SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 17
Descargar para leer sin conexión
การฝากถ่ ายตัวอ่ อนหรือการอุ้มบุญ

การฝากถ่ ายตัวอ่ อนหรือการอุ้มบุญ คือ การฝากคนอื่น
ตั้งครรภ์แทน เริ่ มต้นด้วยการกระตุนรังไข่ แล้วนาไข่
                                  ้
ออกมาผสมกับอสุ จิตวอ่อนนั้นก็ไปฝากมดลูกคนอื่น
                      ั
อุ้มบุญมี 2 แบบ
 อุ้มบุญเทียม (Partial
surrogacy)
          คือการใช้ตวอ่อนซึ่งเกิดจากการผสม
                        ั
ระหว่างเชื้อของผูเ้ ป็ นพ่อกับไข่ของผูรับหน้าที่ทอง
                                         ้           ้
แทน หรื อ ผูอมบุญ (surrogate mother)
             ้ ุ้
พอผสมกันได้ตวอ่อนแล้วก็ใส่เข้าไปในท้องของผู้
                  ั
อุมบุญ กระบวนการนี้ใช้แค่เชื้ออสุ จิของพ่อเท่านั้น
   ้
ลักษณะเช่นนี้เกิดในกรณี ที่แม่ไม่มีไข่และอุมท้อง
                                               ้
ไม่ได้ เช่น แม่เป็ นมะเร็ งที่ได้รับเคมีบาบัด จึงไม่
สามารถใช้ไข่ของตัวเองได้ เนื่องจากไข่ถูกทาลาย
หรื อมีการผ่าเหล่า ดังนั้น จึงต้องอาศัยไข่ของคน
อื่นในการสร้างตัวอ่อน
อุ้มบุญแท้ (Full surrogacy)

อุ้มบุญแท้ (Full surrogacy) คือ นาไข่ของแม่มาปฏิสนธิ
กับเชื้อของพ่อแล้วอาศัยมดลูกของคนอื่นอุมท้องแทน แบบนี้เรี ยกว่า
                                           ้
อุมบุญแท้ ซึ่ งจะเกิดขึ้นเมื่อมดลูกของแม่มีปัญหาจนไม่สามารถ
   ้
                 ่
ตั้งครรภ์ได้ ไม่วาจะด้วยสาเหตุใดก็ตาม แต่รังไข่ของแม่ ยังใช้งานได้
ดี สามารถผลิตไข่ได้ตามปกติ เช่น กรณี ท่ีคนไข้ถกตัดมดลูกแต่ยงมี
                                                ู             ั
รังหรื อกรณี แม่ไม่สามารถตั้งครรภ์ได้เองในขณะนั้น ไข่
ทาไมต้ องอุ้มบุญ

        คู่สมรสที่จาเป็ นต้องอุมบุญส่ วนใหญ่เกิดจากการที่แม่ไม่
                               ้
สามารถตั้งครรภ์ได้เอง สาเหตุมกมาจากปั ญหาที่มดลูก
                                 ั
นอกจากนั้น ในการรักษาภาวะมีบุตรยากบางครั้งจาเป็ นต้อง
ตัดสิ นใจใช้วธีอุมบุญ
             ิ ้
ขั้นตอนการอุ้มบุญ

    คัดตัวอสุจิและทาการฉี ดเชื้อผสมเทียม เป็ นการรักษาที่ได้
มาตรฐาน สามารถทาได้โดยการใช้ยากระตุนรังไข่ เพื่อให้รังไข่มี
                                        ้
จานวนไข่เพิ่มขึ้น และใช้การตรวจอัลตราซาวด์และการใช้ยา เพื่อ
กาหนดการตกไข่ และทาการคัดน้ าเชื้อเลือกตัวอสุจิที่แข็งแรงฉี ดเข้าสู่
โพรงมดลูก เพื่อให้ตวอสุจิเข้าผสมกับไข่ ให้เกิดการตั้งครรภ์
                    ั
เริ่ มตั้งแต่ฝ่ายหญิงเริ่ มมีประจาเดือน โดยจะได้รับการช่วย
กระตุนรังไข่โดยใช้ยารับประทาน หรื อยาฉี ด หรื อใช้ท้ งยา
        ้                                                  ั
รับประทานและยาฉี ดร่ วมกัน โดยจะเริ่ มใช้ยาตั้งแต่วนที่ 2 หรื อ 3
                                                         ั
ของรอบเดือนเป็ นต้นไป ฝ่ ายหญิงจะได้รับการตรวจด้วย
เครื่ องอัลตราซาวด์ประมาณวันที่ 11-13 ของรอบเดือนเพื่อทราบ
ว่ารังไข่สร้างถุงไข่ได้มากเท่าไรและมีขนาดเท่าไร เพื่อแพทย์จะได้ให้
ยาเพื่อกระตุนให้มีการตกไข่ได้ต่อไป
                 ้
จากนั้นเมื่อถุงไข่โตถึงขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 17-
18 มม. แล้ว แพทย์จะให้ยาเพื่อกระตุนการตกไข่ ประมาณ 34-36
                                          ้
ชัวโมงหรื อประมาณ 1-2 วันหลังจากได้ยากระตุนการตกไข่ คู่
  ่                                                      ้
สมรสจะได้รับการนัดให้มาทาฉี ดเชื้ อผสมเทียม โดยฝ่ ายชายจะเก็บ
นาอสุ จิ น้ าอสุ จิจะได้รับการเตรี ยมเพื่อคัดเชื้ อที่แข็งแรง ใช้เวลาใน
การเตรี ยมน้ าเชื้ อประมาณ 2-3 ชัวโมง่
่
      ในการฉี ดเชื้อผสมเทียม ฝ่ ายหญิงจะอยูในท่าเหมือนตรวจภายใน
แพทย์จะใช้เครื่ องมือเหมือนการตรวจภายใน เพื่อช่วยให้สามารถเห็นปาก
                                                       ่
มดลูก จากนั้นแพทย์จะค่อยๆสอดสายที่บรรจุตวอสุ จิที่ผานการคัดเชื้อแล้ว
                                                  ั
                                                ่
ผ่านทางปากมดลูกเข้าไปจนปลายของสายอยูในโพรงมดลูก และแพทย์จึง
ฉี ดอสุ จิเข้าไป ส่ วนใหญ่ใช้เวลาในการฉี ดเชื้อผสมเทียมประมาณ 10 -
20 นาที และไม่จาเป็ นต้องใช้ยาสลบหรื อยาแก้ปวดใดๆ
    ความสาเร็ จของการรักษาขึ้นกับจานวนและคุณภาพของไข่และอสุ จิ อายุ
ของฝ่ ายหญิงและสุ ขภาพทั้วไป โดยทัวไปอัตราการตั้งครรภ์ต่อการทาหนึ่ง
                                     ่
ครั้งประมาณ 10-20%
กฎหมายร่ างสาหรับการอุ้มบุญ

     แพทยสภาได้ประกาศร่ างกฎหมายอุมบุญฉบับที่
                                         ้
1/2540 และ 2/2540 เรื่ องมาตรฐานการ
ให้บริ การเกี่ยวกับเทคโนโลยีช่วยการเจริ ญพันธุ์อยูแล้ว
                                                  ่
โดยสาระสาคัญของร่ างกฎหมายอุมบุญฉบับนี้หลักๆ
                                 ้
คือ
1.ผู้ ประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรื อแพทย์ ผให้บริ การต้องมีคุณสมบัติตามที่
                                         ู้
  แพทยสภากาหนด คู่สมรสที่เข้ารับบริ การให้มีการตั้งครรภ์แทน ต้องเป็ น
  สามีภรรยาที่จดทะเบียนสมรสถูกต้องตามกฎหมาย ส่ วนหญิงที่รับตั้งครรภ์
  แทน ต้องไม่ใช่บุตรของสามีหรื อภรรยา และต้องเป็ นหญิงที่ผ่านการ
  ยินยอมจากสามี พร้อมทั้งผ่านการมีบุตรมาแล้ว เพื่อให้มีประสบการณ์ใน
  การดูแลครรภ์และป้ องกันความผูกพันหรื ออยากได้บุตรไปเลี้ยงเอง
2.หญิงที่รับการอุมบุญจะไม่สามารถใช้ไข่ของตัวเองผสมกับอสุ จิของพ่อได้
                 ้
  เพื่อป้ องกันการผูกพัน
3.ห้ามมิให้มีการใช้ประโยชน์จากอสุ จิ ไข่ หรื อ ตัวอ่อนที่ฝากไว้
ข้ อดี
• ทาให้คู่สมรสมีบุตรสื บสกุล


                          ข้ อเสี ย
• 1.กลายเป็ นธุ รกิจแทนที่จะเป็ นเรื่ องความรักอยากเดียว
• 2.เกิดปั ญหาการแย่งเป็ นพ่อแม่ที่แท้จริ งของเด็ก
• 3.ขัดต่อจริ ยธรรม
การฝากตัวอ่อน

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อF:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อviriyalekprasert
 
Abortion 110724111506-phpapp01
Abortion 110724111506-phpapp01Abortion 110724111506-phpapp01
Abortion 110724111506-phpapp01nessasup nessasup
 
Common nutritional problems in pediatrics
Common nutritional problems in pediatricsCommon nutritional problems in pediatrics
Common nutritional problems in pediatricsPitiphong Sangsomrit
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
2.1อาหารสำหรับวัยทารก
2.1อาหารสำหรับวัยทารก2.1อาหารสำหรับวัยทารก
2.1อาหารสำหรับวัยทารกNickson Butsriwong
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPrachaya Sriswang
 
โรคขาดโปรตีน กลุ่ม Fanta gan g 2003
โรคขาดโปรตีน กลุ่ม Fanta gan g 2003โรคขาดโปรตีน กลุ่ม Fanta gan g 2003
โรคขาดโปรตีน กลุ่ม Fanta gan g 2003bankger
 
poster_Tatsida_154_No5
poster_Tatsida_154_No5poster_Tatsida_154_No5
poster_Tatsida_154_No5ssuser6586c7
 
Breastfeeding paeng(revised)
Breastfeeding paeng(revised)Breastfeeding paeng(revised)
Breastfeeding paeng(revised)Paweena Phangs
 

La actualidad más candente (13)

F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อF:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
F:\งาน Powerpoint And Word\เมื่อตั้งครรภ์ฉบับย่อ
 
5 หมู
5 หมู5 หมู
5 หมู
 
แผ่นพับเพศศึกษา
แผ่นพับเพศศึกษาแผ่นพับเพศศึกษา
แผ่นพับเพศศึกษา
 
Abortion 110724111506-phpapp01
Abortion 110724111506-phpapp01Abortion 110724111506-phpapp01
Abortion 110724111506-phpapp01
 
Common nutritional problems in pediatrics
Common nutritional problems in pediatricsCommon nutritional problems in pediatrics
Common nutritional problems in pediatrics
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
Multiplepregnancy
MultiplepregnancyMultiplepregnancy
Multiplepregnancy
 
2.1อาหารสำหรับวัยทารก
2.1อาหารสำหรับวัยทารก2.1อาหารสำหรับวัยทารก
2.1อาหารสำหรับวัยทารก
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
โรคขาดโปรตีน กลุ่ม Fanta gan g 2003
โรคขาดโปรตีน กลุ่ม Fanta gan g 2003โรคขาดโปรตีน กลุ่ม Fanta gan g 2003
โรคขาดโปรตีน กลุ่ม Fanta gan g 2003
 
poster_Tatsida_154_No5
poster_Tatsida_154_No5poster_Tatsida_154_No5
poster_Tatsida_154_No5
 
Breastfeeding paeng(revised)
Breastfeeding paeng(revised)Breastfeeding paeng(revised)
Breastfeeding paeng(revised)
 
Bleeding in first half
Bleeding in first halfBleeding in first half
Bleeding in first half
 

Similar a การฝากตัวอ่อน

Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.25554LIFEYES
 
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยluckana9
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ssuser48f3f3
 
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : ธนาคารน้ำนมและการบริจาคน้ำนมให้แก่องค์กรการ...
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : ธนาคารน้ำนมและการบริจาคน้ำนมให้แก่องค์กรการ...คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : ธนาคารน้ำนมและการบริจาคน้ำนมให้แก่องค์กรการ...
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : ธนาคารน้ำนมและการบริจาคน้ำนมให้แก่องค์กรการ...Om Muktar
 
Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisBow Aya
 
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัขเรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัขต๊อบ แต๊บ
 
การช่วยเหลือผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อมโดยชุมชน
การช่วยเหลือผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อมโดยชุมชนการช่วยเหลือผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อมโดยชุมชน
การช่วยเหลือผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อมโดยชุมชนChompoo Baotip
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมRoongroeng
 
Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-polyAimmary
 
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียนสอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียนduangkaew
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพOnrapanee Kettawong
 
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีUtai Sukviwatsirikul
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพOnrapanee Kettawong
 

Similar a การฝากตัวอ่อน (20)

Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
Lesson 2
Lesson 2Lesson 2
Lesson 2
 
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : ธนาคารน้ำนมและการบริจาคน้ำนมให้แก่องค์กรการ...
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : ธนาคารน้ำนมและการบริจาคน้ำนมให้แก่องค์กรการ...คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : ธนาคารน้ำนมและการบริจาคน้ำนมให้แก่องค์กรการ...
คำวินิจฉัย (ฟัตวา) จุฬาราชมนตรี : ธนาคารน้ำนมและการบริจาคน้ำนมให้แก่องค์กรการ...
 
Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitis
 
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัขเรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
 
Cpg std aug 2011
Cpg std aug 2011Cpg std aug 2011
Cpg std aug 2011
 
การช่วยเหลือผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อมโดยชุมชน
การช่วยเหลือผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อมโดยชุมชนการช่วยเหลือผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อมโดยชุมชน
การช่วยเหลือผู้หญิงที่ท้องไม่พร้อมโดยชุมชน
 
Mom knowledge
Mom knowledgeMom knowledge
Mom knowledge
 
Hiv guideline 2557
Hiv guideline 2557Hiv guideline 2557
Hiv guideline 2557
 
โรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรมโรคทางพันธุกรรม
โรคทางพันธุกรรม
 
อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์
 
Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-poly
 
Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-poly
 
Breast cancer
Breast cancerBreast cancer
Breast cancer
 
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียนสอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
สอนการใช้ยาลดความอ้วนสำหรับนักเรียน
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปีคู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
คู่มือเด็กเล็ก 0 3 ปี
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 

การฝากตัวอ่อน

  • 1.
  • 2. การฝากถ่ ายตัวอ่ อนหรือการอุ้มบุญ การฝากถ่ ายตัวอ่ อนหรือการอุ้มบุญ คือ การฝากคนอื่น ตั้งครรภ์แทน เริ่ มต้นด้วยการกระตุนรังไข่ แล้วนาไข่ ้ ออกมาผสมกับอสุ จิตวอ่อนนั้นก็ไปฝากมดลูกคนอื่น ั
  • 3. อุ้มบุญมี 2 แบบ อุ้มบุญเทียม (Partial surrogacy) คือการใช้ตวอ่อนซึ่งเกิดจากการผสม ั ระหว่างเชื้อของผูเ้ ป็ นพ่อกับไข่ของผูรับหน้าที่ทอง ้ ้ แทน หรื อ ผูอมบุญ (surrogate mother) ้ ุ้ พอผสมกันได้ตวอ่อนแล้วก็ใส่เข้าไปในท้องของผู้ ั อุมบุญ กระบวนการนี้ใช้แค่เชื้ออสุ จิของพ่อเท่านั้น ้ ลักษณะเช่นนี้เกิดในกรณี ที่แม่ไม่มีไข่และอุมท้อง ้ ไม่ได้ เช่น แม่เป็ นมะเร็ งที่ได้รับเคมีบาบัด จึงไม่ สามารถใช้ไข่ของตัวเองได้ เนื่องจากไข่ถูกทาลาย หรื อมีการผ่าเหล่า ดังนั้น จึงต้องอาศัยไข่ของคน อื่นในการสร้างตัวอ่อน
  • 4. อุ้มบุญแท้ (Full surrogacy) อุ้มบุญแท้ (Full surrogacy) คือ นาไข่ของแม่มาปฏิสนธิ กับเชื้อของพ่อแล้วอาศัยมดลูกของคนอื่นอุมท้องแทน แบบนี้เรี ยกว่า ้ อุมบุญแท้ ซึ่ งจะเกิดขึ้นเมื่อมดลูกของแม่มีปัญหาจนไม่สามารถ ้ ่ ตั้งครรภ์ได้ ไม่วาจะด้วยสาเหตุใดก็ตาม แต่รังไข่ของแม่ ยังใช้งานได้ ดี สามารถผลิตไข่ได้ตามปกติ เช่น กรณี ท่ีคนไข้ถกตัดมดลูกแต่ยงมี ู ั รังหรื อกรณี แม่ไม่สามารถตั้งครรภ์ได้เองในขณะนั้น ไข่
  • 5. ทาไมต้ องอุ้มบุญ คู่สมรสที่จาเป็ นต้องอุมบุญส่ วนใหญ่เกิดจากการที่แม่ไม่ ้ สามารถตั้งครรภ์ได้เอง สาเหตุมกมาจากปั ญหาที่มดลูก ั นอกจากนั้น ในการรักษาภาวะมีบุตรยากบางครั้งจาเป็ นต้อง ตัดสิ นใจใช้วธีอุมบุญ ิ ้
  • 6. ขั้นตอนการอุ้มบุญ คัดตัวอสุจิและทาการฉี ดเชื้อผสมเทียม เป็ นการรักษาที่ได้ มาตรฐาน สามารถทาได้โดยการใช้ยากระตุนรังไข่ เพื่อให้รังไข่มี ้ จานวนไข่เพิ่มขึ้น และใช้การตรวจอัลตราซาวด์และการใช้ยา เพื่อ กาหนดการตกไข่ และทาการคัดน้ าเชื้อเลือกตัวอสุจิที่แข็งแรงฉี ดเข้าสู่ โพรงมดลูก เพื่อให้ตวอสุจิเข้าผสมกับไข่ ให้เกิดการตั้งครรภ์ ั
  • 7.
  • 8. เริ่ มตั้งแต่ฝ่ายหญิงเริ่ มมีประจาเดือน โดยจะได้รับการช่วย กระตุนรังไข่โดยใช้ยารับประทาน หรื อยาฉี ด หรื อใช้ท้ งยา ้ ั รับประทานและยาฉี ดร่ วมกัน โดยจะเริ่ มใช้ยาตั้งแต่วนที่ 2 หรื อ 3 ั ของรอบเดือนเป็ นต้นไป ฝ่ ายหญิงจะได้รับการตรวจด้วย เครื่ องอัลตราซาวด์ประมาณวันที่ 11-13 ของรอบเดือนเพื่อทราบ ว่ารังไข่สร้างถุงไข่ได้มากเท่าไรและมีขนาดเท่าไร เพื่อแพทย์จะได้ให้ ยาเพื่อกระตุนให้มีการตกไข่ได้ต่อไป ้
  • 9. จากนั้นเมื่อถุงไข่โตถึงขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 17- 18 มม. แล้ว แพทย์จะให้ยาเพื่อกระตุนการตกไข่ ประมาณ 34-36 ้ ชัวโมงหรื อประมาณ 1-2 วันหลังจากได้ยากระตุนการตกไข่ คู่ ่ ้ สมรสจะได้รับการนัดให้มาทาฉี ดเชื้ อผสมเทียม โดยฝ่ ายชายจะเก็บ นาอสุ จิ น้ าอสุ จิจะได้รับการเตรี ยมเพื่อคัดเชื้ อที่แข็งแรง ใช้เวลาใน การเตรี ยมน้ าเชื้ อประมาณ 2-3 ชัวโมง่
  • 10.
  • 11. ในการฉี ดเชื้อผสมเทียม ฝ่ ายหญิงจะอยูในท่าเหมือนตรวจภายใน แพทย์จะใช้เครื่ องมือเหมือนการตรวจภายใน เพื่อช่วยให้สามารถเห็นปาก ่ มดลูก จากนั้นแพทย์จะค่อยๆสอดสายที่บรรจุตวอสุ จิที่ผานการคัดเชื้อแล้ว ั ่ ผ่านทางปากมดลูกเข้าไปจนปลายของสายอยูในโพรงมดลูก และแพทย์จึง ฉี ดอสุ จิเข้าไป ส่ วนใหญ่ใช้เวลาในการฉี ดเชื้อผสมเทียมประมาณ 10 - 20 นาที และไม่จาเป็ นต้องใช้ยาสลบหรื อยาแก้ปวดใดๆ ความสาเร็ จของการรักษาขึ้นกับจานวนและคุณภาพของไข่และอสุ จิ อายุ ของฝ่ ายหญิงและสุ ขภาพทั้วไป โดยทัวไปอัตราการตั้งครรภ์ต่อการทาหนึ่ง ่ ครั้งประมาณ 10-20%
  • 12.
  • 13.
  • 14. กฎหมายร่ างสาหรับการอุ้มบุญ แพทยสภาได้ประกาศร่ างกฎหมายอุมบุญฉบับที่ ้ 1/2540 และ 2/2540 เรื่ องมาตรฐานการ ให้บริ การเกี่ยวกับเทคโนโลยีช่วยการเจริ ญพันธุ์อยูแล้ว ่ โดยสาระสาคัญของร่ างกฎหมายอุมบุญฉบับนี้หลักๆ ้ คือ
  • 15. 1.ผู้ ประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรื อแพทย์ ผให้บริ การต้องมีคุณสมบัติตามที่ ู้ แพทยสภากาหนด คู่สมรสที่เข้ารับบริ การให้มีการตั้งครรภ์แทน ต้องเป็ น สามีภรรยาที่จดทะเบียนสมรสถูกต้องตามกฎหมาย ส่ วนหญิงที่รับตั้งครรภ์ แทน ต้องไม่ใช่บุตรของสามีหรื อภรรยา และต้องเป็ นหญิงที่ผ่านการ ยินยอมจากสามี พร้อมทั้งผ่านการมีบุตรมาแล้ว เพื่อให้มีประสบการณ์ใน การดูแลครรภ์และป้ องกันความผูกพันหรื ออยากได้บุตรไปเลี้ยงเอง 2.หญิงที่รับการอุมบุญจะไม่สามารถใช้ไข่ของตัวเองผสมกับอสุ จิของพ่อได้ ้ เพื่อป้ องกันการผูกพัน 3.ห้ามมิให้มีการใช้ประโยชน์จากอสุ จิ ไข่ หรื อ ตัวอ่อนที่ฝากไว้
  • 16. ข้ อดี • ทาให้คู่สมรสมีบุตรสื บสกุล ข้ อเสี ย • 1.กลายเป็ นธุ รกิจแทนที่จะเป็ นเรื่ องความรักอยากเดียว • 2.เกิดปั ญหาการแย่งเป็ นพ่อแม่ที่แท้จริ งของเด็ก • 3.ขัดต่อจริ ยธรรม