SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 28
โครงการฝึกอบรมหลักสูตรพัฒนา
ศักยภาพบุคลากรสาหรับธุรกิจการบิน
วันที่ 11 กุมภาพันธ์ 2557
การตลาดในธุรกิจการบิน
โดย คุณ อัฐวุฒิ สิงหราชสัมฤทธิ์
บริษัทสายการบินกรุงเทพฯ
การตลาดในธุรกิจการบิน
แผนกการขายและการตลาด ถือเป็นแผนกที่สาคัญอย่างมากใน
การขับเคลื่อนกลยุทธ์ต่างๆที่จะทาให้สายการบินสามารถอยู่
รอด
สายการบินจะนาไปลงทุนในส่วนต่างๆ ของธุรกิจการบินแล้ว
การลงทุนในฝ่ายการตลาดถือเป็นงบลงทุนรองลงมา เพื่อเป็น
การโฆษณาสายการบินของตน
โอกาสและธุรกิจการบินของไทยในอาเซียน
ในประเทศไทยมีสนามบินอยู่ด้วยกันทั้งหมด 8 สนามบิน
สนามบินที่อยู่ภายใต้การดูแลของการท่าอากาศยานประเทศไทย 6
แห่ง ได้แก่ สุวรรณภูมิ ดอนเมือง เชียงใหม่ แม่ฟ้ าหลวงเชียงราย
หาดใหญ่ และภูเก็ต
ท่าอากาศยานนานาชาติที่อยู่ภายใต้การควบคุมของการท่าอากาศยาน
ประเทศไทยอยู่ 2 แห่ง คือ อุดรธานี และกระบี่
ตาแหน่งที่ตั้งของประเทศไทย
ได้เปรียบอย่างมากในทางภูมิศาสตร์
ศูนย์กลางของการขนส่งทางอากาศ
มีการขนส่งทั้งอาเซียนประเทศจีน และอินเดีย
บางครั้งสามารถต่อไปได้ถึงญี่ปุ่นอเมริกา
ตะวันออกกลาง ยุโรป แอฟริกา
ประเทศไทยได้ตั้งเป้ าหมายแนวทางในการเป็น Gate Way
ของอาเซียนตอนบน
มีความต้องการให้แหลมฉบังเป็นประตูเส้นทางในการเข้าไปสู่การเป็น
นานาชาติ
โดยมุ่งให้เกิดความสะดวกในการบริการ เข้าออกประเทศได้อย่าง
รวดเร็ว (fast in fast out)
มุ่งสู่การเป็น regional gate way
เพื่ออานวยความสะดวกสบายสาหรับชาวต่างชาติที่เป็นชาวเอเชียน่า
และมุ่งสู่การเป็น Global gate way ใหม่ในการออกสู่
ทะเลอันดามัน
ประเทศไทยต้องเผชิญหน้ากับการรวมกลุ่มกันระหว่างประเทศ ที่ไม่ใช่แค่
เฉพาะอาเซียน
มีการรวมกลุ่มกันระหว่างประเทศแถบอเมริกาเหนือหรือ NAFTAที่ย่อ
มาจาก North America Free Trade Areasหรือ
แม้กระทั่งสหพันธ์ยุโรป หรือ EU (European Union)
นอกจากนี้ยังมีอเมริกาใต้ (Southern Common
Market) หรือ Mercosur เช่น อาร์เจนติน่า บราซิล ชิลี เป็น
ต้น
รวมทั้งประเทศในแถบแอฟริกาใต้หรือ SACU (Southern
African Customs Union)
เป้ าหมายหลักเพื่อการประสานกันเป็นหนึ่งเดียว
เพื่อเสริมสร้างขีดความสามารถต่างร่วมกันระหว่างประเทศใน
กลุ่มอาเซียน
ร่วมกันแข่งขันกับตลาดโลก รวมทั้งการเปิดเสรีทางการค้า
ที่จะเปิดกาแพงภาษีให้เหลือ 0% รวมทั้งเปิดตลาดทั้ง 4 สาขา
รวมถึงการท่องเที่ยวที่จะเกี่ยวข้องกับธุรกิจการบินนี้ด้วย
ซึ่งก็จะมีข้อกาหนดว่าเจ้าของธุรกิจจะสามารถถือหุ้นได้สูงสุด
70% ในก่อนนี้ถือได้แค่ 49% เท่านั้น
ประชากรของประเทศในกลุ่มอาเซียนนั้น ประเทศอินโดนีเซียถือเป็น
ประเทศที่มีจานวนประชากรมากที่สุดกว่า 230 กว่าล้านคน
ในขณะที่ประเทศไทยมีประมาณ 60 ล้านคน ทาให้เห็นว่าแค่เพียง
ประชาการในกลุ่มประเทศอาเซียนก็มีกาลังซื้อที่มหาศาล ทางอาเซียน
จึงร่วมกันผลักดันให้เปิดเสรีทางการค้า
ทาให้เห็นว่าแค่เพียงประชากรในกลุ่มประเทศอาเซียนก็มีกาลังซื้อที่
มหาศาล
ทางอาเซียนจึงร่วมกันผลักดันให้เปิดเสรีทางการค้า ในแต่ละประเทศก็
จะเจาะกลุ่มเป้ าหมายตามที่ประเทศตนเองถนัด
 อินโดนีเซียที่ส่งออกทางด้านยานยนตร์ซึ่งในปัจจุบันมีเป้ าหมายในการเป็นประเทศที่เป็น
ฐานในการผลิตรถยนต์แทนที่ประเทศไทย
 ญี่ปุ่นเคยมาตั้งฐานการผลิตที่ประเทศไทยแต่ปัจจุบันมีแนวโน้มจะย้ายไปที่ประเทศ
อินโดนีเซียสูงมาก
 พม่าจะมุ่งเน้นอุตสาหกรรมด้านการเกษตร การประมงเช่น ปลาจานวนมาก
 เวียดนามเน้นในเรื่อง โลจิสติกหรือระบบการขนส่งสินค้าต่างๆเนื่องจากเป็นประเทศที่มี
พื้นที่ค่อนข้างกว้างขวางมาก
 ฟิลิปปินส์จะเป็นเรื่องของอิเล็กทรอนิคส์
 สิงคโปร์เน้นสินค้าไอที รวมทั้งการบริการและศูนย์ข้อมูลต่างๆ
 ประเทศไทยจะเน้นอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวที่มีคุณภาพสูง และศูนย์กลางการบินของ
อาเซียน
เหตุผลการเปลี่ยนแปลง
ประการแรก คือจะไม่มีการจากัดเส้นทางการบินระหว่างประเทศหรือ
point to point ในกลุ่มตั้งแต่ปี 2010 หากมีการเปิดเส้นทางการบิน
จะต้องยอมให้มีการเปิดเส้นทางนั้นๆ และยังสามารถบินต่อเนื่องจาก
point to point ไปยังประเทศในอาเซียนด้วยกันได้ เช่น
ไทย –สิงคโปร์ – อินโดนีเซีย เป็นต้น
ประการที่สอง จะมีการผ่อนปรนในเรื่องของการเป็นเจ้าของกิจการ ในอดีตหาก
ต้องการเปิดสายการบินในประเทศใดประเทศหนึ่ง ประเทศนั้นจะต้องเป็น
เจ้าของ ผู้ที่ไม่ใช่คนในประเทศจะเป็นได้เพียงผู้ถือหุ้นเท่านั้น แต่ปัจจุบันเปิด
เสรีอย่างมากในการเข้าไปเป็นเจ้าของกิจการต่างๆ
ดัชนีตัวเลขของนักเดินทางชาวต่างชาติที่เข้ามาในอาเซียนใน
รอบ 10ปีที่ผ่านมาเพิ่มขึ้นอย่างมาก
นักเดินทางชาวอาเซียนคิดเป็น 49%
การตลาดในอาเซียน
ธุรกิจการบินจะต้องมีมาตรฐานและมีความเป็น
มืออาชีพ
 มีระบบงานที่ดีและเป็นสากล
 ก้าวทันเทคโนโลยี
สิ่งที่สาคัญที่สุดเลยคือศักยภาพทางด้านภาษา โดยเฉพาะภาษาอังกฤษที่ถูก
ใช้เป็นภาษากลางในการสื่อสารหลักของอาเซียน
เครือข่ายพันธมิตรทางธุรกิจเพื่อเป็นการลดความเสี่ยงทางการตลาดให้
ได้มากที่สุด รวมทั้งลดต้นทุนการผลิตต่างๆอีกด้วย
สุดท้ายจาเป็นต้องมีวิสัยทัศน์และเป้ าหมายในทางธุรกิจที่ชัดเจน
การตลาด (MARKETING)
การซื้อ (Buying) อาจกล่าวได้ว่าเป็นการให้ความสาคัญกับ
ความต้องการซื้อของผู้ซื้อ
การขาย (Selling) จะเกี่ยวข้องกับแผนงานและรูปแบบการ
ดาเนินงานที่จะเข้าไปทาให้สินค้าและบริการนั้นๆขายได้ตาม
เป้ าหมายที่กาหนดไว้ ดังนั้น นิยามของการขายในธุรกิจการ
บินก็จะหมายถึง ความสนใจในเรื่องความต้องการของผู้โดยสาร
และนามาปรับใช้ในสายการบินของตน
ชนิดของความต้องการ (DEMAND) มี 4 แบบ ได้แก่
1.ความต้องการที่เห็นอยู่แล้วในปัจจุบัน ได้แก่ ความต้องการที่
จะได้รับบริการที่สะดวกสบาย ราคาถูก เป็นต้น ถือได้ว่าเป็นสิ่งที่มีอยู่แล้ว
ผู้บริโภครู้อยู่แล้วว่าจะต้องได้รับ
2.ความต้องการที่ซ่อนอยู่ ถือเป็นความต้องการที่เกิดขึ้น
แล้วแต่ยังไม่ปรากฏ หรือยังซ่อนอยู่
3. ความต้องการในอนาคต ที่ธุรกิจการบินจาเป็นจะต้องสร้าง
และพัฒนาขึ้นมา
4.การให้ที่เหนือความคาดหมาย
การแบ่งสัดส่วนของการตลาด
 1. Full Service Airline เป็นการให้บริการของสายการบินแบบเต็มรูปแบบตามสากล ซึ่ง
จะมีระบบและช่องทางการขายที่มากมาย ทั้งระบบ CSR การแบ่งระดับของการบริการเช่น
first class, business class, economy class สายการบินที่มีบริการนี้ได้แก่ การบินไทย,
Lufthansa, Emirate, Singapore airline เป็นต้น
 2. Low Cost Carrier (LCC) เป็นในสายการบินต้นทุนต่า เช่น แอร์เอเชีย ไลออนแอร์ ไท
เกอร์แอร์ไลน์ เป็นต้น ซึ่งก็จะลดการบริการต่างๆมีเพียงการให้บริการนั่งเครื่องเพื่อ
จุดหมายปลายทางเท่านั้น ในส่วนของบริการอื่นๆจะต้องซื้อบริการนั้นๆแยกต่างหาก
 3. Charter เป็นการให้บริการเช่าเหมาลา ซึ่งปัจจุบันนิยมมาในกลุ่มของนักเดินทางชาวจีน
ที่มักจะเดินทางแบบเช่าเหมาลากันอย่างมาก
หลักสาคัญของการตลาด
 การตลาดนั้นจะมีสิ่งที่สาคัญคือการสร้างความได้เปรียบทางการตลาด
ขึ้นมา ซึ่งจะมีการสร้างอยู่ 3 รูปแบบด้วยกัน คือ
 1. Costless การสร้างสินค้าราคาถูก เนื่องจากผู้ซื้อต้องการสินค้าที่มี
ราคาถูก จะเห็นได้ว่าสายการบินต้นทุนต่าในปัจจุบันจะใช้หลักการนี้ แต่ก็จะมี
ข้อเสียคือการลดต้นทุนลงทาให้บริการต่างๆที่ได้รับน้อยลงไปด้วย
 2. Serviceการเน้นการให้บริการ แต่จะมีข้อเสียคือบริการเหล่านี้มักจะ
เลียนแบบกันได้ จึงยากต่อการสร้างจุดได้เปรียบในการตลาด
 3. Focus to each otherการสนใจขายให้กับทุกคน แต่จะต้องจัดจุด
การตลาดและมีการอิงตลาดเป็นหลัก แต่ข้อเสียคือการวางเป้ าหมาย
การตลาดจะต้องมีความยั่งยืนและยาวนาน พอที่จะทาให้เกิดความได้เปรียบ
ทางการตลาด
ส่วนประกอบทางการตลาด
-Researchจะต้องมีการวิเคราะห์ข้อมูลความต้องการของผู้ซื้อ
-Developmentการพัฒนาทางด้านการตลาดตลอดเวลา
-Pricingจาเป็นจะต้องมีฝ่ายราคาเพื่อวิเคราะห์ราคาทางการตลาดอยู่
เสมอ
-Distribute Product จะต้องมีการเผยแพร่สินค้ารวมทั้งเกี่ยวกับการ
พัฒนาโปรโมชั่นแก่ตลาดอย่างสม่าเสมอ
-Planningจาเป็นต้องมีฝ่ายวางแผนในการดาเนินงาน
-Monitoring ฝ่ายที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับการควบคุมการตลาด
-Responding to customer จะต้องทาหน้าที่ในการดูแลลูกค้า ทั้งในส่วน
ของการ complain ที่เข้ามา รวมถึงความพึงพอใจของลูกค้าที่จะมีผลต่อ
การตลาดโดยรวม
7 คาถามสาหรับการทา MARKETING ของสายการบิน
1. ใครเป็นผู้เดินทาง (นักธุรกิจ นักท่องเที่ยว ฯลฯ)
2. ใครคือกลุ่มเป้ าหมายที่เราต้องการ
3. เหตุผลที่นักเดินทางเลือกซื้อตั๋วของเรา (ข้อดีของสายการบิน)
4. นักเดินทางใช้ช่องทางใดในการซื้อตั๋ว (สานักงาน,อินเทอร์เน็ต,
โทรศัพท์, บริษัทนายหน้า)
5. ใครเป็นคนซื้อตั๋ว
6. เวลาที่ซื้อตั๋ว (ซื้อล่วงหน้า, กี่วันก่อนการเดินทาง)
7. การตลาดของสายการบินคู่แข่ง
ประวัติบางกอกแอร์เวย์ (สายการบินกรุงเทพฯ)
บริษัท บางกอกแอร์เวย์ ถือว่าเป็นบริษัทการบินเอกชนของเมืองไทย
โดยเริ่มก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ 1968 หรือ พ.ศ. 2511
ในระยะแรกใช้ชื่อว่า สหกลแอร์
ในกระทั่งในปี 1986 ก็ได้ใช้ชื่อว่า บางกอกแอร์เวย์
ในต่อมา ซึ่งผู้ก่อตั้งคือ นายแพทย์ปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ จ
จากนั้นก็ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกของ IATA ในปี ค.ศ. 1989 โดยใช้
โค้ดย่อว่า พีจี (PG) จากนั้นในปีเดียวกันก็ได้สร้างสนามบินสมุย
และบินอย่างเป็นทางการครั้งแรก
ในปี ค.ศ. 1994 ก็ได้เข้าร่วมเป็น IATA Clearing House Member
ต่อมาในปี ค.ศ. 1996 ก็ได้สร้างสนามบินสุโขทัยและเปิดบินอย่างเป็นทางการ
เช่นเดียวกัน และในปีเดียวกัน ก็มีการทา C.I.Q. (CUSTOM IMMIGRATION
QUARANTINE) ที่สนามบินสมุย และทา CIQ ต่อในสนามบินสุโขทัย ในปี ค.ศ.
1999 ด้วยเช่นกัน
จากนั้นในปี ค.ศ. 2000 บางกอกแอร์เวย์ได้นาเข้าเครื่องเจ็ตแอร์บัส 360
ได้เข้าเป็น Full Membership ของ IATA
ในปี ค.ศ. 2002 จากนั้นปี ค.ศ. 2003 ก็ได้สร้างสนามบินตราดขึ้นมาเพื่อให้
นักท่องเที่ยวสามารถเดินทางไปที่เกาะช้างได้สะดวกกว่า
ในปีเดียวกันก็ได้รางวัลจากสุวรรณภูมิ 3 ปีซ้อน
ต่อมาในปี ค.ศ. 2004 ได้รับมาตรฐาน ISO 9000
ในปี ค.ศ. 2006 มีการนาสนามบินสมุยเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์
ในปี ค.ศ. 2007 มีการนาแอร์บัส 319
ในปี ค.ศ. 2013 บางกอกแอร์เวย์มีอายุครบ 45 ปี
ผู้ที่ก่อตั้ง นายแพทย์ปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ
นอกจากจะเป็นเจ้าของบริษัทบางกอกแอร์เวย์แล้ว
ยังเป็นเจ้าของ โรงพยาบาลกรุงเทพ และอื่นๆอีก
มากมาย และในปีนี้ได้ขึ้นแท่นเป็นเศรษฐีหุ้นอันดับ
1 ของประเทศไทย
ในปัจจุบันคาดไว้ว่าจะมีการนาบางกอกแอร์เวย์เข้า
ร่วมหุ้นตลาดหลักทรัพย์
บางกอกแอร์เวย์ ยังมีบริษัทลูกอีกมากมาย
 เช่น Bangkok Air Catering, Bangkok Airways
Ground Service, Cargo และอื่นๆอีกมากมาย
ปัจจัยหลักสำหรับ BUSINESS LINE
ของ BANGKOK AIRWAY
1. Airline – สายการบินเพื่อรับส่งผู้โดยสารและสินค้า
2. Airport-สนามบินเพื่อเปิดให้เครื่องบินลงจอด
3. Airport Image Activities-กิจกรรมทุกอย่างที่
เกี่ยวข้องภายในสนามบิน เช่น Cargo, Ground
Service ฯลฯ
การบริการของบางกอกแอร์เวย์
การถูกเรียกชื่อว่าเป็น Boutique Airline ของบางกอกแอร์เวย์ ประกอบไปด้วย 5
ปัจจัยหลัก คือ
1. การให้บริการแบบเต็มรูปแบบ (Premium Service) เป็นการ
ให้บริการแก่ลูกค้าทุกคนแบบ Full Service จะไม่มีการแบ่งระดับชั้นของลูกค้าเป็น
First Class หรือ Business Class
2. รายการอาหารพิเศษ (Menu) จะบริการอาหารด้วยเมนูพิเศษทุกมื้อฟรี จะ
ไม่ใช้กล่องหรืองถุงในการเสิร์ฟอาหาร จะเสิร์ฟเป็นถาด (Tray) เท่านั้น จะมีทั้งอาหารแบบ
เต็มรูปแบบแม้จะใช้การบินภายในประเทศ หรือใช้เวลาเพียง 35 นาทีก็ตาม
3. ห้องรองรับพิเศษ (Lounge) จะมีไว้สาหรับรองรับและให้บริการผู้โดยสารทุก
คน
4. มีสนามบินเป็นของตนเอง
5. ศูนย์บินที่ทันสมัยอายุการใช้งานเครื่องบินจะอยู่ที่ 5-7 ปีต่อเครื่องบิน 1 ลาเท่านั้น
บางกอกแอร์เวย์ นั้นเป็นสายการบินที่เป็น Regional Airway
เน้นไปที่ Service แบบ Premiumซึ่งมีเป้ าหมายทางการตลาดที่
เป็นกลุ่มของนักท่องเที่ยวและนักธุรกิจ
ปัจจุบันมีการทาการบินถึง 22 เส้นทางจากกรุงเทพฯ และจากสมุย ซึ่งมี
Code Air กับสายการบินหลักๆของโลก 9 สาย
 โดยเป็นพันธมิตรกัน ถือเป็น Gate way ของสายการบินโดยรับจาก
สายการบินอื่นที่ต้องการเข้ามายังประเทศไทย
 นอกจากนี้มี Lounge ที่มีการให้บริการอาหารที่เตรียมพร้อม มีบริการ
เสิร์ฟอาหารร้อน มีบริการนวด เพื่อเป็นการส่งเสริมการขายในระดับหนึ่ง
เครื่องบินที่บางกอกแอร์เวย์ใช้จะประกอบไปด้วย แอร์บัส
320 7ลา แอร์บัส 319 10ลา และเครื่องบินใบพัด ATR
ที่จะมีคุณภาพและความปลอดภัยสูง และยังสามารถบิน
ไปยังจุดหมายปลายทางใกล้ๆได้ เช่น เชียงใหม่-อุดรธานี
เป็นต้น
ปัจจุบันมีทั้งหมด 9 สายการบินที่เป็นพันธมิตรกับ
บางกอกแอร์เวย์
มีธุรกิจ Cargo ที่มีบริษัทลูกอีกจานวนมาก ทาให้ธุรกิจ
การบินไม่ได้จากันอยู่เพียงการขายตั๋วเครื่องบินเท่านั้น
การมองการตลาดธุรกิจการบินจึงจาเป็นต้องมองแบบ
องค์รวม

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการบิน
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการบินความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการบิน
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการบินMint NutniCha
 
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนsiep
 
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยNurat Puankhamma
 
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวSomyot Ongkhluap
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายenksodsoon
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่Sopa
 
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226Siriya Khaosri
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยKorawan Sangkakorn
 
การท่องเที่ยวยั่งยืน
การท่องเที่ยวยั่งยืนการท่องเที่ยวยั่งยืน
การท่องเที่ยวยั่งยืนDr.Pirun Chinachot
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้Phetmanee Fah
 
ลูกเต๋าอาเซียน
ลูกเต๋าอาเซียนลูกเต๋าอาเซียน
ลูกเต๋าอาเซียนTasnee Punyothachat
 
1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.chickyshare
 
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงVinz Primo
 
Tourist Behavior: International tourist behavior
Tourist Behavior: International tourist behaviorTourist Behavior: International tourist behavior
Tourist Behavior: International tourist behaviorSomyot Ongkhluap
 
โครงงาน การแต่งกายในอาเซียน
โครงงาน การแต่งกายในอาเซียนโครงงาน การแต่งกายในอาเซียน
โครงงาน การแต่งกายในอาเซียนNutthachai Thaobunrueang
 
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยวบทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว재 민 Praew 김
 

La actualidad más candente (20)

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการบิน
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการบินความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการบิน
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการบิน
 
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
บทบาทของ อปท. กับการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
 
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
 
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจท่องเที่ยว
 
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
 
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
 
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
ภาษาจีน เรื่อง กิจวัตรประจำวันและเวลา#siriya khaosri 597210140226
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
 
การท่องเที่ยวยั่งยืน
การท่องเที่ยวยั่งยืนการท่องเที่ยวยั่งยืน
การท่องเที่ยวยั่งยืน
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
 
ลูกเต๋าอาเซียน
ลูกเต๋าอาเซียนลูกเต๋าอาเซียน
ลูกเต๋าอาเซียน
 
Ch 0 intro to mice
Ch 0 intro to miceCh 0 intro to mice
Ch 0 intro to mice
 
1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.
 
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
 
Tourist Behavior: International tourist behavior
Tourist Behavior: International tourist behaviorTourist Behavior: International tourist behavior
Tourist Behavior: International tourist behavior
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
โครงงาน การแต่งกายในอาเซียน
โครงงาน การแต่งกายในอาเซียนโครงงาน การแต่งกายในอาเซียน
โครงงาน การแต่งกายในอาเซียน
 
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยวบทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
บทที่ 1 วิวัฒนาการของการท่องเที่ยว
 

Similar a การตลาดในธุรกิจการบิน

บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจThamonwan Theerabunchorn
 
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากรการบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากรWichien Juthamongkol
 
Scribe book ของกลุ่มที่ 4
Scribe book ของกลุ่มที่ 4Scribe book ของกลุ่มที่ 4
Scribe book ของกลุ่มที่ 4Sanwis Natthanicha
 
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่arm_smiley
 
AIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาด
AIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาดAIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาด
AIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาดBussakornHiranchai
 
การจัดการตลาด
การจัดการตลาดการจัดการตลาด
การจัดการตลาดpronprom11
 
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์tra thailand
 
Brand value, brand equity
Brand value, brand equity Brand value, brand equity
Brand value, brand equity PümPüy Ża
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจthanathip
 
Sport marketing THAILAND OLYMPIC ACADEMY
Sport marketing  THAILAND OLYMPIC ACADEMYSport marketing  THAILAND OLYMPIC ACADEMY
Sport marketing THAILAND OLYMPIC ACADEMYKASETSART UNIVERSITY
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurWirawat Lian-udom
 

Similar a การตลาดในธุรกิจการบิน (20)

บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
 
Week 7
Week 7Week 7
Week 7
 
Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากรการบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
 
ERP101 Chapter 3
ERP101 Chapter 3ERP101 Chapter 3
ERP101 Chapter 3
 
Scribe book ของกลุ่มที่ 4
Scribe book ของกลุ่มที่ 4Scribe book ของกลุ่มที่ 4
Scribe book ของกลุ่มที่ 4
 
Marketing com Planing
Marketing com PlaningMarketing com Planing
Marketing com Planing
 
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
 
Media IMC
Media IMCMedia IMC
Media IMC
 
Financial Management for NEC
Financial Management for NECFinancial Management for NEC
Financial Management for NEC
 
แรงงาน 4.0
แรงงาน 4.0แรงงาน 4.0
แรงงาน 4.0
 
AIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาด
AIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาดAIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาด
AIM3304 – ธุรกิจงานการสื่อสารการตลาด
 
การจัดการตลาด
การจัดการตลาดการจัดการตลาด
การจัดการตลาด
 
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
 
Business model innovation
Business model innovationBusiness model innovation
Business model innovation
 
Brand value, brand equity
Brand value, brand equity Brand value, brand equity
Brand value, brand equity
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
 
Sport marketing THAILAND OLYMPIC ACADEMY
Sport marketing  THAILAND OLYMPIC ACADEMYSport marketing  THAILAND OLYMPIC ACADEMY
Sport marketing THAILAND OLYMPIC ACADEMY
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course Entrepreneur
 

Más de Mint NutniCha

8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสาMint NutniCha
 
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่นMint NutniCha
 
Conference programme
Conference programme Conference programme
Conference programme Mint NutniCha
 
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการMint NutniCha
 
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทยMint NutniCha
 
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์Mint NutniCha
 
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้าMint NutniCha
 
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยวMint NutniCha
 
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุนMint NutniCha
 
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชนMint NutniCha
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชนMint NutniCha
 
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการMint NutniCha
 
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์Mint NutniCha
 
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสาMint NutniCha
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว Mint NutniCha
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 

Más de Mint NutniCha (20)

Draft programme
Draft programmeDraft programme
Draft programme
 
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
 
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
 
Conference programme
Conference programme Conference programme
Conference programme
 
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
 
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
 
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
 
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
 
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
 
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
 
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
 
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
 
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
 
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
 
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
 

การตลาดในธุรกิจการบิน