SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
จัดการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกสดวยระบบ Moodle

         Moodle เปนซอฟตแวร Open Source ที่ใชสําหรับทําคอรสหรือบทเรียนออนไลน ที่เราเรียกกันติดปาก
วาระบบ LMS หรือ Learning Management System โดยที่ Moodle นับเปนทูลตัวหนึ่งที่มีความสามารถสูง ตาม
มหาวิทยาลัยและโรงเรียนตางๆ เลือกใช ตัว Moodle เองมีระบบ Backend (ระบบจัดการคอรส ที่ดีตัวหนึ่ง) ผู
ควบคุมสามารถแบงแยกระหวางอาจารย ผูเรียน ไดอยางงาย และเปนซอรฟแวรท่ีมีลิขสิทธิ์แบบ GPL (General
Public License) หรือลิขสิทธิ์แบบฟรีนั่นเอง ผูนําไปใชสามารถพัฒนาตอยอดได ดังนั้นในบทความชุดนี้จึงขอ
แนะนําระบบ Moodle ตั้งแตการติดตั้งจนถึงการใชงานในภาพรวมทั้งหมด
           ถาจะใหพูดถึงระบบการเรียนการสอนผานเครือขายอินเทอรเน็ต ที่เปนที่นิยมในปจจุบันไมวาจะที่
ประเทศไทยหรือ ตางประเทศ คงหลีกไมพนคําวา e-Learning ซึ่งเปนระบบการเรียนการสอนผานเครือขาย
อินเทอรเน็ตไมวาจะอยูที่ไหนในโลกก็สามารถที่จะเรียนได แคขอใหมีสัญญาณอินเทอรเน็ตเขาถึง แตใชวา
จะตองมีอินเทอรเน็ตเทานั้นถึงจะเรียนได ถึงจะไมมีอินเทอรเน็ตใชก็สามารถที่จะเรียนได เพียงดาวนโหลด
เนื้อหา ที่ทานตองการเรียนไปเก็บไวในเครื่องกอน จากนั้นทานไปที่ไหนก็สามารถเรียนได โดยเปดเนื้อหาที่
ดาวนโหลดมา เมื่อเรียนเสร็จทานก็มาตอสัญญาณอินเทอรเน็ตเพื่อเรียนตอ หรือบางระบบสามารถที่จะติดตาม
การเรียนของทานที่ออฟไลนไปก็สามารถทําไดเพียงแคเชื่อมตออินเทอรเน็ต ระบบจะไปดึงขอมูลในเนื้อหาที่ได
เรียนไปเมื่อไมมีการเชื่อมตอ
       e-Learning คือระบบการเรียนการสอนที่ที่ประกอบไปดวย ระบบจัดการเรียนการสอน (LMS) และ
ระบบจัดการคอรส (CMS) ที่ชวยในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในระบบการเรียนแบบออนไลนใหมี
บรรยากาศเหมือนเรียนในหองเรียนผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต โดยมีคุณลักษณะเฉพาะ คือ
         1. ระบบที่พัฒนาตอเนื่องมาจาก WBI (Web Based Instruction)
         2. เพิ่มเติมระบบจัดการ/บริหารหลักสูตรและการเรียนรู (Course/Learning Management System:
            CMS/LMS) เขามาเพื่อใหสามารถบริหารเนื้อหาและติดตามการเรียนรูของผูเรียน
         3. นําเสนอไดทั้งระบบ Online และ Offline
         4. นําเสนอไดทั้งระบบ Synchronous และ Asynchronous
         ซึ่งโปรแกรม ที่มีลักษณะเปน e-Learning นั้นมีอยูมากมายทั้งที่ตองเสียเงินซื้อมา หรือของฟรีบน
อินเทอรเน็ต ที่เรียกกันวา โอเพนซอรส โดยความหมายของ โอเพนซอรส ก็คือ โปรแกรมที่ใหทั้ง Source Code
และตัวโปรแกรม สามารถที่จะนําไปทําซ้ํา ดัดแปลง แกไขได แตหามหากําไรจากโอเพนซอรสตางๆ เหลานี้ ใน
                                                                                       นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                                                                                             นายวุฒิชัย สุขเกษม
ที่นี้จะขอแนะนําการใชโปรแกรม Moodle ที่เปนทั้ง LMS และ CMS หรือที่เรียกรวมกันวา LCMS (Learning
Content Management System)
         Moodle (Modular Objected Dynamic Learning Environment) เปนระบบ e-Learning ที่สมบูรณแบบ
โปรแกรมหนึ่งที่มีเครื่องมือ ฟงกชั่นตางๆ มาให อีกทั้งเปนโปรแกรมในตระกูลโอเพนซอรสที่แจกจายใหฟรี
และสามารถปรับแกไขใหตรงกับความตองการของแตละทานได อีกดวย หากฟงกชั่นที่โปรแกรมมอบใหยังไม
พอ ทานก็สามารถดาวนโหลด module ตางๆ มาติดตั้งเพิ่มได ซึ่งมีผูพัฒนาขึ้นมาไวมากมาย บนอินเทอรเน็ต หรือ
ทานจะเปนผูที่พัฒนา Module ใหแกบุคคลอื่นก็จะเปนสิ่งที่ดีในการแลกเปลี่ยนขอมูลกันไดดวย

Moodle มีอะไร?
การออกแบบโดยรวม
          การออกแบบของ Moodle อยูบนพื้นฐานของหลักทางการศึกษา โดยสามารถติดตาม พฤติกรรมการ
เรียน ผลกระทบที่มตอผูเรียนถึงการใหความสนในหลักสูตร ผูเรียนมีความรูสึกคลายกับกําลังเรียนกับครูผูสอน
                     ี
เนื่องจากตองการให มีการเรียกใชงานผานเว็บไดอยางรวดเร็วการออกแบบ จะดูเรียบงายมี graphic นอย และ
สามารถใชงานรวมกับ Browser รุนเกาได การติดตั้งตองมีความงาย โดยการติดตั้งสนับสนุนการการนํา PHP มา
ใชในการติดตั้งและ รองรับกับระบบฐานขอมูลเดียวกันทั้งระบบและสามารถที่จะใชงานรวมกันไดในระบบ
รองรับระบบจัดการฐานขอมูลที่เปนโอเพนซอรส สามารถแสดงหลักสูตรมีรายระเอียดของแตละรายวิชา หรือ
ทั้งหมดที่อยูบนเครื่องแมขาย (Server) สามารถกําหนดไดวาจะใหผสนใจทั่วไปไดใชงาน หรือ กําหนดใหเฉพาะ
                                                                 ู
สมาชิกเทานั้น
          ระบบใหความสําคัญกับเรื่องของความปลอดภัยโดยจะมีการตรวจสอบความถูกตองของขอมูล
การเขารหัสคุกกี้ในการ Login ใชงานรหัสผานมีการเก็บในฐานขอมูลที่มีการเขารหัสสวนในระบบที่ตองมี
การเขียน บทความ หรือ แมแตกระทู จะมีเครื่องมือชวยเขียนที่เปนแบบ WYSIWYG จะทําใหใชงานและจัดเรียง
รูปแบบไดตามที่มองเห็น

ระบบบริหารจัดการไซท (Site Management)
        ระบบบริหารจัดการไซท ดูแลโดย Admin ซึ่งกําหนดในครั้งแรกที่ติดตั้ง มี plug-in เพื่อกําหนดให
admin สามารถเลือกเปลียนรูปแบบเว็บไซทไดโดยสามารถเปลียน สี ตัวอักษร ภาษาตามการใชงานของประเทศ
สามารถที่จะติดตั้งเพิ่มเติม Plug-in หรือ Modulesg ใหม ๆ ได ผูใชงานที่มีความสามารถดานภาษา PHP แกไข
โปรแกรมไดตามเงื่อนไขของ GNU license รองรับภาษาตางประเทศทั้งหมด 70 ภาษา สามารถติดตั้งเพิ่มเติมได


                                                                                        นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                                                                                              นายวุฒิชัย สุขเกษม
ระบบบริหารจัดการผูใชงาน (User Management)
           ระบบมีเปาหมายที่จะลดงานของ Admin แตอยูบนพื้นฐานของความปลอดภัยของระบบ จึงมีการแบง
ระดับของการดูแล ใหกับ ผูดูแลระบบ ทานอื่นได หรือ อาจารยผูสอนในแตละรายวิชา ผูเรียนสามารถที่จะสราง
Account ใหตัวเองไดโดยการตรวจสอบผานทาง e-mail และมีการยืนยันตัวตนกลับมา มีระบบที่รองรับการเขา
ใชงานระบบ (Login) โดยผาน LDAP server รองรับการใชงาน SSL ผูใชงานแตละคน มีไดเพียง Account เดียว
โดย Admin account สามารถควบคุมการสรางหลักสูตรและมอบหมายอาจารยประจําวิชาใหสรางหลักสูตรของ
ตนเอง อาจารยผูสอนสามารถที่จะกําหนดผูเรียน เพิ่ม กลุมผูเรียน และกรณีที่มีสมาชิกมาก ระบบมีการ Import
ผูใชจาก Excel ไฟล หรือ Text ไฟลตามมาตรฐานที่กําหนด สําหรับผูสอนที่เปนผูสอนชั่วคราว (part-time) นั้น
ผูดูแลระบบสามารถถอดถอนรายวิชาที่ผูสอนชั่วคราวรับผิดชอบได แตจะไมสามารถกลับเขามาแกไขหลักสูตร
ไดอก อาจารยผูสอนสามารถที่จะสราง enrolment key อีกชั้นโดยผูเรียนตอง ใสรหัสผานประจําวิชา นักเรียน
      ี
สามารถเขามาแกไขขอมูลสวนตัวของตนเอง เปลี่ยนรูปถายในไฟลสวนตัว และกําหนดไมใหแสดงอีเมลของ
ตัวเองตอผูอื่น ผูใชงานแตละคนสามารถที่จะ เลือกเปลี่ยนรูปแบบการแสดงผล Moodle เปลี่ยนภาษาในการ
Interface ของเว็บไซต รวมทั้งเปลี่ยน Time Zone ได

ระบบบริหารจัดการหลักสูตร (Course management)
            ในระบบนี้อาจารยผูสอนสามารถที่จะจัดการกับโครงสรางหลักสูตรไดอยางเต็มที่ รวมทั้งอาจารยทาน
อื่นที่อยูในหลักสูตรเดียวกัน การเขียนโครงสรางของหลักสูตร สามารถกําหนดใหเรียนเปนรูปแบบรายสัปดาห
หรือเปนแบบไมกําหนดผูเรียนเลือกเรียนไดเอง การจัดการในเนื้อหารายวิชามีความยืดหยุนสูง สามารถที่จะ
ปรับเปลี่ยนใหมีกิจกรรมในแตละสัปดาห ของหลักสูตรเชนการสอบ (Quizzes) กระทูในเนื้อหาประจําสัปดาห
(Forums) การบาน (Assignments) Glossaries, Resources, Choices, Surveys, Chats, Workshops การใชงานใน
พื้นที่ ของการเขียนเนื้อหา การโพสตขอความใน Forums เครื่องมือจะมีรูปแบบจะเปน WYSIWYG HTML

โมดูลการบาน (Assignment Module)
         อาจารยผูสอนสามารถที่จะกําหนดระยะเวลาสงการบานได ถาเลยกําหนดแลวจะยังรับอีกหรือไม
สามารถใหคะแนนในสวนของการบานได ผูเรียนสามารถสงการบานในรูปของไฟลอะไรก็ได ผูสอนสามารถที่
จะสงคําแนะนํากลับไปใหผูเรียนหลังจากตรวจการบาน ทางอีเมลเมื่อมีผูสงการบานมา อีกทั้งยังหนดไดวาจะให
มีอีเมลมาเตือนผูสอน รวมทั้งการเลือกตรวจการบานผูสอน สามารถรูไดวามีจํานวนผูสงมาแลวเทาใด




                                                                                          นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                                                                                                นายวุฒิชัย สุขเกษม
โมดูลสนทนา (Chat Module)
         โมดูลการสนทนาจะชวยทําใหผเู รียนสื่อสารกับผูสอนไดอยางราบลื่น และยังเห็นรูปของผูสนทนาดวย
และเมื่อคลิกที่รูปจะสามารถที่จะเชื่อมโยงไปหาขอมูลสมาชิก

โมดูลกระทู (Forum Module)
        เปนกระดานถามตอบโดยที่แตกตางจากกระดานถามตอบโดยทั่วไปคือสามารถกําหนดเปนรายวิชาได,
กําหนดใหเฉพาะอาจารยประจําหมวดวิชานั้นๆ ได หรือจะใหเฉพาะผูเรียนดวยกัน ขึ้นอยูกับความเหมาะสม
หรือ จะอนุญาตใหบุคคลภายนอก ก็ไดเชนกัน ในโมดูลนี้สามารถใสรูปประกอบดวยได

โมดูลขอสอบ (Quiz Module)
         โมดูลขอสอบผูสอนสามารถรวมกันออกขอสอบ สะสมไวเปนฐานขอมูลไดแลวเลือกมาใช การสอบ
กําหนดใหสุมเลือกมาเปนบางขอได การสอบกําหนดใหเขามาสอบตามกําหนดเวลา หรือไมก็ได สวนเวลาใน
การสอบก็สามารถที่จะกําหนดเวลาที่ใชสอบในแตละขอ โดยมีนาฬิกากําหนด สามารถที่จะสงคําตอบ พรอมกัน
ทุกขอ หรือสงคําตอบที่ละขอได การนําเขาขอสอบสามารถนําเขาจากไฟลเอกสารไดโดยมีมาตรฐานบอกไวจึง
สามารถนําเขาขอสอบหรือแลกเปลี่ยนขอสอบกับผูสอนทานอื่นได รูปแบบ ของขอสอบมีทั้งขอสอบแบบปรนัย
คําถามถูกผิด คําถามอัตนัย คําถามเติมคําตอบดวยตัวเลข หรือ เติมคําในชองวาง คําถามคํานวณ คําถามจับคู
คําถามแบบเติมคําในชองวาง

โมดูลแหลงขอมูล (Resource Module)
           ในสวนเนื้อหาหรือบทเรียน สามารถที่จะเพิ่มเนื้อหาจากแหลงตางๆไดเชนจากเว็บเพจ จากไฟล Word,
Power point, Flash, Video, Sounds ไฟลตาง ๆ สามารถที่จะ upload จาก zip ไฟลแลว unzipโดยที่ควบคุมจาก
ระบบได การจัดการไฟลสามารถที่จะลบออก เปลี่ยนชื่อ สรางโฟรเดอรเพื่อจัดการกับไฟล รองรับการนําเขา
ขอมูลที่มีมาตรฐาน SCROM เครื่องมือในการจัดการเนื้อหาที่เปนเว็บเพจ มีเครื่องประเภท WYSIWYG สรุปวา
โมดูลนี้ Moodle รองรับไฟลทุกประเภท

โมดูลแบบสํารวจ (Survey Module)
             โมดูลนี้เตรียมคําถามไว 24 ขอเพื่อสํารวจความคิดเห็นของการเรียนของนักเรียนตอบทเรียน หรือ สื่อ
ตางๆ ที่ผูเตรียมไว สามารถโหลดผลของแบบสํารวจออกมาเปนรายงานในรูปของ Excel File



                                                                                           นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                                                                                                 นายวุฒิชัย สุขเกษม
การติดตั้งโปรแกรม Moodle
          ในการติดตั้งโปรแกรม Moodle นั้นจําเปนที่จะตองมีทั้งเครื่องแมขายและ เครื่องลูกขาย และในการที่
จะนําโปรแกรม Moodle ใชงานจริงๆ นั้นคงตองเปนหนาที่ของผูดูแลระบบที่จะเซ็ตคาตางๆ ของเครื่องแมขาย
ใหกับโปรแกรม แตในบทความชุดนี้จะขอแนะนําการจําลองเครื่องพีซีที่ทานใชอยูเปนเครื่องแมขายหรือ
เครื่อง แมขาย เพื่อใหสามารถใชงานโปรแกรม Moodle ได ดวยโปรแกรมจําลองที่ชื่อวา Appserv โดยใน
โปรแกรมนี้จะมีโปรแกรมยอยอีก 3 โปรแกรมไดแก Apache, Mysql, PHP ซึ่งถาทานจะติดตั้งเครื่องเปนแมขาย
จริงๆ นั้นจําเปนที่จะตองนําทั้ง 3 โปรแกรมที่กลาวมานั้นติดตั้งแยกกัน เพื่อการทํางานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น
         ติดตั้งโปรแกรม Appserv
         โปรแกรม Appserv สามารถดาวนโหลดไดจาก www.nectec.or.th/download/appserv-win32-2.4.1.exe
โดยเวอรชั่นที่ขอแนะนําเปนเวอรชั่น 2.4.1 เมื่อดาวนโหลดเรียบรอยแลวใหดับเบิลคลิก




         แสดงขอความตอนรับคุณเขาสูการติดตั้งโปรแรกม Appserv




                                                                                          นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                                                                                                นายวุฒิชัย สุขเกษม
เลือกไดรฟ/โฟลเดอร
                                                                                ถือวาเปน
                                                                                Root Directory




                                                                                Administrator’s
                                                                                Email Address
                                                                                ระบุอีเมลของผูดูแล



Server Name: กรณีที่เปนเครื่องทดสอบ ใช localhost แตเครื่อง Server จริง ใหระบุ IP Address ของ Server




                                                                                               นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                                                                                                     นายวุฒิชัย สุขเกษม
การเขารหัสอักขระ กรณี
                                                          ภาษาไทยใหเลือกเปน TIS620


ระบุ User Name, Password ของผูดูแลระบบ Server และฐานขอมูล MySQL

Character set คืออะไร
    • คอมพิวเตอรเก็บขอมูลโดยรหัสดิจิทัล 0 กับ 1
              - รหัส 1 ตัว เรียกวาเปน 1 bit
              - รหัส 8 bit เรียกวาเปน 1 byte
    • ผูที่คิดคนคอมพิวเตอรในยุคแรกๆ นั้นเปนผูที่ใชภาษาอังกฤษ จึงคิดคนระบบการเก็บขอมูล
      โดยใชรหัสยาว 7 บิต (ASCII) สามารถเก็บอักขระตางๆ ได แตกตางกันทั้งหมด 27 ตัว = 128
      ตัว นับวาเพียงพอสําหรับการใชงานทั่วไป เชน
              - ตัวอักษร A จะตรงกับรหัส ASCII 65
                           เขียนเปนเลขฐาน 2 เรียงกัน 7 ตัว ดังนี้ 100 0001
    • ตอมาคอมพิวเตอรไดแพรหลายไปยังประเทศที่ไมไดใชแคภาษาอังกฤษ ไดมีวิธีการแกไข
      แบบเฉพาะหนา โดยการเพิ่มความยาวของรหัสที่เก็บจาก 7 ตัว ใหเปน 8 ตัว สามารถเก็บ
      อักษรไดทั้งหมดเปน 28 = 256 ตัว
    • ประเทศตางๆ สามารถใชสวนที่เกินมาอีก 128 ตัวนั้น ใชเก็บรหัสอักขระเพิ่มเติม ที่เปน
      เฉพาะของภาษาตนเอง เชน
              - รหัส 228 จะเปนตัว a umlaut คือ a แลวมีจุดอยูขางบน 2 จุด ใชกันในภาษาเยอรมัน
              - ประเทศไทยเก็บรหัสไมมลาย "ไ" ไวที่รหัสหมายเลข 228 เปนตน
    • ดังที่กลาวมาแลวนั้น เราจําเปนตองมีตารางที่จะแสดงวา หมายเลขอะไร หมายถึงตัวอักษร
      อะไร ตารางนี้ ก็จะแตกตางกันไปในแตละภาษา ซึ่งมีอักขระซึ่งตางๆ กัน



                                                                                นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                                                                                      นายวุฒิชัย สุขเกษม
• ดูๆ ไปแลว ก็ยังไมเห็นวาจะมีปญหาอะไร ตราบใดที่ในเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชงานมี 2 ภาษา
     เชน ภาษาไทย กับ ภาษาอังกฤษ ถาทานไดรับรหัสมามีคา 228 ก็สรุปไดเลยวาผูสงตองการจะ
     สงไมมลาย มา
   • แตหากทานตองการจะสงขอมูล ไปยังเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องอื่น หรือเปด Web Site ให
     ผูคนจากทั่วโลกเขามาดู ที่ไมไดใชภาษาไทย อยูดวย ผูคนเหลานั้น จะเขาใจไดอยางไรวา
     ทานตองการสง ไมมลาย ซึ่งเปนอักขระหนึ่งของภาษาไทย?
   • ถาคนเยอรมันไดรับรหัสนั้น ยอมตองแปลความหมายของรหัส 228 ที่ทาน สงไปวาเปน
     อักขระ a umlaut ที่พวกเขาใชกัน? เขาควรจะรูไดอยางไรวา เขาควรจะหยิบตารางที่ใชแปลง
     คารหัสเปนภาษาไทย แทนที่จะใชตารางของภาษาเยอรมัน?
   • วิธีแกปญหานั้นก็งายดาย เพียงแตระบุ ใหชัดเจนวา Server หรือระบบของเราใชรหัสใด
     เรียกวา Character set
Tis - 620/Windown - 874
   • windows-874 เปน character set ที่ใชภายในระบบปฏิบัติการที่ผลิตโดยบริษัท ไมโครซอฟต
     เทานั้น ไมไดเปน character set ที่ใชในการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางเครื่อง มีสวนขยายเพื่อ
                                                                                    
     การแสดงผล เชน bullet, smart quote, dash ฯลฯ
   • tis-620 เปน character set ที่จดทะเบียน ถูกตอง เปนที่รับรูกันทั่วโลก ทุกระบบปฏิบัติการ
     (แมแตระบบปฏิบติการของไมโครซอฟตเอง)
                         ั




                                                                               นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                                                                                     นายวุฒิชัย สุขเกษม
ติดตั้งเสร็จเรียบรอย

          เมื่อติดตั้งเสร็จแลวใหทดสอบการทํางานของ Appserv วาทํางานไดหรือไม ใหเปดเบราวเซอร แลว
พิมพ http://127.0.0.1/ ที่ชอง Address




         การติดตังโปรแกรม Appserv สําเร็จและสามารถใชงานได
                 ้

         การติดตั้ง Moodle
        สามารถดาวนโหลดโปรแกรม Moodle ไดท่ี http://moodle.org เมื่อดาวนโหลดเรียบรอยแลว ตอมาก็
สรางโฟลเดอร ไวภายใต path ดังนี้ “C:AppServwwwชื่อโฟลเดอรของเรา” จากนั้นจะตองแตกไฟลที่ดาวน
โหลดมาลงในโฟลเดอรที่สรางขึ้น
        เมื่อไดแตกไฟลไวในโฟลเดอร แลวก็ตองมาสรางฐานขอมูลใหกับโปรแกรม Moodle กอนเนื่องจาก
เปนกฏในการติดตั้งโปรแกรม Moodle
        • เปดเบราวเซอรขึ้นมาพิมพ http://127.0.0.1
        • คลิกเลือกรายการ phpMyAdmin Database Manager เวอรชั่น 2.6.0-rc1
                                                                                          นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                                                                                                นายวุฒิชัย สุขเกษม
• เขาสูหนาจอ phpMyAdmin


                                                                          ใสชื่อฐานขอมูล




• พิมพชื่อฐานขอมูลสําหรับ Moodle ในรายการ “สรางฐานขอมูลใหม” แลวคลิกปุมสราง
  - ระบบ Moodle แตละระบบ (ใน Server เดียวกัน) หามตั้งชื่อไฟลฐานขอมูลซ้ํากัน
  - ควรเปนชื่อเดียวกับโฟลเดอร
• ปดเว็บเบราวเซอร
• แกไขคา Memory จากไฟล c:windowsphp.ini




  เปดไฟล c:windowsphp.ini ดวย NotePad คนหาบรรทัด memory_limit เปลี่ยนคาตัวเลขให
  สูงขึ้น เชน 20M บันทึกและปดไฟล สาเหตุที่ตองแกไขเนื่องจากเพื่อใหการทํางานของระบบเร็ว
                                              
  ขึ้น สามารถแกไขเพิ่มไดแลวแตคุณสมบัติของเครื่องแตละเครื่อง
• Restart AppServe โดย
   - คลิกเลือก Start, Program, AppServ, Apache Control Server, Restart
                                                                            นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                                                                                  นายวุฒิชัย สุขเกษม
• ติดตั้ง Moodle โดยเปดเว็บเบราวเซอรพิมพ http://127.0.0.1/ชื่อโฟลเดอร
                                                        เลือกภาษาที่ใชในการติดตั้ง



    เลือกภาษาในการติดตั้ง คลิกปุม Next



                                                        โปรแกรม Moodle ตรวจสอบคา
                                                        ตางๆ ที่จําเปนในการตดตั้ง




    ตรวจสอบการติดตัง PHP คลิกปุมตอไป
                   ้
                                                      URL ที่ใชเรียกระบบ



                                                            สถานที่เก็บไฟล และ
                                                            ระบบ Moodle

                                                          สถานที่เก็บขอมูลตางๆ ที่
                                                          ไดเพิ่มเขาไปในระบบ
    ยืนยันที่ตั้งของการติดตั้ง Moodle คลิกปุมตอไป




                                                        User และรหัสผานใน
                                                        การเขาใชงาน mysql




                                                                                       นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                                                                                             นายวุฒิชัย สุขเกษม
ตั้งคาในการติดตอฐานขอมูล คลิกปุมตอไป




ตั้งคาตางๆ เสร็จเรียบรอย โดยเก็บไวในไฟล config.php คลิกปุมขั้นตอไป




     ขอตกลงในการใชงานโปรแกรม Moodle หากยอมรับคลิกใช




     ติดตั้งฐานขอมูล คลิกปุมขั้นตอไป
                                                                            นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                                                                                  นายวุฒิชัย สุขเกษม
เวอรชั่นที่ใชงานเปนเวอรชั่นอะไร คลิกปุมขั้นตอไป




รายละเอียดตางๆ ของเวอรชั่นที่ใชงานอยูวามีอะไรบาง คลิกปุมขั้นตอไป



                                                                    เลือกภาษาไทย




แกไขคาตัวแปรตางๆ เมื่อแกไขเสร็จแลว คลิกปุมบันทึกการเปลี่ยนแปลง




                                                                                   นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                                                                                         นายวุฒิชัย สุขเกษม
ระบบจะติดตั้งตาราง Database ที่โปรแกรม Moodle จําเปนตองใชงาน

• ขั้นตอนตอจากนี้ไปจะเปนการติดตั้งฐานขอมูลเปนสวนใหญ ใหทําตามที่ระบบบอก
• การตั้งคาเว็บไซต




    - ชื่อเต็มเว็บไซต คือ ชื่อที่แสดงบน Title Bar เพื่อแสดงชื่อของเว็บไซต
    - ชื่อยอเว็บไซต คือ ชื่อที่แสดงถึงหนาแรกของเว็บไซตนี้
    - รายละเอียดหนาแรก คือ รายละเอียดที่แสดงตรงมุมขวาของหนาเว็บ เพื่อแสดงขอความ
      ตอนรับผูเขาเยี่ยมชมเว็บไซต


                                                                          นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                                                                                นายวุฒิชัย สุขเกษม
- รูปแบบหนาแรกของเว็บ คือ รูปแบบที่ทางเว็บตองการใหแสดงจะมีอยู 4 รูปแบบใหเลือกโดย
       จะแสดงอยูบริเวณตรงกลางหนาเว็บไซต ไดแก
                   แสดงขาว
                   แสดงรายวิชา
                   แสดงประเภท
                   แสดง HTML หรือ กิจกรรม
• เมื่อไดติดตั้งโปรแกรมมาถึงขั้นตอนนี้ โปรแกรมจะใหตั้งคา user และ password ของผูดูแลระบบ
  ซึ่ง user อันนี้นั้นสําคัญมา เปน user ที่ควบคุมระบบทั้งหมด รวมทั้งขอมูลรายละเอียดของผูแล
  ระบบสามารถที่จะแกไขเปลี่ยนแปลงได หากกรอกไมคบระบบจะแจงเตือนเปนขอความสีแดงให
  ทําตามที่ระบบบอก




• เมื่อไดใส user และ password เรียบรอยแลว ก็เปนอันเสร็จสิ้นการติดตั้งโปรแกรม Moodle จะได
  หนาจอนี้
                                                                          ชื่อเว็บไซต




                                                                              นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                                                                                    นายวุฒิชัย สุขเกษม
ขอความตอนรับ



                                                                               รูปแบบหนาแรกของ
                                                                               เว็บ ในที่นี้เลือกเปน
                                                                               แบบรายวิชา




         • หากไมพอใจขอความตอนรับหรือชื่อเว็บไซต ก็สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงขอความไดตอนรับหรือ
           ชื่อเว็บไซตได แตตอง login เพื่อเขาสูระบบกอนในฐานะผูดูแลระบบ

          ฉบับนี้คงขอจบที่การติดตั้งโปรแกรมเพียงเทานี้กอนนะครับ ฉบับหนาจะมาดูวิธีการใชงานโปรแกรม
Moodle กันวาโปรแกรม Moodle มีความสามารถอะไรบาง และการสรางวิชาขึ้นมา จนถึงการติดตามผลการเรียน
ของผูเรียน หรือหากมีเนื้อหาอยูแลวสามารถนําเขาสูระบบไดอยางไร มีวิธีการใดบางจะสะดวกงายดายเพียงใด
มาติดตามกันตอในฉบับหนานะครับ




                                                                                       นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช
                                                                                             นายวุฒิชัย สุขเกษม

More Related Content

What's hot

โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นkvcthidarat
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการkat55
 
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์คโครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์คNichakarnkvc
 
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshoprubtumproject.com
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการBuslike Year
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการBuslike Year
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานnamnoi1
 
Chapter 1 Premiere Pro
Chapter 1 Premiere ProChapter 1 Premiere Pro
Chapter 1 Premiere ProNalin K
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์NeNo Srimueagbun
 
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการโครงสร้างของระบบปฏิบัติการ
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์NeNo Srimueagbun
 
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์คโครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์คNichakarnkvc
 
โครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการโครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการThanapon Seadthaisong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์2
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์2โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์2
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์2fulk123
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ (2)
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ (2)โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ (2)
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ (2)fulk123
 

What's hot (19)

โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์คโครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
 
OSS & Freeware for Education
OSS & Freeware for EducationOSS & Freeware for Education
OSS & Freeware for Education
 
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการโครงงาน ระบบปฏิบัติการ
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
บทเรียน ประกอบแผนที่ 5
บทเรียน ประกอบแผนที่ 5บทเรียน ประกอบแผนที่ 5
บทเรียน ประกอบแผนที่ 5
 
Utq
UtqUtq
Utq
 
Chapter 1 Premiere Pro
Chapter 1 Premiere ProChapter 1 Premiere Pro
Chapter 1 Premiere Pro
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการโครงสร้างของระบบปฏิบัติการ
โครงสร้างของระบบปฏิบัติการ
 
Elearning2.0
Elearning2.0Elearning2.0
Elearning2.0
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์คโครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
 
โครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการโครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์2
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์2โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์2
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ (2)
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ (2)โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ (2)
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ (2)
 

Similar to Moodle - OSS LCMS

Similar to Moodle - OSS LCMS (20)

Moodle2010
Moodle2010Moodle2010
Moodle2010
 
Moodle
MoodleMoodle
Moodle
 
Moodle
MoodleMoodle
Moodle
 
Moodle
MoodleMoodle
Moodle
 
D L M S
D L M SD L M S
D L M S
 
Ppt Moodle
Ppt MoodlePpt Moodle
Ppt Moodle
 
Moodle Presentation Th
Moodle Presentation ThMoodle Presentation Th
Moodle Presentation Th
 
องค์ประกอบของ Lms
องค์ประกอบของ Lmsองค์ประกอบของ Lms
องค์ประกอบของ Lms
 
Elearning2.0
Elearning2.0Elearning2.0
Elearning2.0
 
นายศ ภช ย ดอนชาม_วง ว.5606 รห_ส 5640248230
นายศ ภช ย  ดอนชาม_วง ว.5606 รห_ส 5640248230นายศ ภช ย  ดอนชาม_วง ว.5606 รห_ส 5640248230
นายศ ภช ย ดอนชาม_วง ว.5606 รห_ส 5640248230
 
Moodle
MoodleMoodle
Moodle
 
Online learning lms
Online learning lms Online learning lms
Online learning lms
 
Moodle
MoodleMoodle
Moodle
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
Manual
ManualManual
Manual
 
Moodle
MoodleMoodle
Moodle
 
Moodle e-Learning
Moodle e-LearningMoodle e-Learning
Moodle e-Learning
 
Digital advertising-approach
Digital advertising-approachDigital advertising-approach
Digital advertising-approach
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม CourseLab
คู่มือการใช้งานโปรแกรม CourseLabคู่มือการใช้งานโปรแกรม CourseLab
คู่มือการใช้งานโปรแกรม CourseLab
 
Instructional Design for e-Learning
Instructional Design for e-LearningInstructional Design for e-Learning
Instructional Design for e-Learning
 

More from Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 

Moodle - OSS LCMS

  • 1. จัดการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกสดวยระบบ Moodle Moodle เปนซอฟตแวร Open Source ที่ใชสําหรับทําคอรสหรือบทเรียนออนไลน ที่เราเรียกกันติดปาก วาระบบ LMS หรือ Learning Management System โดยที่ Moodle นับเปนทูลตัวหนึ่งที่มีความสามารถสูง ตาม มหาวิทยาลัยและโรงเรียนตางๆ เลือกใช ตัว Moodle เองมีระบบ Backend (ระบบจัดการคอรส ที่ดีตัวหนึ่ง) ผู ควบคุมสามารถแบงแยกระหวางอาจารย ผูเรียน ไดอยางงาย และเปนซอรฟแวรท่ีมีลิขสิทธิ์แบบ GPL (General Public License) หรือลิขสิทธิ์แบบฟรีนั่นเอง ผูนําไปใชสามารถพัฒนาตอยอดได ดังนั้นในบทความชุดนี้จึงขอ แนะนําระบบ Moodle ตั้งแตการติดตั้งจนถึงการใชงานในภาพรวมทั้งหมด ถาจะใหพูดถึงระบบการเรียนการสอนผานเครือขายอินเทอรเน็ต ที่เปนที่นิยมในปจจุบันไมวาจะที่ ประเทศไทยหรือ ตางประเทศ คงหลีกไมพนคําวา e-Learning ซึ่งเปนระบบการเรียนการสอนผานเครือขาย อินเทอรเน็ตไมวาจะอยูที่ไหนในโลกก็สามารถที่จะเรียนได แคขอใหมีสัญญาณอินเทอรเน็ตเขาถึง แตใชวา จะตองมีอินเทอรเน็ตเทานั้นถึงจะเรียนได ถึงจะไมมีอินเทอรเน็ตใชก็สามารถที่จะเรียนได เพียงดาวนโหลด เนื้อหา ที่ทานตองการเรียนไปเก็บไวในเครื่องกอน จากนั้นทานไปที่ไหนก็สามารถเรียนได โดยเปดเนื้อหาที่ ดาวนโหลดมา เมื่อเรียนเสร็จทานก็มาตอสัญญาณอินเทอรเน็ตเพื่อเรียนตอ หรือบางระบบสามารถที่จะติดตาม การเรียนของทานที่ออฟไลนไปก็สามารถทําไดเพียงแคเชื่อมตออินเทอรเน็ต ระบบจะไปดึงขอมูลในเนื้อหาที่ได เรียนไปเมื่อไมมีการเชื่อมตอ e-Learning คือระบบการเรียนการสอนที่ที่ประกอบไปดวย ระบบจัดการเรียนการสอน (LMS) และ ระบบจัดการคอรส (CMS) ที่ชวยในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในระบบการเรียนแบบออนไลนใหมี บรรยากาศเหมือนเรียนในหองเรียนผานระบบเครือขายอินเทอรเน็ต โดยมีคุณลักษณะเฉพาะ คือ 1. ระบบที่พัฒนาตอเนื่องมาจาก WBI (Web Based Instruction) 2. เพิ่มเติมระบบจัดการ/บริหารหลักสูตรและการเรียนรู (Course/Learning Management System: CMS/LMS) เขามาเพื่อใหสามารถบริหารเนื้อหาและติดตามการเรียนรูของผูเรียน 3. นําเสนอไดทั้งระบบ Online และ Offline 4. นําเสนอไดทั้งระบบ Synchronous และ Asynchronous ซึ่งโปรแกรม ที่มีลักษณะเปน e-Learning นั้นมีอยูมากมายทั้งที่ตองเสียเงินซื้อมา หรือของฟรีบน อินเทอรเน็ต ที่เรียกกันวา โอเพนซอรส โดยความหมายของ โอเพนซอรส ก็คือ โปรแกรมที่ใหทั้ง Source Code และตัวโปรแกรม สามารถที่จะนําไปทําซ้ํา ดัดแปลง แกไขได แตหามหากําไรจากโอเพนซอรสตางๆ เหลานี้ ใน นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช นายวุฒิชัย สุขเกษม
  • 2. ที่นี้จะขอแนะนําการใชโปรแกรม Moodle ที่เปนทั้ง LMS และ CMS หรือที่เรียกรวมกันวา LCMS (Learning Content Management System) Moodle (Modular Objected Dynamic Learning Environment) เปนระบบ e-Learning ที่สมบูรณแบบ โปรแกรมหนึ่งที่มีเครื่องมือ ฟงกชั่นตางๆ มาให อีกทั้งเปนโปรแกรมในตระกูลโอเพนซอรสที่แจกจายใหฟรี และสามารถปรับแกไขใหตรงกับความตองการของแตละทานได อีกดวย หากฟงกชั่นที่โปรแกรมมอบใหยังไม พอ ทานก็สามารถดาวนโหลด module ตางๆ มาติดตั้งเพิ่มได ซึ่งมีผูพัฒนาขึ้นมาไวมากมาย บนอินเทอรเน็ต หรือ ทานจะเปนผูที่พัฒนา Module ใหแกบุคคลอื่นก็จะเปนสิ่งที่ดีในการแลกเปลี่ยนขอมูลกันไดดวย Moodle มีอะไร? การออกแบบโดยรวม การออกแบบของ Moodle อยูบนพื้นฐานของหลักทางการศึกษา โดยสามารถติดตาม พฤติกรรมการ เรียน ผลกระทบที่มตอผูเรียนถึงการใหความสนในหลักสูตร ผูเรียนมีความรูสึกคลายกับกําลังเรียนกับครูผูสอน ี เนื่องจากตองการให มีการเรียกใชงานผานเว็บไดอยางรวดเร็วการออกแบบ จะดูเรียบงายมี graphic นอย และ สามารถใชงานรวมกับ Browser รุนเกาได การติดตั้งตองมีความงาย โดยการติดตั้งสนับสนุนการการนํา PHP มา ใชในการติดตั้งและ รองรับกับระบบฐานขอมูลเดียวกันทั้งระบบและสามารถที่จะใชงานรวมกันไดในระบบ รองรับระบบจัดการฐานขอมูลที่เปนโอเพนซอรส สามารถแสดงหลักสูตรมีรายระเอียดของแตละรายวิชา หรือ ทั้งหมดที่อยูบนเครื่องแมขาย (Server) สามารถกําหนดไดวาจะใหผสนใจทั่วไปไดใชงาน หรือ กําหนดใหเฉพาะ ู สมาชิกเทานั้น ระบบใหความสําคัญกับเรื่องของความปลอดภัยโดยจะมีการตรวจสอบความถูกตองของขอมูล การเขารหัสคุกกี้ในการ Login ใชงานรหัสผานมีการเก็บในฐานขอมูลที่มีการเขารหัสสวนในระบบที่ตองมี การเขียน บทความ หรือ แมแตกระทู จะมีเครื่องมือชวยเขียนที่เปนแบบ WYSIWYG จะทําใหใชงานและจัดเรียง รูปแบบไดตามที่มองเห็น ระบบบริหารจัดการไซท (Site Management) ระบบบริหารจัดการไซท ดูแลโดย Admin ซึ่งกําหนดในครั้งแรกที่ติดตั้ง มี plug-in เพื่อกําหนดให admin สามารถเลือกเปลียนรูปแบบเว็บไซทไดโดยสามารถเปลียน สี ตัวอักษร ภาษาตามการใชงานของประเทศ สามารถที่จะติดตั้งเพิ่มเติม Plug-in หรือ Modulesg ใหม ๆ ได ผูใชงานที่มีความสามารถดานภาษา PHP แกไข โปรแกรมไดตามเงื่อนไขของ GNU license รองรับภาษาตางประเทศทั้งหมด 70 ภาษา สามารถติดตั้งเพิ่มเติมได นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช นายวุฒิชัย สุขเกษม
  • 3. ระบบบริหารจัดการผูใชงาน (User Management) ระบบมีเปาหมายที่จะลดงานของ Admin แตอยูบนพื้นฐานของความปลอดภัยของระบบ จึงมีการแบง ระดับของการดูแล ใหกับ ผูดูแลระบบ ทานอื่นได หรือ อาจารยผูสอนในแตละรายวิชา ผูเรียนสามารถที่จะสราง Account ใหตัวเองไดโดยการตรวจสอบผานทาง e-mail และมีการยืนยันตัวตนกลับมา มีระบบที่รองรับการเขา ใชงานระบบ (Login) โดยผาน LDAP server รองรับการใชงาน SSL ผูใชงานแตละคน มีไดเพียง Account เดียว โดย Admin account สามารถควบคุมการสรางหลักสูตรและมอบหมายอาจารยประจําวิชาใหสรางหลักสูตรของ ตนเอง อาจารยผูสอนสามารถที่จะกําหนดผูเรียน เพิ่ม กลุมผูเรียน และกรณีที่มีสมาชิกมาก ระบบมีการ Import ผูใชจาก Excel ไฟล หรือ Text ไฟลตามมาตรฐานที่กําหนด สําหรับผูสอนที่เปนผูสอนชั่วคราว (part-time) นั้น ผูดูแลระบบสามารถถอดถอนรายวิชาที่ผูสอนชั่วคราวรับผิดชอบได แตจะไมสามารถกลับเขามาแกไขหลักสูตร ไดอก อาจารยผูสอนสามารถที่จะสราง enrolment key อีกชั้นโดยผูเรียนตอง ใสรหัสผานประจําวิชา นักเรียน ี สามารถเขามาแกไขขอมูลสวนตัวของตนเอง เปลี่ยนรูปถายในไฟลสวนตัว และกําหนดไมใหแสดงอีเมลของ ตัวเองตอผูอื่น ผูใชงานแตละคนสามารถที่จะ เลือกเปลี่ยนรูปแบบการแสดงผล Moodle เปลี่ยนภาษาในการ Interface ของเว็บไซต รวมทั้งเปลี่ยน Time Zone ได ระบบบริหารจัดการหลักสูตร (Course management) ในระบบนี้อาจารยผูสอนสามารถที่จะจัดการกับโครงสรางหลักสูตรไดอยางเต็มที่ รวมทั้งอาจารยทาน อื่นที่อยูในหลักสูตรเดียวกัน การเขียนโครงสรางของหลักสูตร สามารถกําหนดใหเรียนเปนรูปแบบรายสัปดาห หรือเปนแบบไมกําหนดผูเรียนเลือกเรียนไดเอง การจัดการในเนื้อหารายวิชามีความยืดหยุนสูง สามารถที่จะ ปรับเปลี่ยนใหมีกิจกรรมในแตละสัปดาห ของหลักสูตรเชนการสอบ (Quizzes) กระทูในเนื้อหาประจําสัปดาห (Forums) การบาน (Assignments) Glossaries, Resources, Choices, Surveys, Chats, Workshops การใชงานใน พื้นที่ ของการเขียนเนื้อหา การโพสตขอความใน Forums เครื่องมือจะมีรูปแบบจะเปน WYSIWYG HTML โมดูลการบาน (Assignment Module) อาจารยผูสอนสามารถที่จะกําหนดระยะเวลาสงการบานได ถาเลยกําหนดแลวจะยังรับอีกหรือไม สามารถใหคะแนนในสวนของการบานได ผูเรียนสามารถสงการบานในรูปของไฟลอะไรก็ได ผูสอนสามารถที่ จะสงคําแนะนํากลับไปใหผูเรียนหลังจากตรวจการบาน ทางอีเมลเมื่อมีผูสงการบานมา อีกทั้งยังหนดไดวาจะให มีอีเมลมาเตือนผูสอน รวมทั้งการเลือกตรวจการบานผูสอน สามารถรูไดวามีจํานวนผูสงมาแลวเทาใด นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช นายวุฒิชัย สุขเกษม
  • 4. โมดูลสนทนา (Chat Module) โมดูลการสนทนาจะชวยทําใหผเู รียนสื่อสารกับผูสอนไดอยางราบลื่น และยังเห็นรูปของผูสนทนาดวย และเมื่อคลิกที่รูปจะสามารถที่จะเชื่อมโยงไปหาขอมูลสมาชิก โมดูลกระทู (Forum Module) เปนกระดานถามตอบโดยที่แตกตางจากกระดานถามตอบโดยทั่วไปคือสามารถกําหนดเปนรายวิชาได, กําหนดใหเฉพาะอาจารยประจําหมวดวิชานั้นๆ ได หรือจะใหเฉพาะผูเรียนดวยกัน ขึ้นอยูกับความเหมาะสม หรือ จะอนุญาตใหบุคคลภายนอก ก็ไดเชนกัน ในโมดูลนี้สามารถใสรูปประกอบดวยได โมดูลขอสอบ (Quiz Module) โมดูลขอสอบผูสอนสามารถรวมกันออกขอสอบ สะสมไวเปนฐานขอมูลไดแลวเลือกมาใช การสอบ กําหนดใหสุมเลือกมาเปนบางขอได การสอบกําหนดใหเขามาสอบตามกําหนดเวลา หรือไมก็ได สวนเวลาใน การสอบก็สามารถที่จะกําหนดเวลาที่ใชสอบในแตละขอ โดยมีนาฬิกากําหนด สามารถที่จะสงคําตอบ พรอมกัน ทุกขอ หรือสงคําตอบที่ละขอได การนําเขาขอสอบสามารถนําเขาจากไฟลเอกสารไดโดยมีมาตรฐานบอกไวจึง สามารถนําเขาขอสอบหรือแลกเปลี่ยนขอสอบกับผูสอนทานอื่นได รูปแบบ ของขอสอบมีทั้งขอสอบแบบปรนัย คําถามถูกผิด คําถามอัตนัย คําถามเติมคําตอบดวยตัวเลข หรือ เติมคําในชองวาง คําถามคํานวณ คําถามจับคู คําถามแบบเติมคําในชองวาง โมดูลแหลงขอมูล (Resource Module) ในสวนเนื้อหาหรือบทเรียน สามารถที่จะเพิ่มเนื้อหาจากแหลงตางๆไดเชนจากเว็บเพจ จากไฟล Word, Power point, Flash, Video, Sounds ไฟลตาง ๆ สามารถที่จะ upload จาก zip ไฟลแลว unzipโดยที่ควบคุมจาก ระบบได การจัดการไฟลสามารถที่จะลบออก เปลี่ยนชื่อ สรางโฟรเดอรเพื่อจัดการกับไฟล รองรับการนําเขา ขอมูลที่มีมาตรฐาน SCROM เครื่องมือในการจัดการเนื้อหาที่เปนเว็บเพจ มีเครื่องประเภท WYSIWYG สรุปวา โมดูลนี้ Moodle รองรับไฟลทุกประเภท โมดูลแบบสํารวจ (Survey Module) โมดูลนี้เตรียมคําถามไว 24 ขอเพื่อสํารวจความคิดเห็นของการเรียนของนักเรียนตอบทเรียน หรือ สื่อ ตางๆ ที่ผูเตรียมไว สามารถโหลดผลของแบบสํารวจออกมาเปนรายงานในรูปของ Excel File นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช นายวุฒิชัย สุขเกษม
  • 5. การติดตั้งโปรแกรม Moodle ในการติดตั้งโปรแกรม Moodle นั้นจําเปนที่จะตองมีทั้งเครื่องแมขายและ เครื่องลูกขาย และในการที่ จะนําโปรแกรม Moodle ใชงานจริงๆ นั้นคงตองเปนหนาที่ของผูดูแลระบบที่จะเซ็ตคาตางๆ ของเครื่องแมขาย ใหกับโปรแกรม แตในบทความชุดนี้จะขอแนะนําการจําลองเครื่องพีซีที่ทานใชอยูเปนเครื่องแมขายหรือ เครื่อง แมขาย เพื่อใหสามารถใชงานโปรแกรม Moodle ได ดวยโปรแกรมจําลองที่ชื่อวา Appserv โดยใน โปรแกรมนี้จะมีโปรแกรมยอยอีก 3 โปรแกรมไดแก Apache, Mysql, PHP ซึ่งถาทานจะติดตั้งเครื่องเปนแมขาย จริงๆ นั้นจําเปนที่จะตองนําทั้ง 3 โปรแกรมที่กลาวมานั้นติดตั้งแยกกัน เพื่อการทํางานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ติดตั้งโปรแกรม Appserv โปรแกรม Appserv สามารถดาวนโหลดไดจาก www.nectec.or.th/download/appserv-win32-2.4.1.exe โดยเวอรชั่นที่ขอแนะนําเปนเวอรชั่น 2.4.1 เมื่อดาวนโหลดเรียบรอยแลวใหดับเบิลคลิก แสดงขอความตอนรับคุณเขาสูการติดตั้งโปรแรกม Appserv นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช นายวุฒิชัย สุขเกษม
  • 6. เลือกไดรฟ/โฟลเดอร ถือวาเปน Root Directory Administrator’s Email Address ระบุอีเมลของผูดูแล Server Name: กรณีที่เปนเครื่องทดสอบ ใช localhost แตเครื่อง Server จริง ใหระบุ IP Address ของ Server นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช นายวุฒิชัย สุขเกษม
  • 7. การเขารหัสอักขระ กรณี ภาษาไทยใหเลือกเปน TIS620 ระบุ User Name, Password ของผูดูแลระบบ Server และฐานขอมูล MySQL Character set คืออะไร • คอมพิวเตอรเก็บขอมูลโดยรหัสดิจิทัล 0 กับ 1 - รหัส 1 ตัว เรียกวาเปน 1 bit - รหัส 8 bit เรียกวาเปน 1 byte • ผูที่คิดคนคอมพิวเตอรในยุคแรกๆ นั้นเปนผูที่ใชภาษาอังกฤษ จึงคิดคนระบบการเก็บขอมูล โดยใชรหัสยาว 7 บิต (ASCII) สามารถเก็บอักขระตางๆ ได แตกตางกันทั้งหมด 27 ตัว = 128 ตัว นับวาเพียงพอสําหรับการใชงานทั่วไป เชน - ตัวอักษร A จะตรงกับรหัส ASCII 65 เขียนเปนเลขฐาน 2 เรียงกัน 7 ตัว ดังนี้ 100 0001 • ตอมาคอมพิวเตอรไดแพรหลายไปยังประเทศที่ไมไดใชแคภาษาอังกฤษ ไดมีวิธีการแกไข แบบเฉพาะหนา โดยการเพิ่มความยาวของรหัสที่เก็บจาก 7 ตัว ใหเปน 8 ตัว สามารถเก็บ อักษรไดทั้งหมดเปน 28 = 256 ตัว • ประเทศตางๆ สามารถใชสวนที่เกินมาอีก 128 ตัวนั้น ใชเก็บรหัสอักขระเพิ่มเติม ที่เปน เฉพาะของภาษาตนเอง เชน - รหัส 228 จะเปนตัว a umlaut คือ a แลวมีจุดอยูขางบน 2 จุด ใชกันในภาษาเยอรมัน - ประเทศไทยเก็บรหัสไมมลาย "ไ" ไวที่รหัสหมายเลข 228 เปนตน • ดังที่กลาวมาแลวนั้น เราจําเปนตองมีตารางที่จะแสดงวา หมายเลขอะไร หมายถึงตัวอักษร อะไร ตารางนี้ ก็จะแตกตางกันไปในแตละภาษา ซึ่งมีอักขระซึ่งตางๆ กัน นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช นายวุฒิชัย สุขเกษม
  • 8. • ดูๆ ไปแลว ก็ยังไมเห็นวาจะมีปญหาอะไร ตราบใดที่ในเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชงานมี 2 ภาษา เชน ภาษาไทย กับ ภาษาอังกฤษ ถาทานไดรับรหัสมามีคา 228 ก็สรุปไดเลยวาผูสงตองการจะ สงไมมลาย มา • แตหากทานตองการจะสงขอมูล ไปยังเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องอื่น หรือเปด Web Site ให ผูคนจากทั่วโลกเขามาดู ที่ไมไดใชภาษาไทย อยูดวย ผูคนเหลานั้น จะเขาใจไดอยางไรวา ทานตองการสง ไมมลาย ซึ่งเปนอักขระหนึ่งของภาษาไทย? • ถาคนเยอรมันไดรับรหัสนั้น ยอมตองแปลความหมายของรหัส 228 ที่ทาน สงไปวาเปน อักขระ a umlaut ที่พวกเขาใชกัน? เขาควรจะรูไดอยางไรวา เขาควรจะหยิบตารางที่ใชแปลง คารหัสเปนภาษาไทย แทนที่จะใชตารางของภาษาเยอรมัน? • วิธีแกปญหานั้นก็งายดาย เพียงแตระบุ ใหชัดเจนวา Server หรือระบบของเราใชรหัสใด เรียกวา Character set Tis - 620/Windown - 874 • windows-874 เปน character set ที่ใชภายในระบบปฏิบัติการที่ผลิตโดยบริษัท ไมโครซอฟต เทานั้น ไมไดเปน character set ที่ใชในการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางเครื่อง มีสวนขยายเพื่อ  การแสดงผล เชน bullet, smart quote, dash ฯลฯ • tis-620 เปน character set ที่จดทะเบียน ถูกตอง เปนที่รับรูกันทั่วโลก ทุกระบบปฏิบัติการ (แมแตระบบปฏิบติการของไมโครซอฟตเอง) ั นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช นายวุฒิชัย สุขเกษม
  • 9. ติดตั้งเสร็จเรียบรอย เมื่อติดตั้งเสร็จแลวใหทดสอบการทํางานของ Appserv วาทํางานไดหรือไม ใหเปดเบราวเซอร แลว พิมพ http://127.0.0.1/ ที่ชอง Address การติดตังโปรแกรม Appserv สําเร็จและสามารถใชงานได ้ การติดตั้ง Moodle สามารถดาวนโหลดโปรแกรม Moodle ไดท่ี http://moodle.org เมื่อดาวนโหลดเรียบรอยแลว ตอมาก็ สรางโฟลเดอร ไวภายใต path ดังนี้ “C:AppServwwwชื่อโฟลเดอรของเรา” จากนั้นจะตองแตกไฟลที่ดาวน โหลดมาลงในโฟลเดอรที่สรางขึ้น เมื่อไดแตกไฟลไวในโฟลเดอร แลวก็ตองมาสรางฐานขอมูลใหกับโปรแกรม Moodle กอนเนื่องจาก เปนกฏในการติดตั้งโปรแกรม Moodle • เปดเบราวเซอรขึ้นมาพิมพ http://127.0.0.1 • คลิกเลือกรายการ phpMyAdmin Database Manager เวอรชั่น 2.6.0-rc1 นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช นายวุฒิชัย สุขเกษม
  • 10. • เขาสูหนาจอ phpMyAdmin ใสชื่อฐานขอมูล • พิมพชื่อฐานขอมูลสําหรับ Moodle ในรายการ “สรางฐานขอมูลใหม” แลวคลิกปุมสราง - ระบบ Moodle แตละระบบ (ใน Server เดียวกัน) หามตั้งชื่อไฟลฐานขอมูลซ้ํากัน - ควรเปนชื่อเดียวกับโฟลเดอร • ปดเว็บเบราวเซอร • แกไขคา Memory จากไฟล c:windowsphp.ini เปดไฟล c:windowsphp.ini ดวย NotePad คนหาบรรทัด memory_limit เปลี่ยนคาตัวเลขให สูงขึ้น เชน 20M บันทึกและปดไฟล สาเหตุที่ตองแกไขเนื่องจากเพื่อใหการทํางานของระบบเร็ว  ขึ้น สามารถแกไขเพิ่มไดแลวแตคุณสมบัติของเครื่องแตละเครื่อง • Restart AppServe โดย - คลิกเลือก Start, Program, AppServ, Apache Control Server, Restart นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช นายวุฒิชัย สุขเกษม
  • 11. • ติดตั้ง Moodle โดยเปดเว็บเบราวเซอรพิมพ http://127.0.0.1/ชื่อโฟลเดอร เลือกภาษาที่ใชในการติดตั้ง เลือกภาษาในการติดตั้ง คลิกปุม Next โปรแกรม Moodle ตรวจสอบคา ตางๆ ที่จําเปนในการตดตั้ง ตรวจสอบการติดตัง PHP คลิกปุมตอไป ้ URL ที่ใชเรียกระบบ สถานที่เก็บไฟล และ ระบบ Moodle สถานที่เก็บขอมูลตางๆ ที่ ไดเพิ่มเขาไปในระบบ ยืนยันที่ตั้งของการติดตั้ง Moodle คลิกปุมตอไป User และรหัสผานใน การเขาใชงาน mysql นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช นายวุฒิชัย สุขเกษม
  • 12. ตั้งคาในการติดตอฐานขอมูล คลิกปุมตอไป ตั้งคาตางๆ เสร็จเรียบรอย โดยเก็บไวในไฟล config.php คลิกปุมขั้นตอไป ขอตกลงในการใชงานโปรแกรม Moodle หากยอมรับคลิกใช ติดตั้งฐานขอมูล คลิกปุมขั้นตอไป นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช นายวุฒิชัย สุขเกษม
  • 13. เวอรชั่นที่ใชงานเปนเวอรชั่นอะไร คลิกปุมขั้นตอไป รายละเอียดตางๆ ของเวอรชั่นที่ใชงานอยูวามีอะไรบาง คลิกปุมขั้นตอไป เลือกภาษาไทย แกไขคาตัวแปรตางๆ เมื่อแกไขเสร็จแลว คลิกปุมบันทึกการเปลี่ยนแปลง นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช นายวุฒิชัย สุขเกษม
  • 14. ระบบจะติดตั้งตาราง Database ที่โปรแกรม Moodle จําเปนตองใชงาน • ขั้นตอนตอจากนี้ไปจะเปนการติดตั้งฐานขอมูลเปนสวนใหญ ใหทําตามที่ระบบบอก • การตั้งคาเว็บไซต - ชื่อเต็มเว็บไซต คือ ชื่อที่แสดงบน Title Bar เพื่อแสดงชื่อของเว็บไซต - ชื่อยอเว็บไซต คือ ชื่อที่แสดงถึงหนาแรกของเว็บไซตนี้ - รายละเอียดหนาแรก คือ รายละเอียดที่แสดงตรงมุมขวาของหนาเว็บ เพื่อแสดงขอความ ตอนรับผูเขาเยี่ยมชมเว็บไซต นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช นายวุฒิชัย สุขเกษม
  • 15. - รูปแบบหนาแรกของเว็บ คือ รูปแบบที่ทางเว็บตองการใหแสดงจะมีอยู 4 รูปแบบใหเลือกโดย จะแสดงอยูบริเวณตรงกลางหนาเว็บไซต ไดแก แสดงขาว แสดงรายวิชา แสดงประเภท แสดง HTML หรือ กิจกรรม • เมื่อไดติดตั้งโปรแกรมมาถึงขั้นตอนนี้ โปรแกรมจะใหตั้งคา user และ password ของผูดูแลระบบ ซึ่ง user อันนี้นั้นสําคัญมา เปน user ที่ควบคุมระบบทั้งหมด รวมทั้งขอมูลรายละเอียดของผูแล ระบบสามารถที่จะแกไขเปลี่ยนแปลงได หากกรอกไมคบระบบจะแจงเตือนเปนขอความสีแดงให ทําตามที่ระบบบอก • เมื่อไดใส user และ password เรียบรอยแลว ก็เปนอันเสร็จสิ้นการติดตั้งโปรแกรม Moodle จะได หนาจอนี้ ชื่อเว็บไซต นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช นายวุฒิชัย สุขเกษม
  • 16. ขอความตอนรับ รูปแบบหนาแรกของ เว็บ ในที่นี้เลือกเปน แบบรายวิชา • หากไมพอใจขอความตอนรับหรือชื่อเว็บไซต ก็สามารถที่จะเปลี่ยนแปลงขอความไดตอนรับหรือ ชื่อเว็บไซตได แตตอง login เพื่อเขาสูระบบกอนในฐานะผูดูแลระบบ ฉบับนี้คงขอจบที่การติดตั้งโปรแกรมเพียงเทานี้กอนนะครับ ฉบับหนาจะมาดูวิธีการใชงานโปรแกรม Moodle กันวาโปรแกรม Moodle มีความสามารถอะไรบาง และการสรางวิชาขึ้นมา จนถึงการติดตามผลการเรียน ของผูเรียน หรือหากมีเนื้อหาอยูแลวสามารถนําเขาสูระบบไดอยางไร มีวิธีการใดบางจะสะดวกงายดายเพียงใด มาติดตามกันตอในฉบับหนานะครับ นายบุญเกียรติ เจตจํานงนุช นายวุฒิชัย สุขเกษม