทําการติดตั้งโปรแกรมโดยมีชื่อ เปน Projects และ UserLib ตามลําดับ ใหคลิกที่ปุม เพื่อติดตั้งโปรแกรมตอไป รูปที่ 1.5 เลือกโฟลเดอรเริ่มตนในการเปดไฟลขอมูลของโปรแกรม ในที่นี้คือ C:MsimEv_8Projects 3
  • 4. บทที่ 1 แนะนําโปรแกรม SPICE รูปที่ 1.6 เลือกโฟลเดอรสําหรับไลบรารีของผูใช ในที่นี้คือ C:MsimEv_8UserLib รูปที่ 1.7 เลือกใหสามารถดับเบิลคลิกเพื่อใหวนโดวเปดไฟลที่มนามสกุล LIB, DAT, SCH และ STL โดยโปรแกรม MicroSim ิ ี รูปที่ 1.7 เปนการเลือกวาตองการใหเมื่อดับเบิลคลิกที่ไฟลที่มีนามสกุล LIB, DAT, SCH และ STL จะใหวินโดวเปดโปรแกรม MicroSim โดยอัตโนมัติหรือไม ใหเลือกที่ รูปที่ 1.8 หนาตางเมื่อเสร็จสิ้นการติดตั้งโปรแกรม เมื่ อติ ดตั้งโปรแกรมเสร็ จ สิ้นโปรแกรมจะแสดงหนาตางดังรูปที่ 1.8 ใหคลิก ที่ปุม เราสามารถเรียกใชโปรแกรมไดโดยเขาไปที่ Start menu ของวินโดว ดังรูปที่ 1.9 4 ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  • 5. ปฏิบัติการ การวิเคราะหวงจรไฟฟา 1 รูปที่ 1.9 โปรแกรม MicroSim ที่ติดตั้งอยูที่ Start menu ของวินโดว 1.3 การใชงานโปรแกรมเบื้องตน การใชงาน SPICE ของ MicroSim* เวอรชันนี้ แบงออกเปน 3 สวนหลักๆจะใชงานคือ สวนของ Schematics สวนของ Probe และสวนของ PspiceA_D โดย Schematics เปนสวน หนาจอที่ใชตอรูปวงจรไฟฟาที่จะวิเคราะห กําหนดวิธีการวิเคราะห รวมทั้งการแสดงผลแรงดันหรือ กระแสไฟฟาในบางสวนของวงจร สําหรับ Probe เปนหนาจอที่แสดงผลการวิเคราะหในรูปของ กราฟฟก เทียบไดกับหนาจอของเครื่องมือวัดสัญญาณตางๆในหองปฎิบัติการ และสุดทายสวน ของ PspiceA_D ใชในการวิเคราะหวงจรไฟฟาที่เขียนในหนาจอ Schematics หรือโดยการเขียนเปน ไฟลชดคําสั่ง (*.cir) โดยในบทนี้จะกลาวถึงการใชงานเฉพาะสวนของ Schematics ุ 1.3.1 ตัวเลขที่ใชในโปรแกรม การระบุคาตางๆ ในโปรแกรม MicroSim ที่เปนตัวเลขเชนคาของอุปกรณตางๆ (เชนคา ความตานทาน คาแรงดัน หรือกระแสไฟฟา เปนตน) รวมถึงคาที่เปนคําตอบที่ไดจากการจําลองการ ทํางานโดยโปรแกรมนั้นสามารถที่จะระบุไดหลากหลายรูปแบบดังตอไปนี้ ก) จํานวนเต็ม (integer value) เชน 1 350 1200000 -45 ข) จํานวนทศนิยม (floating point value) เชน 0.12 -3.02 800.234 ค) จํานวนคูณสิบยกกําลัง (exponent value) เชน 1.2E4 มีคา 1.2×104 เทากับ 12000 0 5E0 มีคา 5×10 เทากับ 5 4.5E-2 มีคา 4.5×10-2 เทากับ 0.045 -3.744E2 มีคา -3.7×102 เทากับ -374.4 5
  • 6. บทที่ 1 แนะนําโปรแกรม SPICE ง) จํานวนเศษสวน (fraction value) จํานวนที่เปนเศษสวนตองใสไวภายในวงเล็บปกกา {} เทานั้น เชน {1/2} มีคาเทากับ 0.5 {2/3} มีคาเทากับ 0.666666666666… {-3/4} มีคาเทากับ -0.75 นอกจากนี้ยังสามารถใชคําอุปสรรค (prefixes) ในการระบุคาของอุปกรณไดอีกดวย โดย คําอุปสรรคที่ใชไดแสดงดังตารางที่ 1.1 ตารางที่ 1.1 คําอุปสรรคที่ใชในโปรแกรม MicroSim ตัวคูณ คําอุปสรรค สัญลักษณที่ใชในโปรแกรม 10-15 femto f 10-12 pico p 10-9 nano n 10-6 micro u 10-3 milli m 10+3 kilo k 10+6 mega MEG 10+9 giga G 10+12 tera T ในโปรแกรม MicroSim ไมสนใจตัวอักษรตัวพิมพใหญและตัวพิมพเล็กถือวามีคาเทากัน ดังนั้น n = N(nano), m = M(milli), g = G(giga), MEG = meg = Meg(mega) เปนตน ตัวอยางของการใชคําอุปสรรค 120k มีคาเทากับ 12000 34m มีคาเทากับ 34M มีคาเทากับ 0.034 -6.789meg มีคาเทากับ -6789k มีคาเทากับ -6789000 1.3.2 หนวยของปริมาณตางๆ หนวยของปริมาณตางๆ เชนแรงดันหรือกระแสไฟฟานั้น โปรแกรมจะใชหนวยมาตรฐาน เชน แรงดันมีหนวยเปน โวลต กระแสมีหนวยเปนแอมแปร โดยที่เราไมจําเปนตองใสหนวยใหกับ คาของตัวเลขนั้นๆ เชนถาตัวตานทานมีคาเปน 10 โอหม เราก็ระบุคาใหตัวตานทานมีคาเทากับ 10 (โดยไมตองใสหนวยโอหม) ดังที่จะไดเห็นตอไปในวงจรตัวอยางที่ 1.1 6 ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  • 7. ปฏิบัติการ การวิเคราะหวงจรไฟฟา 1 ตารางที่ 1.2 หนวยของปริมาณตางๆ ปริมาณ หนวย แรงดัน โวลต (volt) กระแสไฟฟา แอมแปร (ampere) ความตานทาน โอหม (ohm) ความจุไฟฟา ฟารัด (farad) ความเหนี่ยวนํา เฮนรี่ (henry) เวลา วินาที (second) ความถี่ เฮิรตซ (hertz) มุม องศา (degree) 1.3.3 เขาสูโปรแกรม Schematics โปรแกรม Schematics เปนสวนหนึ่งของโปรแกรม MicroSim โดยเปนสวนหนาจอที่ใช วาดรูปวงจรไฟฟาที่จะวิเคราะห กําหนดรูปแบบวิธีการวิเคราะห รวมทั้งการแสดงผลแรงดันหรือ กระแสไฟฟาในบางสวนของวงจร ขั้นตอนการเขาโปรแกรม Schematics แสดงดังรูปที่ 1.10 โดย มีหนาจอของโปรแกรมดังรูปที่ 1.11 รูปที่ 1.10 การเขาสูโปรแกรม Schematics รูปที่ 1.11 หนาจอโปรแกรม Schematics 7
  • 8. บทที่ 1 แนะนําโปรแกรม SPICE 1.3.4 การใชงานโปรแกรม Schematics เบื้องตน การใชงานเมนูตางๆบางสวนของโปรแกรม Schematics มีคลายคลึงกับโปรแกรมอื่นๆ บน วินโดว เชนเมนู File เมนู Edit หรือ เมนู Window เปนตน ดังนั้นในที่นี้จะไมขอกลาวถึงเมนู ตางๆ เหลานี้ จะขอกล าวถึงเฉพาะเมนูที่ จะใชงานและมีความแตกตางจากโปรแกรมอื่น ๆบน วินโดวเทานั้น ดังที่กลาวขางตนวาโปรแกรม Schematics เปนโปรแกรมที่ใชวาดรูปวงจรที่จะทํา การจําลองการทํางาน ดังนั้นในขั้นแรกนี้จะกลาวถึงการวาดรูปวงจรโดยโปรแกรม Schematics กอน 1.3.4.1 การวางอุปกรณ อุปกรณที่จะวาดเปนวงจรที่จะทําการจําลองการทํางานนั้นจะมีชื่อเฉพาะของแตละอุปกรณ เอง ดังแสดงตัวอยางชื่ออุปกรณบางตัวที่จะในบทนี้ดังตารางที่ 1.3 ตารางที่ 1.3 ชื่อของอุปกรณในโปรแกรม Schematics อุปกรณ ชื่ออุปกรณ สัญลักษณ แหลงจายแรงดันอิสระ VSRC แหลงจายกระแสอิสระ ISRC ตัวตานทาน R กราวนด EGND การวางอุปกรณทําไดโดยไปที่เมนู Draw เลือก Get New Part… (หรือใชคียลัดคือ Ctrl+G) จะไดหนาตางดังรูปที่ 1.12 โดยมีชอง Part Name สําหรับใสชื่อของอุปกรณ สวนชอง Description จะเปนรายละเอียดของอุปกรณนั้นๆ(จะแสดงรายละเอียดกรณีที่พิมพชื่ออุปกรณแลว) สวนดานลางถัดจากชอง Description จะเปนรายการของอุปกรณที่มีใชในโปรแกรมซึ่งจะมีอุปกรณ อยูเปนจํานวนมาก โดยในบทนี้จะไมไดแนะนําใหรูจักกับอุปกรณทุกตัว จะแนะนําอุปกรณเพียง 4 ชนิดดังแสดงในตารางที่ 1.3 สวนอุปกรณอื่นๆนั้นจะแนะนําในภายหลังเมื่อตองการเรียกมาใชงาน เราอาจเลือกอุปกรณจากรายการที่มีทั้งหมดโดยการคลิกเลือกอุปกรณที่ตองการ หรือ อาจจะพิมพชื่อของอุปกรณ(ที่เราทราบชื่อแลว)ลงในชอง Part Name ไดเลย 8 ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  • 9. ปฏิบัติการ การวิเคราะหวงจรไฟฟา 1 พิมพชื่อของอุปกรณ รายละเอียดของอุปกรณ ตามชื่อในชอง Part Name ปดหนาตางนี้ วางอุปกรณ รายการอุปกรณที่มีใน วางอุปกรณพรอมปดหนาตางนี้ โปรแกรม สามารถคลิกเลือก อุปกรณจากชองนี้ได การวางอุปกรณข้นสูง ั ดูรูป 1.13 รูปที่ 1.12 หนาตางการวางอุปกรณขนพื้นฐาน ั้ แสดงสัญลักษณ ของอุปกรณ การวางอุปกรณข้นพื้นฐาน ั รูปที่ 1.13 หนาตางการวางอุปกรณขนสูง ั้ เมื่อพิมพชื่อของอุปกรณในชอง Part Name เสร็จสิ้นแลวใหทําการกดปุม Place หรือปุม Place & Close ก็ได เราจะไดอุปกรณนั้นเคลื่อนที่ไปพรอมกับเมาส เลื่อนเมาสไปยังตําแหนงที่ ตองการแลวทําการคลิกปุมซายของเมาสจะเปนการวางอุปกรณนั้น ในขั้นตอนนี้อาจวางอุปกรณ นั้นไดตอไปอีกตอเนื่องหลายๆตัว เมื่อวางอุปกรณเสร็จสิ้นแลวในคลิกสปุมขวาเปนการสิ้นสุดการ วางอุปกรณ TIP ในระหวางการวางอุปกรณอาจกดคียลัด Ctrl+R เพื่อหมุน (Rotate) อุปกรณ หรือกดคียลัด Ctrl+F เพื่อพลิก (Flip) อุปกรณได (ทั้งนี้อาจหมุนหรือพลิกอุปกรณในภายหลังก็ได) 9
  • 10. บทที่ 1 แนะนําโปรแกรม SPICE หลังจากการวางอุปกรณบนหนาจอแลวเราสามารถทําการเคลื่อนยาย ลบ หมุน หรือ พลิก อุปกรณนั้นๆ ได โดยเราตองทําการเลือกอุปกรณนั้นกอน การเลือกทําไดโดยการคลิกที่อุปกรณ นั้น อุปกรณนั้นจะกลายเปนสีแดง ดังตัวอยางเมื่อคลิกเลือกที่ตัวตานทาน R1 ในรูปที่ 1.14(ก) ซึ่ง ในที่น้สามารถเลือกอุปกรณที่ละหลายๆตัวไดเชนเดียวกับโปรแกรมอื่นๆ บนวินโดว โดยการกดคีย ี shift คางไวและคลิกเมาสเพื่อเลือกอุปกรณที่ตองการ สวนกรณีที่ตองการเลือกอุปกรณครั้งละมากๆ เปนกลุม สามารถทําไดโดยการคลิกเมาส ซายคางไว และเลื่อนเมาสใหครอบคลุมอุปกรณทั้งหมดที่ตองการเลือกเพื่อใหเกิดกรอบสี่เหลี่ยม ลอมรอบอุปกรณทั้งหมดที่ตองการและปลอยเมาส อุปกรณท้งหมดในกรอบสี่เหลี่ยมจะกลายเปนสี ั แดงซึ่งหมายถึงอุปกรณนั้นถูกเลือก ดังรูปที่ 1.14(ข) (ก) (ข) รูปที่ 1.14 การเลือกอุปกรณ - การเคลื่อนยายอุปกรณที่เลือกทําไดโดยการคลิกเมาสซายคางไวที่อุปกรณที่ถูกเลือกไว และทําการเลื่อนเมาสไปยังตําแหนงที่ตองการและปลอยเมาส - การลบอุปกรณที่ถูกเลือกไวทําไดโดยการกดคีย delete บนคียบอรด หรือเขาเมนู Edit เลือกคําสั่ง Delete - การหมุนอุปกรณที่ถูกเลือกไวทําไดโดยการกดคียลัด Ctrl+R หรือเขาเมนู Edit เลือก คําสั่ง Rotate - การพลิกอุปกรณที่ถูกเลือกไวทําไดโดยการกดคียลัด Ctrl+F หรือเขาเมนู Edit เลือกคําสั่ง Filp (ก) การหมุนอุปกรณ (ข) การพลิกอุปกรณ รูปที่ 1.15 การหมุนหรือพลิกอุปกรณ 10 ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  • 11. ปฏิบัติการ การวิเคราะหวงจรไฟฟา 1 1.3.4.2 การกําหนดคาของอุปกรณ สําหรับการกําหนดคาของอุปกรณในโปรแกรม Schematics ในที่นี้จะแบงเปน 2 ประเภท คืออุปกรณที่แสดงคาออกมาปรากฏบนหนาจออยูแลว และอุปกรณที่ไมแสดงคาออกมาบนหนาจอ อุปกรณชนิดที่แสดงคาของอุปกรณออกมาใหเห็นที่หนาจอ เชนจากรูปที่ 1.14(ก) จะเห็นวา ตัวตานทาน R1 มีคาเปน 1k (หรือ 1000 โอหม) สามารถทําการกําหนดคาใหอุปกรณไดโดยการ ดับเบิลคลิกบนคาอุปกรณนั้น โปรแกรมจะแสดงหนาตางใหกําหนดคาของอุปกรณน้ันใหม ดังรูป ที่ 1.16 พรอมทั้งแสดงกรอบลอมรอบอุปกรณที่เรากําลังแกไขคาเพื่อแสดงวาเรากําลังแกไขคาของ อุปกรณตัวใดอยู (ในรูปที่ 1.16 จะมีกรอบเสนปะลอมรอบตวตานทาน R1) เมื่อกําหนดคาอุปกรณ เสร็จสิ้นแลวใหคลิกที่ปม ุ รูปที่ 1.16 การกําหนดคาใหกับอุปกรณที่มีคาปรากฎบนหนาจอ สําหรับอุปกรณชนิดที่ไมแสดงคาปรากฎบนหนาจอเชนแหลงจายแรงดัน V1 ในรูปที่ 1.16 การกําหนดคาใหกับอุปกรณประเภทนี้ใหทําการดับเบิลคลิกที่ตัวอุปกรณนั้นเลย โปรแกรมจะ แสดงหนาตางดังรูปที่ 1.17 รูปที่ 1.17 การกําหนดคาใหกับแหลงจายแรงดัน V1 จากรูปที่ 1.17 ใหทําการคลิกที่บรรทัด DC= และใสคาแรงดัน(ไฟตรง)ของแหลงจาย แรงดันในชอง Value พรอมทั้งกดคีย Enter (หรือกดปุม ) คาของอุปกรณนั้นจะปรากฎที่ บรรทัด DC= เปนการเสร็จสิ้นขั้นตอนการกําหนดคาใหกับแหลงจายแรงดัน กดปุม เพื่อออกจากหนาตางการกําหนดคา ดังสดงขั้นตอนในรูปที่ 1.18 11
  • 12. บทที่ 1 แนะนําโปรแกรม SPICE 2. กําหนดคาแรงดัน และกดคีย Enter 1. คลิกที่ บรรทัด DC= 3. กดปุม OK รูปที่ 1.18 การกําหนดคาใหกับแหลงจายแรงดัน V1 มีคา(ไฟตรง)เปน 12 โวลต Note สําหรับอุปกรณที่แนะนําในบทนี้มีการกําหนดคาไดดังนี้ ตัวตานทาน(R) กําหนดคาไดโดยการดับเบิลคลิกที่คาที่ปรกฎบนหนาจอดังรูปที่ 1.16 แหลงจายแรงดันอิสระ(VSRC) และแหลงจายกระแสอิสระ(ISRC) กําหนดคาไดโดยการ คลิกที่ตัวอุปกรณนั้นตามขั้นตอนในรูปที่ 1.18 โดยการกําหนดคาที่บรรทัด DC= เปนกําหนดให แหลงจายดังกลาวเปนแหลงจายแรงดันไฟตรงและแหลงจายกระแสไฟตรงตามลําดับ ทั้งนี้อุปกรณตัวอื่นๆ จะมีวิธีการกําหนดคาทํานองเดียวกับอุปกรณขางตน เพียงแตวา บรรทัดที่ตองกําหนดคาอาจจะตางกันไปแลวชนิดของอุปกรณ ซึ่งจะไดกลาวถึงตอไปในบทอื่นๆ สําหรับอุปกรณที่เรากําหนดคาใหแลวแตยังไมแสดงคาปรากฎบนหนาจอเราสามารถทําให คานั้นปรากฎบนหนาจอไดโดยการดับเบิลคลิกที่อุปกรณนั้นอีกครั้ง โปรแกรมแสดงหนาตางดังรูป ที่ 1.19 คลิกที่บรรทัดที่ตองการใหแสดงผลบนหนาจอ (ในที่นี้คือบรรทัด DC=12) และคลิกที่ปุม โปรมแกรมจะแสดงหนาตางดังรูปที่ 1.20 1. คลิกที่ บรรทัดที่ 2. คลิกปุม ตองการ Change Display รูปที่ 1.19 การใหแสดงผลคา DC=12 บนหนาจอ จากรูปที่ 1.20 ใหเลือกที่ เพื่อใหแสดงทั้งชื่อ (Name คือ DC) และคา (Value คือ 12) บนหนาจอและคลิกที่ปุม เปนอันเสร็จสิ้นขั้นตอนการกําหนดใหคาที่ ตองการแสดงผลบนหนาจอ ซึ่งจะไดผลดังรูปที่ 1.21 12 ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  • 13. ปฏิบัติการ การวิเคราะหวงจรไฟฟา 1 รูปที่ 1.20 การกําหนดกรแสดงผลบนหนาจอ รูปที่ 1.21 รูปวงจรหลังจากกําหนดใหมีการแสดง DC=12 บนหนาจอ รูปแบบของการแสดงผลบนหนาจอสําหรับคาที่เราเลือกใหแสดงผล จากรูปที่ 1.20 มี ทั้งสิ้น 5 รูปแบบคือ เปนการแสดงเฉพาะคา (Value ในที่น้คือเลข 12) ี เปนการแสดงเฉพาะชื่อ (Name ในที่นี้คือตัวอักษร DC) เปนการแสดงคาทั้งชื่อและคา (Name และ Value ในที่นี้คือ DC=12) เปนการแสดงคาทั้งชื่อและคา (เมื่อมีการกําหนดคา) ไมมีการแสดงผลบนหนาจอ Note การกําหนดรูปแบบการแสดงผลนี้ไมมีผลตอคาของอุปกรณ คือหมายความวาถึงแมเราจะ กําหนดใหไมมีการแสดงผลบนหนาจอ แตอุปกรณก็ยังคงมีคาตามที่ไดกําหนดไว 1.3.4.3 การลากเสนเชื่อมตอวงจร หลั ง จากที่ ไ ด ว างอุ ปกรณ ตางๆลงบนหนา จอแล ว ในลําดับต อมาก็ คือการลากเสน เพื่อ เชื่อมตออุปกรณตางๆ เขาดวยกัน ทําไดโดยการเขาสูเมนู Draw เลือก Wire (หรือใชคียลัดคือ Ctrl+W) สัญลักษณของเมาสจะกลายเปนรูปดินสอ ทําการลากเสนไดดังนี้ 13
  • 14. บทที่ 1 แนะนําโปรแกรม SPICE - คลิกเมาสซายไปที่ตําแหนงเริ่มตนที่ตองการ - คลิกเมาสซายตามตําแหนงที่ตองการลากเสนไปเรื่อย (ในระหวางการเลื่อนเมาสจะมีเสน ปะตามเคอรเซอรของเมาสไปดวย ดังรูปที่ 1.22) - เมื่อตองการสิ้นสุดการลากเสนทําไดสองวิธีคือ การคลิกเมาสขวา หรือ การดับเบิลคลิก ซายตรงตําแหนงสุดทายที่ตองการ รูปที่ 1.22 การลากเสนเชื่อมตออุปกรณ จังกชัน (ก) เสนเชือมตอกัน ่ (ข) เสนไมเชื่อมตอกัน รูปที่ 1.23 การเชือมตอกันระหวางเสนแนวตั้งกับเสนแนวนอน ่ จากรูปที่ 1.23 การลากเสนใหแสนแนวตั้งกับเสนแนวนอนเชื่อมตอกันนั้นดังรูปที่ 1.23(ก) ตองทําการลากเสนทีละสวน(ลากเสนใหเชื่อมตอกันเปนตัวที T กอน) เพื่อใหเกิดจังกชัน(junction) เปนการบอกวาเสนทั้งสองมีการเชื่อมตอกัน สวนรูปที่ 1.23(ข) เสนทั้งสองไมเชื่อมตอกัน(ไมมี จังกชันเกิดขึ้น) ทําไดโดยการลากเสนหนึ่งขามอีกเสนหนึ่งไปเลย Note การเคลื่ อนยาย ลบ หรื อหมุนเสนที่เชื่อมตอวงจรสามารถทําไดดวยวิธีเดียวกันกับการ เคลื่อนยาย ลบ หรือหมุนอุปกรณ 14 ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  • 15. ปฏิบัติการ การวิเคราะหวงจรไฟฟา 1 1.3.4.4 ตัวอยางการใชงานโปรแกรม Schematics ตัวอยางที่ 1.1 การใชโปรแกรม Schematics อยางงายๆ ตัวอยางที่ 1.1 เปนวงจรทางไฟฟาอยางงาย ที่ประกอบขึ้นจาก แหลงจายแรงดันอิสระ และ ตัวตานทาน ชุดหนึ่งดังรูปที่ 1.24 ทําตามขั้นตอนไดดังตอไปนี้ 10Ω 12V 20Ω รูปที่ 1.24 วงจรตัวอยางที่ 1.1 1. กด Ctrl+G เพื่อทําการเรียกใชอุปกรณ จากนั้น พิมพชื่ออุปกรณ VSRC เพื่อเรียกใช แหลงจายแรงดัน แลว กดคีย Enter วางแหลงจายแรงดัน ณ ตําแหนงที่ตองการ โดย การเลื่อนเมาสไปยังตําแหนงนั้นๆ แลวคลิกเมาสซายเพื่อวาง แหลงจายแรงดัน จากนั้นคลิกเมาสขวาเปนการสิ้นสุดการวาง แหลงจายแรงดัน 2. กด Ctrl+G แลวพิมพชื่ออุปกรณ R เปนการ เรียกใชตัวตานทาน แลวกดคีย Enter วางตัวตานทาน R1 ณ ตําแหนงตามที่แสดงใหดูในรูป โดยการคลิกเมาสซาย 3. กด Ctrl+R เพื่อทําการหมุนตัวตานทาน 90 องศา ในทิศทวนเข็มนาฬิกา แลววางตัวตานทาน R2 ณ ตําแหนงที่ ปรากฎตามรูป โดยการคลิกเมาสซาย คลิกเมาสขวาเปนอัน สิ้นสุดการวางตัวตานทาน 4. กด Ctrl+G แลวพิมพช่ืออุปกรณ EGND เปนการ วางกราวนดซึ่งตองมีในทุกวงจร สําหรับการวิเคราะหวงจร จากนั้นวาง EGND ตามตําแหนงที่ตองการ โดยการคลิกเมาส ซาย คลิกเมาสขวาเปนอันสิ้นสุดการวาง EGND 15
  • 16. บทที่ 1 แนะนําโปรแกรม SPICE 5. กด Ctrl+W เพื่อทําการเดินสายสัญญาณ เชื่อม อุปกรณเขากันตามรูป จะปรากฎเคอรเซอร รูปรางเหมือน ดินสอขึ้นมา การวางสายมีเทคนิกดังตอไปนี้ คลิกเมาสซาย สําหรับจุดเริ่มตนของการวางสาย จากนั้นคลิกสซายอีกครั้ง ณ จุดที่ตองการพักสาย ดับเบิลคลิกซายสําหรับจุดปลายของ สายสั ญ ญาณ และคลิ ก เมาส ข วาเป น อั น สิ้ น สุ ด การวาง สายไฟ 6. ทําการเปลี่ยนแปลงคาความตานทาน R1 โดยการ ดั บเบิลคลิ ก ซ า ยที่ ค าของตั ว ต านทาน R1 จากที่มีขนาด 1k โอหม แกใหเปน 10 โอหม และทําการแกคาความตานทาน R2 ใหเปน 20 โอหม 7. ทําการจัดตําแหนง ของชื่อ และ คาของอุปกรณ R1 และ R2 ที่อาจทับซอนกันอยูใหดูสวยงาม โดยการคลิก เมาส ซ า ยที่ ช่ื อ หรื อ ค า ของอุ ป กรณ ที่ ต อ งการ จะปรากฎ กรอบสี่เหลี่ยมเล็กๆ ลอมรอบ จากนั้นใหคลิกเมาสซายคางไว และลากเมาสเลื่อนไปยังตําแหนงที่ตองการ แลวปลอยเมาส เปนอันสิ้นสุดการเลื่อน 8. ทําการกําหนดคาของแหลงจายแรงดัน V1 โดย การดั บ เบิ ล คลิ ก ซ า ยที่ แ หล ง จ า ยแรงดั น V1 จะปรากฎ หนาตางกําหนดคา จากนั้นคลิกซายที่บรรทัด DC= แลว พิมพคําวา 12 ลงไปที่ชอง Value เพื่อกําหนดใหแหลงจาย แรงดัน V1 เปนแหลงจายแรงดันไฟตรงขนาด 12 โวลต จากนั้นคลิกปุม หรือ กดคีย Enter ทําการกดปุม ใหทําเลือก กดปุม เพื่อออกจากการเปลี่ ยนแปลงรูปแบบการ และกดปุม อีกครั้ง เพื่อออกจากการกําหนดคาใหแหลงจาย แรงดัน V1 9. กด Ctrl+S สําหรับบันทึกวงจรที่ไดวาดไว(หรือ Note ชื่ อ ไฟล ไ ม ส ามารถใช เขาเมนู File เลือกคําสั่ง Save) โดยไฟลจะมีนามสกุล . SCH ชื่อเปนภาษาไทยได จากรูปกําหนดใหมช่อวา EXP1.SCH ี ื 16 ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  • 17. ปฏิบัติการ การวิเคราะหวงจรไฟฟา 1 รูปที่ 1.25 วงจรตัวอยางที่ 1.1 เมื่อวาดวงจรเรียบรอยแลว 10. ทําการจําลองการทํางานโดยการกดคีย F11 (หรือเขาเมนู Analysis เลือกคําสั่ง Simulate) จะเปนการจําลองการทํางานในแบบรูปแบบของการวิเคราะหจุดทํางานทางไฟตรง(ซึ่ง เปนรูปแบบการวิเคราะหที่โปรแกรม) รูปที่ 1.26 ทําการจําลองการทํางานโดยเขาเมนู Analysis เลือกคําสั่ง Simulate หรือการกดคีย F11 11. ทําการกดปุม บนแถบเครื่องมือให เป น เพื่ อ ให โ ปรแกรมแสดงค า แรงดั น ที่ โ นด ตางๆในวงจร 17
  • 18. บทที่ 1 แนะนําโปรแกรม SPICE 12. ทําการกดปุม บนแถบเครื่องมือให เปน เพื่อใหโปรแกรมแสดงคากระแสที่ไหลผาน อุปกรณตางๆในวงจร ในกรณีของคําตอบที่เ ปนแรงดั น โปรแกรมจะแสดงเป นแรงดัน ที่ โนดตางๆ เทียบกั บ กราวนด โดยโนดกราวนดนั้นจะมีคาแรงดันโนดเปน 0 โวลตเสมอ สวนโนดอื่นๆโปรแกรมก็จะ แสดงคาแรงดันโนดเมื่อเทียบกับกรานดนั่นเอง + + 12V 8V _ _ รูปที่ 1.27 การแสดงแรงดันไฟตรงที่โนดตางๆ สวนกรณีของกระแสไฟฟา โปรแกรมจะแสดงกระแสไฟฟาที่อุปกรณทุกตัวในวงจร โดย เมื่อเราคลิกที่คาของกระแสนั้นๆ โปรแกรมจะแสดงทิศทางการไหลของกระแสไฟฟานั้นดวย ดัง ตัวอยางในรูปที่ 1.28 กระแสที่ไหลผานัวตานทาน R1 มีคาเปน 400mA มีทิศทางที่ไหลจากทางดาน ซายมือไปทางดานขวามือ รูปที่ 1.28 การแสดงคากระแสไฟตรงที่ไหลผานอุปกรณตางๆในวงจร Note การแสดงผลของแรงดันหรือกระแสไฟฟาบนหนาจอนั้นเปนการแสดงผลแรงดันไฟตรง และกระแสไฟตรงเทานั้น ในกรณีที่เปนแรงดันหรือกระแสในรูปแบบอื่นไมสามารถแสดงผลบน หนาจอโปรแกรม Schematics ได 18 ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  • 19. ปฏิบัติการ การวิเคราะหวงจรไฟฟา 1 1.3.4.5 การตรวจสอบผลการจําลองการทํางานในรูปแบบของไฟลตัวอักษร นอกจากนี้โปรแกรมจะแสดงผลจากการจําลองการทํางานในรูปแบบของไฟลตัวอักษร (text file) ไดอีกดวย จากวงจรในตัวอยางที่ 1.1 ใหทําการกําหนดชื่อโนดเสียกอน(เพื่อความสะดวก ในการตรวจสอบผลลัพธที่ได) การกําหนดชื่อโนดทําไดโดยการดับเบิลคลิกที่สาย(wire)ที่เชื่อมตอวงจร โปรแกรมจะ แสดงหนาตางใหใสช่ือโนดดังรูปที่ 1.29 โดยชื่อโนดสามารถเปนตัวเลขหรือตัวอักษรก็ได ดัง ตัวอยางในรูปที่ 1.30 โนดดานซายมีชื่อวา N1 และโนดดานขวามีชื่อวา N2 สวนโนดกราวนดนั้น โปรแกรมจะทําการตั้งชื่อใหเปนโนด 0(ศูนย) โดยอัตโนมัติ รูปที่ 1.29 การตั้งชือโนดใหกับโนดตางๆในวงจร ่ รูปที่ 1.30 วงจรในตัวอยางที่ 1,1 หลังจากตั้งชื่อโนดตางๆแลว หลังจากกําหนดชื่อโนดแลวใหทําการจําลองการทํางานของวงจรอีกครั้ง (โดยการกดคีย F11) หลังจากนั้นใหเขาเมนู Analysis เลือก Examine Output โปรแกรมจะแสดงหนาตางแสดงผล การจําลองการทํางานดังตอไปนี้ 1: **** 03/18/109 23:27:41 ******** NT Evaluation PSpice (July 1997) ************ 2: 3: * C:Documents and SettingsAdminDesktopNew FolderEXP1.sch 4: 5: 6: **** CIRCUIT DESCRIPTION 7: 8: 9: ***************************************************************************** 10: 11: 12: 13: 14: * Schematics Version 8.0 - July 1997 15: * Wed Mar 18 23:27:41 2009 16: 19
  • 20. บทที่ 1 แนะนําโปรแกรม SPICE 17: 18: 19: ** Analysis setup ** 20: .OP 21: 22: 23: * From [SCHEMATICS NETLIST] section of msim.ini: 24: .lib nom.lib 25: 26: .INC "EXP1.net" 27: 28: **** INCLUDING EXP1.net **** 29: * Schematics Netlist * 30: 31: 32: 33: R_R2 N2 0 20 34: R_R1 N1 N2 10 35: V_V1 N1 0 DC 12 36: 37: **** RESUMING EXP1.cir **** 38: .INC "EXP1.als" 39: 40: 41: 42: **** INCLUDING EXP1.als **** 43: * Schematics Aliases * 44: 45: .ALIASES 46: R_R2 R2(1=N2 2=0 ) 47: R_R1 R1(1=N1 2=N2 ) 48: V_V1 V1(+=N1 -=0 ) 49: _ _(N2=N2) 50: _ _(N1=N1) 51: .ENDALIASES 52: 53: 54: **** RESUMING EXP1.cir **** 55: .probe 56: 57: 58: .END 59: 60: 61: **** 03/18/109 23:27:41 ******** NT Evaluation PSpice (July 1997) ************ 62: 63: * C:Documents and SettingsAdminDesktopNew FolderEXP1.sch 64: 65: 66: **** SMALL SIGNAL BIAS SOLUTION TEMPERATURE = 27.000 DEG C 67: 68: 69: ***************************************************************************** 70: 71: 72: 73: NODE VOLTAGE NODE VOLTAGE NODE VOLTAGE NODE VOLTAGE 74: 75: 76: ( N1) 12.0000 ( N2) 8.0000 77: 78: 79: 80: 20 ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  • 21. ปฏิบัติการ การวิเคราะหวงจรไฟฟา 1 81: VOLTAGE SOURCE CURRENTS 82: NAME CURRENT 83: 84: V_V1 -4.000E-01 85: 86: TOTAL POWER DISSIPATION 4.80E+00 WATTS 87: 88: **** 03/18/109 23:27:41 ******** NT Evaluation PSpice (July 1997) ************ 89: 90: * C:Documents and SettingsAdminDesktopNew FolderEXP1.sch 91: 92: 93: **** OPERATING POINT INFORMATION TEMPERATURE = 27.000 DEG C 94: 95: 96: ***************************************************************************** 97: 98: 99: 100: 101: 102: JOB CONCLUDED 103: 104: TOTAL JOB TIME .02 จากตัวอยางของไฟลเอาตพตที่ไดจะขออธิบายอยางคราวๆดังนี้ ุ บรรทัด ความหมาย 33 - 35 อธิ บ ายการเชื่ อ มต อ ของอุ ป กรณ ต า งๆในวงจร เช น R_R1 N1 N2 10 หมายความถึงตัวตานทานที่ชื่อ R1 ตออยูในวงจรที่โนด N1 และ โนด N2 ตามลําดับ โดยมีคาความตานทาน 10 โอหม 73 - 76 แสดงคาแรงดันไฟตรงที่โนดตางๆเมื่อเทียบกับโนดกราวนด เชนแรงดันไฟตรงที่โนด N1 มีคาเปน 12 โวลต 81 – 84 แสดงคาของกระแสไฟตรงที่ไหลผานแหลงจายแรงดัน ในที่นี้มีแหลงจายแรงดันใน วงจรเพียงตัวเดียวคือ V1 โดยมีกระแสไฟตรงไหลผานเทากับ -0.4A หรือ -400mA ซึ่ง กระแสดังกลาวเปนกระแสที่มีทิศทางไหลจากขั้วบวกไปยังขั้วลบ ของแหล ง จ า ยแรงดั น นั้ น ๆ (ดั ง นั้ น กระแสไฟตรงที่ ไ หลผ า น แหลงจายแรงดัน V1 ในตัวอยางนี้มีคาเทากับ 400mA โดยมี ทิศทางไหลจากขั้วลบไปยังขั้วบวกนั่นเอง) 86 แสดงคากําลังงานรวมที่แหลงจายจายออกมา ดังตัวอยางมีคาเทากับ 4.8 วัตต 21
  • 22. บทที่ 1 แนะนําโปรแกรม SPICE ตัวอยางที่ 1.2 วงจรที่ประกอบดวยแหลงจายกระแสไฟตรงและตัวตานทาน 3mA 20Ω 20Ω รูปที่ 1.31 วงจรตัวอยางที่ 1,2 แหลงจายกระแสในวงจรใชอุปกรณชื่อ ISRC โดยมีวิธีกําหนดคาเชนเดียวกับแหลงจาย แรงดันไฟตรงคือกําหนดคาที่บรรทัด DC= โดยกําหนดใหมีคาเปน 3m (คือกําหนดใหมีคาเปน 3 มิลลิแอมป) ดังนั้นวงจรที่วาดเสร็จสิ้นแลวจะมีลักษณะดังรูปที่ 1.32 รูปที่ 1.32 วงจรตัวอยางที่ 1,2 ที่วาดเสร็จสิ้นแลว หลังจากนั้นใหบันทึกไฟลพรอมทั้งจําลองการทํางานซึ่งจะไดแรงดันที่โนดตางๆ และ กระแสที่ไหลผานอุปกรณตางๆ ดังรูปที่ 1.33  รูปที่ 1.33 แสดงคาแรงดันและกระแสไฟตรงในวงจรตัวอยาง 1.2 Note ชื่อของอุปกรณตางๆนั้น (เชน V1 R1 หรือ I1 เปนตน) สามารถทําการแกไขไดโดยการ ดับเบิลคลิกที่ชื่ออุปกรณนั้นๆและทําการแกไขเปนชื่อใหมตามที่ตองการ โดยมีขอแมวาชื่ออุปกรณ นี้หามซ้ํากัน และ อุปกรณทุกตัวตองมีชื่อ หมายความวาหามลบชื่อของอุปกรณตางๆนั่นเอง (ปกติ โปรแกรมจะทําการตั้งชื่อของอุปกรณทุกตัวใหโดยอัตโนมัติโดยไมซํากันอยูแลว) ้ 22 ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
  • 23. ปฏิบัติการ การวิเคราะหวงจรไฟฟา 1 TIP การใชคําสั่งตางๆ เพื่อความรวดเร็วแลวอาจใชคียลัดหรือปุมบนแถบเครื่องมือก็ได ดัง ตัวอยางคําสั่งที่อาจใชบอยๆ ดังนี้ ปุม เมนู คียลัด คําสั่ง Draw ⇒ Get New Part… Ctrl+G วางอุปกรณ Draw ⇒ Wire Ctrl+N วาดเสนเชื่อมตอวงจร Analysis ⇒ Simulate F11 จําลองการทํางาน View ⇒ In Ctrl+I ซูมเขา View ⇒ Out Ctrl+O ซูมออก View ⇒ Area Ctrl+A ซูมเปนพื้นที่ View ⇒ Fit Ctrl+N ซูมพอดีหนาจอ แบบฝกหัดทายบท 1) จงหาคา V1 V2 V3 V4 และ V5 1Ω 2Ω 3Ω 4Ω 5Ω V1 V2 V3 V4 V5 60V V1 = _____________ V2 = _____________ V3 = _____________ V4 = _____________ V5 = _____________ 2) จงหาคา I1 I 2 I 3 I 4 และ I 5 I1 I2 I3 I4 I5 15A 2.4Ω 3Ω 4Ω 6Ω 12Ω I 1 = _____________ I 2 = _____________ I 3 = _____________ I 4 = _____________ I 5 = _____________ 23
  • 24. บทที่ 1 แนะนําโปรแกรม SPICE 3) จงหาคา V1 V2 I3 I4 และ I5 2Ω 3Ω V1 V2 40V 5Ω 1Ω 1Ω I3 I4 I5 2 V1 = _____________ V2 = _____________ I3 = _____________ I4 = _____________ I5 = _____________ 4) จงหาคา V1 V2 I1 และ I2 I1 12Ω V1 I2 24V V2 6Ω 7A V1 = _____________ V2 = _____________ I1 = _____________ I2 = _____________ 5) จงหาคา IA IB IC และ ID 1 1 kΩ IA 2 kΩ 20mA ID 6 IB IC 1 kΩ 1 kΩ 15V 3 2 30V IA = _____________ IB = _____________ IC = _____________ ID = _____________ 6) จงหาคา VX และ VY 12V 3A VX 2Ω VY 1Ω 9A 36V VX = _____________ VY = _____________ 24 ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร