SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
การใช้ Online Database ในมุมมองของภาคเอกชน
และแนวทางการบอกรับในลักษณะของ National Site License


                                                         โดย
                               อาจารย์สุวคนธ์ ศิริวงศ์วรวัฒน์
                                                ริ วรวั
                          ผู้อานวยการศูนย์สนเทศและหอสมุด
                                   มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
1. การใช้ Online Database ในมุมมองของภาคเอกชน
2. แนวทางการบอกรับในลักษณะของ National Site
   License



                                          2
1. การใช้ Online Database ในมุมมองของภาคเอกชน

 1.1 การร่วมกันบอกรับฐานข้อมูลออนไลน์ในรูปของภาคีหรือ
     Consortium เช่น การบอกรับฐานข้อมูลออนไลน์ Synergy
 1.2 การช่วยเหลือกันในรูปของ Inter-Library Loan
                               Inter-
 1.3 การให้ความรู้เกี่ยวกับฐานข้อมูลออนไลน์แก่กันและกัน ใน
     เครือข่ายความร่วมมือของห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา
     เอกชน


                                                       3
2. แนวทางการบอกรับในลักษณะของ National Site License


 2.1 การบอกรับฐานข้อมูลออนไลน์ในลักษณะของ National Site
     License มีประโยชน์ตอการพัฒนากาลังคนของประเทศมาก
                          ่
     เพราะผู้ใช้บริการฐานข้อมูลออนไลน์ในสถาบันการศึกษา
     ต่างๆ มีโอกาสเข้าถึงฐานข้อมูลทั่วถึงและเท่าเทียมกัน การ
     บอกรับฐานข้อมูล อาจคัดเลือกเฉพาะฐานข้อมูลที่สาคัญและ
     เหมาะสมสาหรับคนส่วนใหญ่


                                                       4
2.2 สาหรับการบอกรับฐานข้อมูลออนไลน์ในลักษณะของ
    สัญญาอนุญาตระดับชาติ (National Site License) นั้น
                                           License)
    ในประเทศไทยยังไม่มี ที่มีอยู่เป็นการบอกรับฐานข้อมูล
    ออนไลน์เฉพาะบางฐานข้อมูลและเฉพาะกลุ่มห้องสมุดยัง
    ไม่ได้เป็นระดับประเทศ
2.3 ตัวอย่างการบอกรับฐานข้อมูลในลักษณะสัญญาอนุญาต
    ระดับชาติ (National Site License) ของประเทศเกาหลี คือ
                             License)
    Korea Electronic Site License Initiative หรือ KESLI
                                                    5
Korea Electronic Site License Initiative (KESLI)

1. ความเป็นมาและวัตถุประสงค์
   เพื่อสงวนรักษาวารสารอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีลิขสิทธิ์
ของสานักพิมพ์ในเกาหลี ให้สามารถใช้ข้อมูลจากวารสาร
ได้ในระยะยาวนาน ดังนั้น The National Digital
Science Library จึงได้ก่อตั้ง KESLI ขึ้น โดยมีจุดมุ่ง
หมาย 2 ประการ คือ
                                                 6
1) ช่วยในการเข้าถึงเนื้อหาวิชาการในวารสาร โดย
   ป้องกันไม่ให้มีขีดจากัดในการเข้าถึงเนื้อหาของ
   ข้อมูลวิชาการเหล่านั้น โดยเฉพาะวารสารที่มี
   ลิขสิทธิ์
2) สงวนรักษาข้อมูลเนื้อหาในรูปดิจิทัลของวารสาร
                         หาในรู
   อิเล็กทรอนิกส์ให้อยู่ได้ระยะยาวนาน
                                              7
2. การเริ่มดาเนินงาน
   2.1 The National Digital Science Library (NDSL) ได้
       ก่อตั้ง KESLI ขึ้นในปี ค.ศ. 1999
                              ค.
   2.2 ตุลาคม 1999 ประชุม KESLI โดยมีบรรณารักษ์จาก
       ห้องสมุดต่างๆ และตัวแทนจากสานักพิมพ์ต่างๆ
   2.3 พฤศจิกายน 1999 Korea Advanced Institute of
       Science and Technology (KAIST) ได้มอบให้ บริษัท
       Swets เป็นตัวแทน เพื่อดาเนินการเจรจาเรื่องลิขสิทธิ์กับ
       สานักพิมพ์ต่างๆ
                                                         8
2.4 ธันวาคม 1999 ระบบ KESLI ประกาศลงนามสัญญากับ
    American Chemical Society, Blackwell Science และ
    Kluwer Academic และด้วยความช่วยเหลือของ Swets มี
    การลงนามสัญญากับบริษัท Elsevier Science ซึ่งเป็น
    สานักพิมพ์ที่มีวารสารวิชาการมากที่สุด
2.5 เปิดให้บริการ วันที่ 16 พฤษภาคม 2001

                                                9
3. การบริหารจัดการ
                         NDSL
                                    กรรมการติดตามและกากับดูแล
                        ผู้จัดการ
                        KESLI

ประสานสมาชิก                                เจรจากับสานักพิมพ์
                       สานักพิมพ์
                         ต่างๆ
ห้องสมุดต่างๆ                               ศูนย์คอมพิวเตอร์
                                                         10
4. เกณฑ์การคัดเลือกสานักพิมพ์ กาหนดโดย NDAC
   (National Database Archieve Center)
 4.1   ราคา
 4.2   ค่าบารุงรักษา
 4.3   การใช้วารสาร
 4.4   คุณภาพของวารสาร (SCI Impact factor)
 4.5   จานวนวารสาร (ที่จัดพิมพ์โดยสานักพิมพ์นั้นๆ)
                                                ๆ)


                                                11
5. กลุ่มความร่วมมือย่อยตามสานักพิมพ์
       (Sub-
       (Sub-consortia by publishers)
      KESLI สร้าง sub-consortia กับสานักพิมพ์ต่างๆ และ
                   sub-
ให้สมาชิกห้องสมุดต่างๆ สมัครเป็นสมาชิกของกลุ่มย่อยตาม
ความต้องการของสถาบันนั้นๆ เช่น
      KESLI – Blackwell sub-consortia
                          sub-
      KESLI – Springer sub-consortia
                         sub-
      KESLI – American Chemical Society sub-
                                          sub-
               consortia                          12
KESLI – Kluwer Academic sub-consortia
                                   sub-
      KESLI – Elsevier Science sub-consortia
                                 sub-
      จานวนกลุ่มย่อยเพิ่มขึ้นมาก จาก 6 แห่ง (หรือ 6
สานักพิมพ์) ในปี ค.ศ. 2000 เป็น 89 sub-consortia ในปี
                 ค.                sub-
ค.ศ. 2006

                                                 13
6. รูปแบบของราคา (Pricing Models)
    6.1 กลุ่ม A : การกาหนดราคาของวารสารอิเล็กทรอนิกส์
ตามจานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา (FTE)
    6.2 กลุ่ม B : ราคาเปลี่ยนแปลงได้ขึ้นอยู่กบจานวนของ
                                             ั
ห้องสมุดที่ร่วมกันจัดซื้อ
    6.3 กลุ่ม C : ราคาเป็นยอดรวม (lum sum) ขึ้นอยู่กับ
รูปแบบของความร่วมมือ
    6.4 กลุ่ม D : ราคาเดียวตลอดไม่ว่าจะเป็น A, B, หรือ C
หรืออื่นๆ เรียกว่า Flat fee
                                                    14
7. รูปแบบของระบบ KESLI
     P1                      U1
     P2                      U2
     P3                      U3
     P4         Gateway      U4
     P5         KESLI        U5
     P6                      U6
P = Publisher             U = User
Information               Library
Provider                  members    15
8. ระบบบริการ (Service features)
                       features)
   ระบบบริการที่ใช้เป็นระบบที่มีรูปแบบ one-stop
                                          one-
comprehensive gateway solution โดยมี features ต่างๆ ดังนี้
   8.1 เป็น web-based ทั้งหมด ระบบไม่ซบซ้อน ใช้ง่าย
            web-                            ั
       การบารุงรักษาทาง่าย
   8.2 เป็น one-stop gateway ให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลฉบับเต็ม
            one-
       (full text)
   8.3 การดาเนินงานทุกอย่างใช้ระบบอัตโนมัติ พยายามให้
       ใช้ระบบ Manual น้อยที่สุด
                                                     16
8.4 เป็นผลงานชินแรกของกลุ่มงานระบบสารสนเทศทาง
                   ้
    บรรณานุกรมของเกาหลี ที่มีการแก้ปัญหาอิเล็กทรอนิกส์
    เชิงพาณิชย์ (e-commerce solution)
                  (e-
8.5 ระบบบริการอนุญาตให้ผู้ใช้ซื้อบทความอิเล็กทรอนิกส์
    หรือบทความฉบับพิมพ์ทางอินเทอร์เน็ต และระบบจะ
    รักษาการปฏิบัติงานอย่างคงที่ โดยมีอุปกรณ์กลาง
    (middleware) ซึ่งทาให้การปฏิบัติงานคงที่สม่าเสมอ
    ไม่ว่าจะมีผู้เข้าใช้ระบบมากแค่ไหน
                                                17
ทีมา: “E-journals in Korea: The electronic site licence initiative,” by K. S. Chae, J. S.
  ่ า: “E-                                                                    Chae,
       Park, and H. N. Choi, 2006, The Electronic Library, 24(3), pp. 322-334.
                       Choi, 2006,                           24(        322-334.
        สืบค้นจาก www.emeraldinsight.com/0264-0473.htm
                  www.emeraldinsight.com/0264-0473.
                                                                                   18
9. ฐานข้อมูล e-Gate
        ส่วนสาคัญหลักของระบบบริการ คือ e-Gate database ซึง     ่
รวบรวมข้อมูลเบืองต้นที่จาเป็นสาหรับระบบ one-stop gateway
                 ้                          one-
comprehensive services ที่จะนาผู้ใช้ไปยังข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่
สาคัญ ซึ่งในฐานข้อมูล e-Gate จะมีข้อมูลดังนี้ (จากการสารวจ
ข้อมูล 30 มิถุนายน 2005)
                   2005)
        9.1 รายการบรรณานุกรมของบทความ                28,773,
                                                     28,773,340
        9.2 รายการบรรณานุกรมของวารสาร                   217,
                                                        217,974

                                                           19
9.3 licence data ต่อวารสารอิเล็กทรอนิกส์
    แต่ละชื่อเรื่อง                            14,420,
                                               14,420,882
9.4 ข้อมูล เล่มที/่ ฉบับที่ ของวารสาร           4,821,577
                                                  821,
9.5 ข้อมูลของสมาชิก KESLI                      14,915,
                                               14,915,278
    จาก 360 members; เช่น e-full text links:   14,177,
                                               14,177,236
    ของวารสารอิเล็กทรอนิกส์                        26,
                                                   26,365

                                                     20
9.6 เนื้อหาใน e-Gate database มีดังนี้
         1) วิทยาศาสตร์ประยุกต์          41 %
         2) สังคมศาสตร์                  28 %
         3) ธรรมชาติวิทยา                17 %
         4) มนุษยศาสตร์                  14%
                                         14%


                                            21
10.
  10. ห้องสมุดที่ร่วมโครงการ (Participating
      Libraries)
       จากปี ค.ศ. 1999 มีห้องสมุดอุดมศึกษา ห้องสมุดวิจัย ห้องสมุด
              ค.
แพทย์ ห้องสมุดประชาชน ฯลฯ จานวน 70 แห่ง เข้าร่วมโครงการ
       ถึงปี ค.ศ. 2010 (มีนาคม) มีห้องสมุดร่วมในโครงการ ดังนี้
             ค.             าคม)
                 ห้องสมุดอุดมศึกษา             174 แห่ง
                 ห้องสมุดวิจัย                  67 แห่ง
                 ห้องสมุดบริษัท                 56 แห่ง
                 ห้องสมุดแพทย์                  31 แห่ง
                 ห้องสมุดประชาชน                27 แห่ง
                         รวม                   355 แห่ง 22
11.
  11. ผู้ใช้บริการ
        จากการเก็บข้อมูลเดือนมิถุนายน 2005 ผู้ใช้บริการส่วนใหญ่
เป็นนักศึกษา
        11.
        11.1 ปริญญาเอก          13 %            (9,138 คน)
                                                       คน)
        11.
        11.2 ปริญญาโท           28 %            (19,514 คน)
                                                 19, คน)
        11.
        11.3 ปริญญาตรี          21 %            (14,449 คน)
                                                 14, คน)
        11.
        11.4 นักวิจัย           17 %            (11,399 คน)
                                                 11, คน)
        11.
        11.5 ศาสตราจารย์        13 %             (9,092 คน)
                                                         คน)
        11.
        11.6 อื่นๆ               6%              (3,897 คน)
                                                         คน)
        11.
        11.7 บรรณารักษ์          2%              (1,324 คน)
                                                         คน)
                                                          23
12.
  12. สถิติการใช้

        สถิติจากเดือนมกราคม – มิถุนายน 2005
ผู้ใช้ดาวโหลดข้อมูลบทความผ่านระบบ 491,454
                                      491,
บทความ และการดาวโหลดเพิ่มขึ้นอย่างคงที่ประมาณ
20 % ต่อเดือน



                                          24
13.
 13. แผนในอนาคตของ KESLI

        KESLI มีความสาคัญต่อชุมชนนักวิชาการของเกาหลีมาก
เพราะสามารถเข้าถึงบทความวิชาการอิเล็กทรอนิกส์ทั่วโลกได้
โดยผ่าน National Site License แต่อย่างไรก็ตาม consortium
KESLI e-journal อาจจะไม่ได้ตออายุการเป็นสมาชิกก็ได้ โอกาสที่
         e-                      ่
จะได้ใช้บทความดังกล่าวก็อาจจะไม่ได้ใช้ เพราะ KESLI ไม่ได้
เป็นเจ้าของเนื้อหาเพียงแต่ได้รับสัญญาอนุญาตจากสานักพิมพ์ซึ่ง
เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ ดังนันแผนที่จะต้องดาเนินการต่อไปคือ
                          ้
                                                      25
13.
13.1 จะต้องมีที่สารองเก็บข้อมูลกรณีเกิดอุบัติเหตุ
13.
13.2 มีแผนสารองระยะยาวสาหรับเก็บจดหมายเหตุใน
     รูปแบบต่างๆ ของดิจิทัล
13.
13.3 ให้ผู้ใช้ในประเทศเข้าถึงข้อมูลได้ทุกสถานที่และทุกเวลา
     (any place and anytime access)
13.
13.4 เพิ่มคุณค่าให้แก่การบริการ (value-added service)
                                (value-

                                                    26
13.
13.5 การเจรจาต่อรองกับสานักพิมพ์ มีความสาคัญต่อการ
     ให้บริการบทความฉบับเต็มผ่านระบบออนไลน์จึงต้อง
     ดาเนินการต่อไป
13.
13.6 การทาแผนงบประมาณและแผนกาลังคนสาหรับ
     ดาเนินงานเชิงรุกของ KESLI


                                              27
13.
13.7 ระบบมีความจาเป็นต้องพัฒนา Wireless digital library
     (WDL) เพื่อรองรับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการสือสาร่
     โดยเฉพาะ การให้บริการของห้องสมุดผ่านโทรศัพท์มือถือ
     บริษัทโทรศัพท์มือถือบริษัทหนึ่งในเกาหลีจะช่วยดาเนินการ
     พัฒนาเรื่องนี้ให้เป็นจริง ในอนาคตโทรศัพท์มือถือจะถูกนา
     มาใช้สาหรับการให้บริการของห้องสมุด ใช้สาหรับบันทึก
     ข้อมูล ID นักศึกษาเข้าห้องสมุด การยืม-คืนหนังสือ การ
     สารองหนังสือ การยืมต่อหนังสือ การสารองที่นั่งในห้องสมุด
     โดยการใช้เทคโนโลยี 3D barcode                       28
บรรณานุกรม
Chae, K. S., Park, J. S., & Choi, H. N. (2006). E-journals in Korea: The
         electronic site licence initiative. The Electronic Library, 24(3), 322-
         334. Retrieved from http://www.emeraldinsight.com/0264-0473.htm
Choi, H. N. (2002). The electronic site licence initiative in Korea (KESLI)
         (Takagi, K., Trans.). Journal of Information Processing and
         Management, 44(11), 779-789. Retrieved from http://sciencelinks.jp/
         j-east/article/200204/000020020402A0147847.php
Choi, H. N., & Park, E. G. (2007). Preserving perpetual access to electronic
         journals: A Korean consortial approach. Available online 12 April
         2007.
                                                                        29
บรรณานุกรม (ต่อ)

International coalition of library consortia Korean electronic site license
          initiative KESLI. (2010). Retrieved from http://www.kesli.or.kr
Park, E. G., & Choi, H. N. (2006). At the sharp end Korean electronic site
          license initiative: Archiving of electronic journals. Online
          Information Review, 30(6), 731-736. Retrieved from
          http://www.emeraldinsight.com/1468-4527.htm
รังสิมา เพชรเม็ดใหญ่. (2554). ภาคีห้องสมุดเพื่อการบริหารจัดการ National
          site license. สืบค้นจาก http://www.stks.or.th/th/bibliometrics/11-
          bibliometrics/331--national-site-license.html
                             *************************                   30

More Related Content

Similar to Onlinedatabase

การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...Srion Janeprapapong
 
Database
DatabaseDatabase
Databasepaween
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2เขมิกา กุลาศรี
 
งานนำเสนอ1.1
งานนำเสนอ1.1งานนำเสนอ1.1
งานนำเสนอ1.1sirikate12
 
งานนำเสนอ1.1
งานนำเสนอ1.1งานนำเสนอ1.1
งานนำเสนอ1.1sirikate12
 
กระแสเทคโนโลยีเพื่อบริการสารสนเทศยุคใหม่
กระแสเทคโนโลยีเพื่อบริการสารสนเทศยุคใหม่กระแสเทคโนโลยีเพื่อบริการสารสนเทศยุคใหม่
กระแสเทคโนโลยีเพื่อบริการสารสนเทศยุคใหม่Satapon Yosakonkun
 
Performance report : Healht Science Information Management cluster, KKU Thailand
Performance report : Healht Science Information Management cluster, KKU ThailandPerformance report : Healht Science Information Management cluster, KKU Thailand
Performance report : Healht Science Information Management cluster, KKU Thailandsongsri
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1sirikate12
 
Web Server in dream
Web  Server in dreamWeb  Server in dream
Web Server in dreamguestc1a699
 
Web Server in dream
Web  Server in dreamWeb  Server in dream
Web Server in dreamguestc1a699
 
Web Server in dream
Web  Server in dreamWeb  Server in dream
Web Server in dreamguestc1a699
 
Web Server โรงเรียนในฝัน รุ่น 3
Web  Server โรงเรียนในฝัน รุ่น 3Web  Server โรงเรียนในฝัน รุ่น 3
Web Server โรงเรียนในฝัน รุ่น 3ungpao
 
เติมเต็มห้องสมุดยุคใหม่ด้วย Wiki
เติมเต็มห้องสมุดยุคใหม่ด้วย Wikiเติมเต็มห้องสมุดยุคใหม่ด้วย Wiki
เติมเต็มห้องสมุดยุคใหม่ด้วย WikiSatapon Yosakonkun
 

Similar to Onlinedatabase (20)

การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
 
Open Source Health Library System
Open Source Health Library SystemOpen Source Health Library System
Open Source Health Library System
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
 
งานนำเสนอ1.1
งานนำเสนอ1.1งานนำเสนอ1.1
งานนำเสนอ1.1
 
งานนำเสนอ1.1
งานนำเสนอ1.1งานนำเสนอ1.1
งานนำเสนอ1.1
 
V249
V249V249
V249
 
กระแสเทคโนโลยีเพื่อบริการสารสนเทศยุคใหม่
กระแสเทคโนโลยีเพื่อบริการสารสนเทศยุคใหม่กระแสเทคโนโลยีเพื่อบริการสารสนเทศยุคใหม่
กระแสเทคโนโลยีเพื่อบริการสารสนเทศยุคใหม่
 
Semantic web and library
Semantic web and librarySemantic web and library
Semantic web and library
 
Performance report : Healht Science Information Management cluster, KKU Thailand
Performance report : Healht Science Information Management cluster, KKU ThailandPerformance report : Healht Science Information Management cluster, KKU Thailand
Performance report : Healht Science Information Management cluster, KKU Thailand
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Web Server in dream
Web  Server in dreamWeb  Server in dream
Web Server in dream
 
Web Server in dream
Web  Server in dreamWeb  Server in dream
Web Server in dream
 
Web Server in dream
Web  Server in dreamWeb  Server in dream
Web Server in dream
 
Web Server โรงเรียนในฝัน รุ่น 3
Web  Server โรงเรียนในฝัน รุ่น 3Web  Server โรงเรียนในฝัน รุ่น 3
Web Server โรงเรียนในฝัน รุ่น 3
 
Publication11
Publication11Publication11
Publication11
 
เติมเต็มห้องสมุดยุคใหม่ด้วย Wiki
เติมเต็มห้องสมุดยุคใหม่ด้วย Wikiเติมเต็มห้องสมุดยุคใหม่ด้วย Wiki
เติมเต็มห้องสมุดยุคใหม่ด้วย Wiki
 

Onlinedatabase

  • 1. การใช้ Online Database ในมุมมองของภาคเอกชน และแนวทางการบอกรับในลักษณะของ National Site License โดย อาจารย์สุวคนธ์ ศิริวงศ์วรวัฒน์ ริ วรวั ผู้อานวยการศูนย์สนเทศและหอสมุด มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
  • 2. 1. การใช้ Online Database ในมุมมองของภาคเอกชน 2. แนวทางการบอกรับในลักษณะของ National Site License 2
  • 3. 1. การใช้ Online Database ในมุมมองของภาคเอกชน 1.1 การร่วมกันบอกรับฐานข้อมูลออนไลน์ในรูปของภาคีหรือ Consortium เช่น การบอกรับฐานข้อมูลออนไลน์ Synergy 1.2 การช่วยเหลือกันในรูปของ Inter-Library Loan Inter- 1.3 การให้ความรู้เกี่ยวกับฐานข้อมูลออนไลน์แก่กันและกัน ใน เครือข่ายความร่วมมือของห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา เอกชน 3
  • 4. 2. แนวทางการบอกรับในลักษณะของ National Site License 2.1 การบอกรับฐานข้อมูลออนไลน์ในลักษณะของ National Site License มีประโยชน์ตอการพัฒนากาลังคนของประเทศมาก ่ เพราะผู้ใช้บริการฐานข้อมูลออนไลน์ในสถาบันการศึกษา ต่างๆ มีโอกาสเข้าถึงฐานข้อมูลทั่วถึงและเท่าเทียมกัน การ บอกรับฐานข้อมูล อาจคัดเลือกเฉพาะฐานข้อมูลที่สาคัญและ เหมาะสมสาหรับคนส่วนใหญ่ 4
  • 5. 2.2 สาหรับการบอกรับฐานข้อมูลออนไลน์ในลักษณะของ สัญญาอนุญาตระดับชาติ (National Site License) นั้น License) ในประเทศไทยยังไม่มี ที่มีอยู่เป็นการบอกรับฐานข้อมูล ออนไลน์เฉพาะบางฐานข้อมูลและเฉพาะกลุ่มห้องสมุดยัง ไม่ได้เป็นระดับประเทศ 2.3 ตัวอย่างการบอกรับฐานข้อมูลในลักษณะสัญญาอนุญาต ระดับชาติ (National Site License) ของประเทศเกาหลี คือ License) Korea Electronic Site License Initiative หรือ KESLI 5
  • 6. Korea Electronic Site License Initiative (KESLI) 1. ความเป็นมาและวัตถุประสงค์ เพื่อสงวนรักษาวารสารอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีลิขสิทธิ์ ของสานักพิมพ์ในเกาหลี ให้สามารถใช้ข้อมูลจากวารสาร ได้ในระยะยาวนาน ดังนั้น The National Digital Science Library จึงได้ก่อตั้ง KESLI ขึ้น โดยมีจุดมุ่ง หมาย 2 ประการ คือ 6
  • 7. 1) ช่วยในการเข้าถึงเนื้อหาวิชาการในวารสาร โดย ป้องกันไม่ให้มีขีดจากัดในการเข้าถึงเนื้อหาของ ข้อมูลวิชาการเหล่านั้น โดยเฉพาะวารสารที่มี ลิขสิทธิ์ 2) สงวนรักษาข้อมูลเนื้อหาในรูปดิจิทัลของวารสาร หาในรู อิเล็กทรอนิกส์ให้อยู่ได้ระยะยาวนาน 7
  • 8. 2. การเริ่มดาเนินงาน 2.1 The National Digital Science Library (NDSL) ได้ ก่อตั้ง KESLI ขึ้นในปี ค.ศ. 1999 ค. 2.2 ตุลาคม 1999 ประชุม KESLI โดยมีบรรณารักษ์จาก ห้องสมุดต่างๆ และตัวแทนจากสานักพิมพ์ต่างๆ 2.3 พฤศจิกายน 1999 Korea Advanced Institute of Science and Technology (KAIST) ได้มอบให้ บริษัท Swets เป็นตัวแทน เพื่อดาเนินการเจรจาเรื่องลิขสิทธิ์กับ สานักพิมพ์ต่างๆ 8
  • 9. 2.4 ธันวาคม 1999 ระบบ KESLI ประกาศลงนามสัญญากับ American Chemical Society, Blackwell Science และ Kluwer Academic และด้วยความช่วยเหลือของ Swets มี การลงนามสัญญากับบริษัท Elsevier Science ซึ่งเป็น สานักพิมพ์ที่มีวารสารวิชาการมากที่สุด 2.5 เปิดให้บริการ วันที่ 16 พฤษภาคม 2001 9
  • 10. 3. การบริหารจัดการ NDSL กรรมการติดตามและกากับดูแล ผู้จัดการ KESLI ประสานสมาชิก เจรจากับสานักพิมพ์ สานักพิมพ์ ต่างๆ ห้องสมุดต่างๆ ศูนย์คอมพิวเตอร์ 10
  • 11. 4. เกณฑ์การคัดเลือกสานักพิมพ์ กาหนดโดย NDAC (National Database Archieve Center) 4.1 ราคา 4.2 ค่าบารุงรักษา 4.3 การใช้วารสาร 4.4 คุณภาพของวารสาร (SCI Impact factor) 4.5 จานวนวารสาร (ที่จัดพิมพ์โดยสานักพิมพ์นั้นๆ) ๆ) 11
  • 12. 5. กลุ่มความร่วมมือย่อยตามสานักพิมพ์ (Sub- (Sub-consortia by publishers) KESLI สร้าง sub-consortia กับสานักพิมพ์ต่างๆ และ sub- ให้สมาชิกห้องสมุดต่างๆ สมัครเป็นสมาชิกของกลุ่มย่อยตาม ความต้องการของสถาบันนั้นๆ เช่น KESLI – Blackwell sub-consortia sub- KESLI – Springer sub-consortia sub- KESLI – American Chemical Society sub- sub- consortia 12
  • 13. KESLI – Kluwer Academic sub-consortia sub- KESLI – Elsevier Science sub-consortia sub- จานวนกลุ่มย่อยเพิ่มขึ้นมาก จาก 6 แห่ง (หรือ 6 สานักพิมพ์) ในปี ค.ศ. 2000 เป็น 89 sub-consortia ในปี ค. sub- ค.ศ. 2006 13
  • 14. 6. รูปแบบของราคา (Pricing Models) 6.1 กลุ่ม A : การกาหนดราคาของวารสารอิเล็กทรอนิกส์ ตามจานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา (FTE) 6.2 กลุ่ม B : ราคาเปลี่ยนแปลงได้ขึ้นอยู่กบจานวนของ ั ห้องสมุดที่ร่วมกันจัดซื้อ 6.3 กลุ่ม C : ราคาเป็นยอดรวม (lum sum) ขึ้นอยู่กับ รูปแบบของความร่วมมือ 6.4 กลุ่ม D : ราคาเดียวตลอดไม่ว่าจะเป็น A, B, หรือ C หรืออื่นๆ เรียกว่า Flat fee 14
  • 15. 7. รูปแบบของระบบ KESLI P1 U1 P2 U2 P3 U3 P4 Gateway U4 P5 KESLI U5 P6 U6 P = Publisher U = User Information Library Provider members 15
  • 16. 8. ระบบบริการ (Service features) features) ระบบบริการที่ใช้เป็นระบบที่มีรูปแบบ one-stop one- comprehensive gateway solution โดยมี features ต่างๆ ดังนี้ 8.1 เป็น web-based ทั้งหมด ระบบไม่ซบซ้อน ใช้ง่าย web- ั การบารุงรักษาทาง่าย 8.2 เป็น one-stop gateway ให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลฉบับเต็ม one- (full text) 8.3 การดาเนินงานทุกอย่างใช้ระบบอัตโนมัติ พยายามให้ ใช้ระบบ Manual น้อยที่สุด 16
  • 17. 8.4 เป็นผลงานชินแรกของกลุ่มงานระบบสารสนเทศทาง ้ บรรณานุกรมของเกาหลี ที่มีการแก้ปัญหาอิเล็กทรอนิกส์ เชิงพาณิชย์ (e-commerce solution) (e- 8.5 ระบบบริการอนุญาตให้ผู้ใช้ซื้อบทความอิเล็กทรอนิกส์ หรือบทความฉบับพิมพ์ทางอินเทอร์เน็ต และระบบจะ รักษาการปฏิบัติงานอย่างคงที่ โดยมีอุปกรณ์กลาง (middleware) ซึ่งทาให้การปฏิบัติงานคงที่สม่าเสมอ ไม่ว่าจะมีผู้เข้าใช้ระบบมากแค่ไหน 17
  • 18. ทีมา: “E-journals in Korea: The electronic site licence initiative,” by K. S. Chae, J. S. ่ า: “E- Chae, Park, and H. N. Choi, 2006, The Electronic Library, 24(3), pp. 322-334. Choi, 2006, 24( 322-334. สืบค้นจาก www.emeraldinsight.com/0264-0473.htm www.emeraldinsight.com/0264-0473. 18
  • 19. 9. ฐานข้อมูล e-Gate ส่วนสาคัญหลักของระบบบริการ คือ e-Gate database ซึง ่ รวบรวมข้อมูลเบืองต้นที่จาเป็นสาหรับระบบ one-stop gateway ้ one- comprehensive services ที่จะนาผู้ใช้ไปยังข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่ สาคัญ ซึ่งในฐานข้อมูล e-Gate จะมีข้อมูลดังนี้ (จากการสารวจ ข้อมูล 30 มิถุนายน 2005) 2005) 9.1 รายการบรรณานุกรมของบทความ 28,773, 28,773,340 9.2 รายการบรรณานุกรมของวารสาร 217, 217,974 19
  • 20. 9.3 licence data ต่อวารสารอิเล็กทรอนิกส์ แต่ละชื่อเรื่อง 14,420, 14,420,882 9.4 ข้อมูล เล่มที/่ ฉบับที่ ของวารสาร 4,821,577 821, 9.5 ข้อมูลของสมาชิก KESLI 14,915, 14,915,278 จาก 360 members; เช่น e-full text links: 14,177, 14,177,236 ของวารสารอิเล็กทรอนิกส์ 26, 26,365 20
  • 21. 9.6 เนื้อหาใน e-Gate database มีดังนี้ 1) วิทยาศาสตร์ประยุกต์ 41 % 2) สังคมศาสตร์ 28 % 3) ธรรมชาติวิทยา 17 % 4) มนุษยศาสตร์ 14% 14% 21
  • 22. 10. 10. ห้องสมุดที่ร่วมโครงการ (Participating Libraries) จากปี ค.ศ. 1999 มีห้องสมุดอุดมศึกษา ห้องสมุดวิจัย ห้องสมุด ค. แพทย์ ห้องสมุดประชาชน ฯลฯ จานวน 70 แห่ง เข้าร่วมโครงการ ถึงปี ค.ศ. 2010 (มีนาคม) มีห้องสมุดร่วมในโครงการ ดังนี้ ค. าคม) ห้องสมุดอุดมศึกษา 174 แห่ง ห้องสมุดวิจัย 67 แห่ง ห้องสมุดบริษัท 56 แห่ง ห้องสมุดแพทย์ 31 แห่ง ห้องสมุดประชาชน 27 แห่ง รวม 355 แห่ง 22
  • 23. 11. 11. ผู้ใช้บริการ จากการเก็บข้อมูลเดือนมิถุนายน 2005 ผู้ใช้บริการส่วนใหญ่ เป็นนักศึกษา 11. 11.1 ปริญญาเอก 13 % (9,138 คน) คน) 11. 11.2 ปริญญาโท 28 % (19,514 คน) 19, คน) 11. 11.3 ปริญญาตรี 21 % (14,449 คน) 14, คน) 11. 11.4 นักวิจัย 17 % (11,399 คน) 11, คน) 11. 11.5 ศาสตราจารย์ 13 % (9,092 คน) คน) 11. 11.6 อื่นๆ 6% (3,897 คน) คน) 11. 11.7 บรรณารักษ์ 2% (1,324 คน) คน) 23
  • 24. 12. 12. สถิติการใช้ สถิติจากเดือนมกราคม – มิถุนายน 2005 ผู้ใช้ดาวโหลดข้อมูลบทความผ่านระบบ 491,454 491, บทความ และการดาวโหลดเพิ่มขึ้นอย่างคงที่ประมาณ 20 % ต่อเดือน 24
  • 25. 13. 13. แผนในอนาคตของ KESLI KESLI มีความสาคัญต่อชุมชนนักวิชาการของเกาหลีมาก เพราะสามารถเข้าถึงบทความวิชาการอิเล็กทรอนิกส์ทั่วโลกได้ โดยผ่าน National Site License แต่อย่างไรก็ตาม consortium KESLI e-journal อาจจะไม่ได้ตออายุการเป็นสมาชิกก็ได้ โอกาสที่ e- ่ จะได้ใช้บทความดังกล่าวก็อาจจะไม่ได้ใช้ เพราะ KESLI ไม่ได้ เป็นเจ้าของเนื้อหาเพียงแต่ได้รับสัญญาอนุญาตจากสานักพิมพ์ซึ่ง เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ ดังนันแผนที่จะต้องดาเนินการต่อไปคือ ้ 25
  • 26. 13. 13.1 จะต้องมีที่สารองเก็บข้อมูลกรณีเกิดอุบัติเหตุ 13. 13.2 มีแผนสารองระยะยาวสาหรับเก็บจดหมายเหตุใน รูปแบบต่างๆ ของดิจิทัล 13. 13.3 ให้ผู้ใช้ในประเทศเข้าถึงข้อมูลได้ทุกสถานที่และทุกเวลา (any place and anytime access) 13. 13.4 เพิ่มคุณค่าให้แก่การบริการ (value-added service) (value- 26
  • 27. 13. 13.5 การเจรจาต่อรองกับสานักพิมพ์ มีความสาคัญต่อการ ให้บริการบทความฉบับเต็มผ่านระบบออนไลน์จึงต้อง ดาเนินการต่อไป 13. 13.6 การทาแผนงบประมาณและแผนกาลังคนสาหรับ ดาเนินงานเชิงรุกของ KESLI 27
  • 28. 13. 13.7 ระบบมีความจาเป็นต้องพัฒนา Wireless digital library (WDL) เพื่อรองรับความก้าวหน้าของเทคโนโลยีการสือสาร่ โดยเฉพาะ การให้บริการของห้องสมุดผ่านโทรศัพท์มือถือ บริษัทโทรศัพท์มือถือบริษัทหนึ่งในเกาหลีจะช่วยดาเนินการ พัฒนาเรื่องนี้ให้เป็นจริง ในอนาคตโทรศัพท์มือถือจะถูกนา มาใช้สาหรับการให้บริการของห้องสมุด ใช้สาหรับบันทึก ข้อมูล ID นักศึกษาเข้าห้องสมุด การยืม-คืนหนังสือ การ สารองหนังสือ การยืมต่อหนังสือ การสารองที่นั่งในห้องสมุด โดยการใช้เทคโนโลยี 3D barcode 28
  • 29. บรรณานุกรม Chae, K. S., Park, J. S., & Choi, H. N. (2006). E-journals in Korea: The electronic site licence initiative. The Electronic Library, 24(3), 322- 334. Retrieved from http://www.emeraldinsight.com/0264-0473.htm Choi, H. N. (2002). The electronic site licence initiative in Korea (KESLI) (Takagi, K., Trans.). Journal of Information Processing and Management, 44(11), 779-789. Retrieved from http://sciencelinks.jp/ j-east/article/200204/000020020402A0147847.php Choi, H. N., & Park, E. G. (2007). Preserving perpetual access to electronic journals: A Korean consortial approach. Available online 12 April 2007. 29
  • 30. บรรณานุกรม (ต่อ) International coalition of library consortia Korean electronic site license initiative KESLI. (2010). Retrieved from http://www.kesli.or.kr Park, E. G., & Choi, H. N. (2006). At the sharp end Korean electronic site license initiative: Archiving of electronic journals. Online Information Review, 30(6), 731-736. Retrieved from http://www.emeraldinsight.com/1468-4527.htm รังสิมา เพชรเม็ดใหญ่. (2554). ภาคีห้องสมุดเพื่อการบริหารจัดการ National site license. สืบค้นจาก http://www.stks.or.th/th/bibliometrics/11- bibliometrics/331--national-site-license.html ************************* 30