SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 139
Descargar para leer sin conexión
การจัดทารายการเอกสารอ้างอิง

      สรุปความจากบัณฑิตวิทยาลัย
       มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                2546
เนื้อหา
 บทนา
 ความหมาย
 ปัญหา
 วัตถุประสงค์/ความสาคัญของการอ้างอิง
 มาตรฐานการอ้างอิง
 วิธีการเขียนอ้างอิง
 วิธีการเขียนอ้างอิงตามบัณฑิตวิทยาลัย
  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
 คาย่อที่ใช้ในการเขียนเอกสารและสิ่งอ้างอิง
บทนา
 การพัฒนาผลงานทางวิชาการโดยเฉพาะเกี่ยวการศึกษา
  การค้นหาความจริง หรือหาคาตอบจากการศึกษางานวิจัย
  ต่างๆ จะต้องอาศัยองค์ความรู้ที่ได้จากเอกสารที่ผู้เขียนได้
  ศึกษามาอย่างดีแล้ว
 การค้นคว้าหาความรู้จากเอกสาร สื่อต่างๆ ที่เป็นองค์ความรู้
  ช่วยให้ผู้ศึกษาได้นาแนวความคิด ทฤษฎี หลักการไปใช้
  อ้างอิง (Reference) เพือให้เกิดประโยชน์ในการพัฒนาทาง
                         ่
  วิชาการให้มองค์ความรู้ทกว้างขวางขึ้น
               ี           ี่
บทนา
 เอกสารอ้างอิงเป็นข้อมูลยืนยันแนวคิดของผู้ศึกษา ว่ามี
  ความน่าเชื่อถือ
 ทาให้การเขียนรายงานวิจัยมีน้าหนักว่ามีความเป็นไปได้โดย
  มีแนวคิด ทฤษฎีรองรับ และเกิดความน่าเชื่อถือว่าผู้ศึกษาได้
  ศึกษาค้นคว้ามาอย่างดีแล้ว ทาให้ผลงานได้รับการยอมรับ
  จากการหาคาตอบในการทาวิจัย หรือการศึกษารายงานใน
  การพัฒนางานวิชาการของตนเอง
ความหมายการอ้างอิง
 การบอกรายละเอียดของแหล่งสารนิเทศที่ใช้อ้างอิงใน
 การศึกษา ค้นคว้า ซึ่งนาเสนอในรูปของรายงาน ภาคนิพนธ์
 วิทยานิพนธ์ บทความ หนังสือวิชาการ และรายงานการวิจัย
ปัญหา
 การทาเอกสารวิจัยต่างๆ เป็นการนาแนวคิด องค์ความรู้จาก
  แหล่งต่างๆ ที่มีอยู่ มาประยุกต์ ปรับใช้งาน
 ก่อเกิดปัญหาการละเมิดลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์
  พ.ศ. 2537

  ภายใต้บังคับบทบัญญัติในวรรคหนึ่ง การกระทาอย่างใดอย่างหนึ่งแก่งาน อันมีลิขสิทธิ์ตามวรรคหนึ่ง
                      มิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ถ้าได้กระทาดังต่อไปนี้
                      (1) วิจัยหรือศึกษางานนั้น อันมิใช่การกระทาเพื่อหากาไร
    (2) ทาซ้า ดัดแปลง นาออกแสดง หรือทาให้ปรากฏโดยผู้สอน เพื่อประโยชน์ ในการสอนของตน
                                    อันมิใช่การกระทาเพื่อหากาไร
วัตถุประสงค์/ความสาคัญของการอ้างอิง
 เพื่อให้เอกสารวิจัยมีน้าหนักและได้รับความน่าเชื่อถือมาก
    ยิ่งขึ้น
   เพื่อให้ผู้อ่านที่สนใจเรื่องใดเรื่องหนึ่งสามารถค้นหา
    รายละเอียดจากเอกสารต้นฉบับได้
   กรณีทอ้างอิงผลงานวิจัย ผู้อ่านจะได้ทราบว่ามีใครทาวิจัย
             ี่
    เรื่องใดไว้บ้างสามารถค้นคว้าเพิ่มเติมได้
   เพื่อเป็นการประกาศคุณประการและเป็นการเผยแพร่ชื่อเสียง
                               ู
    แก่เจ้าของผลงานที่นามาอ้าง
   ผู้เขียนได้แสดงออกถึงความเป็นนักวิชาการทีมีจรรยาบรรณ
                                                   ่
    ของการใช้ผลงานผู้อื่น
มาตรฐานการอ้างอิง
 มาตรฐาน MLA (Modern Language Association)
   นิยมใช้กันมากในสาขามนุษยศาสตร์
   ให้ความสาคัญกับรายการชื่อเรื่อง
 มาตรฐาน APA (The American Psychological
 Association)
   นิยมใช้กันมากในสาขาสังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และอื่นๆ
    ที่เกี่ยวข้อง
   ให้ความสาคัญกับความทันสมัยของสารนิเทศ (ปีที่พิมพ์)
วิธีการเขียนอ้างอิง
 ส่วนเนื้อหา
   การอ้างอิงแทรกในเนื้อหา
   การอ้างอิงแบบเชิงอรรถ (Footnote)
   การอ้างอิงอยู่ท้ายบท เรียงตามลาดับการอ้างอิง
 ส่วนท้ายเล่ม
การอ้างอิงแทรกในเนื้อหา
 การอ้างอิงแทรกในเนื้อหา
 เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าการอ้างอิงระบบนาม-ปี หรือระบบ APA
  (American Psychological Association)
 เป็นรูปแบบการอ้างอิงที่มีความนิยมมากในปัจจุบัน
การอ้างอิงแบบเชิงอรรถ
 หมายถึง การอ้างอิงที่อยู่ตอนล่างของหน้า หรือที่เรียกว่า
  แบบระบุตัวเลข
 เมื่อต้องการอ้างอิงเอกสารใดก็ใส่หมายเลขไว้ท้ายข้อความ
  จะอ้างอิง โดยใส่เลขอารบิค ในลักษณะตัวยก (Superscript)
  เหนือข้อความที่อ้าง
 ส่วนรายละเอียดของหลักฐานจะปรากฏอยู่ตอนล่างของหน้า
  ถ้าหากมีการอ้างอิงในหน้าใดก็จะต้องปรากฏรายละเอียดของ
  หลักฐานในหน้านั้นๆ เมื่อขึ้นหน้าใหม่ตัวเลขลาดับการอ้างอิง
  ก็จะเริ่มที่ 1 ใหม่
การอ้างอิงท้ายบท
 มีลักษณะเดียวกับการอ้างอิงเชิงอรรถ แต่เป็นวิธีที่สะดวกกว่า
  เนื่องจากไม่ต้องมาพะวงการกระระยะเนื้อที่ของแต่ละหน้า
  ของบทนิพนธ์ เพื่อเผื่อการเขียนอ้างอิงแบบเชิงอรรถ
 เป็นการยกการอ้างอิงทั้งหมดไปอยู่รวมกันในหน้าสุดท้าย
  ของแต่ละบท
การอ้างอิงท้ายเล่ม
 การทาบรรณานุกรม (Bibliography)
 บัณฑิตวิทยาลัยใช้คาว่า “เอกสารและสิ่งอ้างอิง”
 การรวบรวมรายละเอียดทางบรรณานุกรมของเอกสารที่ใช้
  อ้างอิงไว้ท้ายเล่มเอกสาร เพื่อจะช่วยให้ผู้อ่านสามารถ
  ติดตามค้นคว้าหาเอกสารต้นฉบับศึกษาเพิ่มเติมได้
วิธีการเขียนอ้างอิง ตามข้อกาหนด
บัณฑิตวิทยาลัย
 การอ้างอิงในตัวเรื่องวิทยานิพนธ์
 การอ้างอิงแบบเชิงอรรถ
 การอ้างอิงแบบคัดลอกข้อความ
 การอ้างอิงในรายการเอกสารและสิงอ้างอิง
                               ่
การอ้างอิงในตัวเรื่องวิทยานิพนธ์
 การอ้างอิงเอกสารทั้งเอกสารโดยรวม
 การอ้างอิงเอกสารเฉพาะบางหน้าของเอกสาร
 การอ้างอิงข้อมูลในตารางและภาพ
การอ้างอิงเอกสารทั้งเอกสารโดยรวม
 เป็นการสรุปแนวคิดจากเอกสารทั้งเล่ม หรือทั้งเรื่อง


        ผู้แต่งคนเดียว                 ผู้แต่งเป็นสถาบัน
  อ้างอิงซ้าในย่อหน้าเดียวกัน      เอกสารหลายเรื่อง 1 ผู้แต่ง
         ผู้แต่งสองคน           หลายเรื่องหลายผู้แต่ง (หลายชุด)
         ผู้แต่งสามคน                ไม่ปรากฏนามผู้แต่ง
     ผู้แต่งมากกว่าสามคน         ผู้แต่งเป็นบรรณาธิการ/ผู้แปล
การอ้างอิงเอกสารทั้งเอกสารโดยรวม
 เป็นการสรุปแนวคิดจากเอกสารทั้งเล่ม หรือทั้งเรื่อง

         บทวิจารณ์                 หนังสือพิมพ์
     การอ้างอิงสองทอด           อื่นๆ ที่ไม่ใช่เอกสาร
    ส่วนหนึ่งของบทความ        การสื่อสารระหว่างบุคคล
  เอกสารไม่ปรากฏปีที่พิมพ์
การอ้างอิงเอกสารหนึ่งเรื่องที่มีผู้แต่งคนเดียว
รูปแบบที่ 1
 ระบุทั้งนามผูแต่งและปีที่พิมพ์ในวงเล็บ
               ้
   เอกสารภาษาไทย ระบุเฉพาะนาม
   เอกสารภาษาอังกฤษ ระบุเฉพาะนามสกุล
   ปีที่พิมพ์ให้ใช้ ค.ศ. หรือปีตามรูปแบบจริง ตามที่ปรากฏในเอกสาร
 คั่นด้วยเครื่องหมาย จุลภาค ระหว่างนามกับปีที่พิมพ์
                 (นาม, ปีที่พมพ์)
                             ิ
การอ้างอิงเอกสารหนึ่งเรื่องที่มีผู้แต่งคนเดียว
รูปแบบที่ 1
         รายได้ต่อคนในสาขาเกษตรจะต่ากว่าสาขาอื่นที่มิใช่การเกษตรอยู่
ระหว่างหกถึงเก้าเท่า เหตุผลสาคัญคือมูลค่าผลผลิตไม่ได้เพิ่มมาก ขณะที่
จานวนประชากรหรือแรงงานในสาขาเกษตรเพิ่มขึ้นตลอดเวลา (สมนึก,
2530)
         Factors contributing to increased preharvest losses are
continued planting of nonresistant varieties, planting of modern
varieties with a small genetic base for resistance to certain pest
species, continuous year-round planting, and overdependence on
pesticides (Oka, 1982)
การอ้างอิงเอกสารหนึ่งเรื่องที่มีผู้แต่งคนเดียว
รูปแบบที่ 2
 ระบุนามผู้แต่งไว้นอกวงเล็บ
    เอกสารภาษาไทย ระบุเฉพาะนาม
    เอกสารภาษาอังกฤษ ระบุเฉพาะนามสกุล
 ระบุปีที่พิมพ์ในวงเล็บ
 มักใช้ในกรณีใช้นามผู้แต่งนาเนื้อหาอ้างอิง
การอ้างอิงเอกสารหนึ่งเรื่องที่มีผู้แต่งคนเดียว
รูปแบบที่ 2
          สมนึก (2530) กล่าวไว้วา รายได้ต่อคนในสาขาเกษตรจะต่ากว่า
                                 ่
สาขาอื่นที่มิใช่การเกษตรอยู่ระหว่างหกถึงเก้าเท่า เหตุผลสาคัญคือมูลค่า
ผลผลิตไม่ได้เพิ่มมาก ขณะที่จานวนประชากรหรือแรงงานในสาขาเกษตร
เพิ่มขึ้นตลอดเวลา
           Oka (1982) pointed out that factors contributing to
increased preharvest losses are continued planting of
nonresistant varieties, planting of modern varieties with a small
genetic base for resistance to certain pest species, continuous
year-round planting, and overdependence on pesticides
การอ้างอิงเอกสารหนึ่งเรื่องที่มีผู้แต่งคนเดียว
รูปแบบที่ 3
 ระบุนามผู้แต่ง และปีที่พิมพ์ไว้นอกวงเล็บ
   เอกสารภาษาไทย ระบุเฉพาะนาม
   เอกสารภาษาอังกฤษ ระบุเฉพาะนามสกุล
 มีรูปแบบ
              ใน ปี พ.ศ. ที่พมพ์ นาม
                               ิ
  หรือ        In ปี ค.ศ. ทีพมพ์, นาม
                           ่ ิ
 มักใช้ในกรณีใช้นามผู้แต่งนาเนื้อหาอ้างอิง
การอ้างอิงเอกสารหนึ่งเรื่องที่มีผู้แต่งคนเดียว
รูปแบบที่ 3
         ใน พ.ศ. 2530 สมนึก กล่าวไว้วา รายได้ต่อคนในสาขาเกษตรจะต่า
                                      ่
กว่าสาขาอื่นทีมิใช่การเกษตรอยู่ระหว่างหกถึงเก้าเท่า เหตุผลสาคัญคือ
              ่
มูลค่าผลผลิตไม่ได้เพิ่มมาก ขณะที่จานวนประชากรหรือแรงงานในสาขา
เกษตรเพิ่มขึ้นตลอดเวลา
          In 1982, Oka pointed out that factors contributing to
increased preharvest losses are continued planting of
nonresistant varieties, planting of modern varieties with a small
genetic base for resistance to certain pest species, continuous
year-round planting, and overdependence on pesticides
การอ้างอิงซ้ากันในย่อหน้าเดียวกัน
 ไม่ต้องระบุปีที่พิมพ์ในการอ้างอิงครั้งที่ 2 เป็นต้นไป


         สมนึก (2530) กล่าวไว้ว่า รายได้ต่อคน ......... นอกจากนีสมนึก
                                                                ้
  ยังให้เหตุผลอืนๆ ..........
                ่
         Oka (1982) pointed out that factors…….. Oka also
  suggested that ….......
การอ้างอิงเอกสารหนึ่งเรื่องที่มีผแต่ง 2 คน
                                 ู้
 ระบุนามผู้แต่งหลักตามหลักเกณฑ์ผู้แต่งคนเดียวทั้ง 2 คน โดยใช้คา
  “และ” หรือ “and” คั่นระหว่างนามผู้แต่ง (ไม่ต้องมีเครื่องหมาย จุลภาค
  คั่น)
  ....................... (เมธี และปราณี, 2538)
  ........................(Crosson and Resenberg, 1989)
  เมธี และปราณี (2538) ได้เสนอแนะว่า ...............................
  Crosson and Resenberg (1989) concluded that …………
  ใน พ.ศ. 2538 เมธี และปราณี ได้เสนอแนะว่า ...............................
  In 1989, Crosson and Resenberg concluded that …………
การอ้างอิงเอกสารหนึ่งเรื่องที่มีผแต่ง 3 คน
                                 ู้
 ระบุนามผู้แต่งหลักตามหลักเกณฑ์ผู้แต่งคนเดียวทั้ง 3 คน
  ในการอ้างอิงครั้งแรก
   ใช้เครื่องหมาย จุลภาค คั่นระหว่างนามคนที่หนึ่งและคนทีสอง
                                                         ่
   ใช้คา “และ” หรือ “and” คั่นระหว่างนามผู้แต่งคนทีสอง และคนทีสาม
                                                    ่          ่
 ในการอ้างอิงครั้งถัดไป ให้ระบุนามผู้แต่งคนแรก ต่อด้วย
  “และคณะ” สาหรับเอกสารภาษาไทย หรือ “et at.” สาหรับ
  เอกสารภาษาต่างประเทศ โดยไม่ต้องมีเครื่องหมาย จุลภาค
  คั่น
การอ้างอิงเอกสารหนึ่งเรื่องที่มีผแต่ง 3 คน
                                 ู้
          ผ่องพรรณ, ประสงค์ และสันติ (2546) ได้วิเคราะห์.....
...............................................................................................
          .....
     ผ่องพรรณ และคณะ (2546) สรุปผลการประเมิน ............. ...............
นอกจากนี้ ผ่องพรรณ และคณะ ยังได้เสนอแนะ........
การอ้างอิงเอกสารหนึ่งเรื่องที่มีผแต่ง 3 คน
                                 ู้
          McCracken, Warmbrod and Miller (1998) suggested that ..... .........
............................... ................. ................ .........
       ............
    McCracken et al. (1998) found ……… McCracken et al. also found
…………………………………………………….
การอ้างอิงเอกสารหนึ่งเรื่องที่มีผแต่ง 3 คน
                                 ู้
 กรณีที่การอ้างอิงครั้งที่ 2 เป็นต้นไป การไม่ระบุนามผู้แต่งทุกคน แล้วทา
  ให้เกิดความสับสนระหว่างเอกสาร 2 เรื่อง ก็ให้ระบุนามผู้แต่งทุกคน
  ผ่องพรรณ, ประสงค์ และสันติ (2546) ......
  ผ่องพรรณ, ชีพสุมน และสันติ (2546) .....
  McCracken, Warmbrod and Miller (2000)
  McCracken, Newcomb and Warnbrod (2000)
การอ้างอิงเอกสารหนึ่งเรื่องที่มีผแต่ง
                                 ู้
มากกว่า 3 คน
 ให้ระบุนามผู้แต่งคนแรก ต่อด้วย “และคณะ” สาหรับเอกสารภาษาไทย
  หรือ “et at.” สาหรับเอกสารภาษาต่างประเทศ ด้วยหลักเกณฑ์การเขียน
  อ้างอิงผู้แต่งคนเดียว โดยไม่ต้องมีเครื่องหมาย จุลภาค คั่น
  ผ่องพรรณ และคณะ (2546) ......
  McCracken et al. (2000)
การอ้างอิงเอกสารหนึ่งเรื่องที่มีผู้แต่งมากกว่า 3
คน
 หากมีความสับสนในการระบุนามผู้แต่ง ระหว่างเอกสาร 2 เรื่อง ให้ระบุ
  นามผู้แต่งคนอืนเรื่อยๆ จนถึงนามที่ไม่ซ้ากัน
                ่
  ภาวิณ, ปราณี, ผ่องพรรณ และคณะ (2536)
        ี
  ภาวิณ, ปราณี, ยุพา และคณะ (2536)
          ี
  Redick, Gritzmacher, Laster et al. (1996)
  Redick, Gritzmacher, Bailey et al. (1996)
การอ้างอิงเอกสารที่ผู้แต่งเป็นสถาบัน
 ระบุชื่อเต็มของสถาบัน
  ธนาคารกรุงไทย จากัด (2542)
  (ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ, 2545)
  Ohio State University (1998)
  (Ohio State University, 1998)
การอ้างอิงเอกสารที่ผู้แต่งเป็นสถาบัน
 กรณีทสถาบันเป็นหน่วยงานของรัฐบาล ให้ระบุในระดับกรม หรือต่ากว่า
       ี่
  สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2542)
  (กรมชลประทาน, 2543)
  Office of Agricultural Economics (1999)
  (Royal Irrigation Department, 2000)
การอ้างอิงเอกสารที่ผู้แต่งเป็นสถาบัน
 กรณีทชื่อสถาบันยาว และมีชื่อย่อ การอ้างอิงครั้งแรกให้ระบุชื่อเต็ม และ
       ี่
  มีชื่อย่อในวงเล็บก้ามปู [ ]
 การอ้างอิงครั้งต่อๆ ไปให้ระบุชื่อย่อของสถาบันนั้นๆ
  (สานักงานการปฏิรูปทีดินเพื่อเกษตรกรรม [ส.ป.ก.], 2548)
                        ่
  (Food and Agriculture Organization [FAO], 1997)
  ………
  (ส.ป.ก., 2548)
  (FAO, 1997)
การอ้างอิงเอกสารหลายเรื่องที่มผู้แต่ง
                              ี
คนเดียวกัน
 กรณีปีที่พิมพ์ตางกัน
                 ่
    ระบุนามผู้แต่งครั้งเดียว แล้วระบุปีที่พิมพ์ตามลาดับ โดยใช้เครื่องหมาย
     จุลภาค คั่นระหว่างปี


         (ผ่องพรรณ, 2546, 2547)
         World Bank (1982, 1985, 1987)
การอ้างอิงเอกสารหลายเรื่องที่มผู้แต่ง
                              ี
คนเดียวกัน
 กรณีปีที่พิมพ์ซากัน
                 ้
    ใช้อักษร ก ข ค ... ตามหลังปีที่พิมพ์สาหรับเอกสารภาษาไทย
    ใช้อักษร a b c … ตามหลังปีที่พิมพ์สาหรับเอกสารภาษาต่างประเทศ
        (ผ่องพรรณ, 2546ก, 2546ข)
        World Bank (1982a, 1982b, 1982c)
การอ้างอิงเอกสารหลายเรื่องที่มีผู้แต่งหลายคน
(หลายชุด)
 ระบุนามผู้แต่งเรียงตามปีที่พิมพ์จากน้อยไปหามาก คั่นด้วยเครื่องหมาย ;
  (เมธี และปราณี, 2528; โสภิณ และคณะ, 2528; กรมชลประทาน,
  2533)
  (Oka, 1982; Vade et al., 1983; Crosson and Rosenberg, 1998)
การอ้างอิงเอกสารที่ไม่ปรากฏนามผู้
แต่ง
 ใช้คาว่า นิรนาม แทนนามผู้แต่งสาหรับเอกสาร
  ภาษาไทย
 ใช้คาว่า Anonymous แทนนามผูแต่งสาหรับเอกสาร
                             ้
  ภาษาต่างประเทศ

 (นิรนาม, 2541)
 (Anonymous, 1999)
การอ้างอิงเอกสารที่มีผู้ทาหน้าที่เป็นบรรณาธิการ
ผู้รวบรวม หรือผู้แปล
 ให้ระบุชื่อบรรณาธิการ ผู้รวบรวม หรือผู้แปล


  (สนิท, 2548)
  (Neuliep, 1998)
การอ้างอิงบทวิจารณ์
 ให้ระบุชื่อผู้วิจารณ์


  (ประเวศ, 2542)
  (Miller, 2001)
การอ้างอิงสองทอด
 ใช้ในกรณีที่ไม่สามารถหาเอกสารอ้างอิงต้นฉบับได้
 อ้างอิงได้ 2 รูปแบบ
   การอ้างอิงผู้เขียนที่นาผลงานผู้อื่นมาอ้างอิง
   การอ้างอิงโดยระบุผู้แต่งต้นฉบับ
การอ้างอิงสองทอด
การอ้างอิงผู้เขียนที่นาผลงานผู้อื่นมาอ้างอิง
   ระบุนามและปีที่พิมพ์ของเอกสารอันดับรอง ตามด้วย
     อ้างถึง                      กรณีเอกสารภาษาไทย
     cited                        กรณีเอกสารภาษาต่างประเทศ
   แล้วระบุนามและปีที่พิมพ์ของเอกสารต้นฉบับ
        (ผ่องพรรณ, 2543 อ้างถึง McCracken, 1996)
        (Cray, 1992 cited Campbell and Stanly, 1969)
การอ้างอิงสองทอด
การอ้างอิงโดยระบุผู้แต่งต้นฉบับ
   ระบุนามและปีที่พิมพ์ของเอกสารต้นฉบับ ตามด้วย
     อ้างถึงใน            กรณีเอกสารภาษาไทย
     cited in             กรณีเอกสารภาษาต่างประเทศ
   แล้วระบุนามและปีที่พิมพ์ของเอกสารอันดับรอง
       (McCracken, 1996 อ้างถึงใน ผ่องพรรณ, 2543)
       (Campbell and Stanly, 1969 cited in Cray, 1992)
การอ้างอิงส่วนหนึ่งของเอกสารรวมบทความ
หรือบทความในวารสาร
 ระบุนามผู้แต่ง หรือผู้เขียนเฉพาะส่วนที่ต้องการอ้างอิง
การอ้างอิงเอกสารที่ไม่ปรากฏปีทพิมพ์
                              ี่
 ในตาแหน่งปีที่พิมพ์ ให้ระบุ
   ม.ป.ป.            กรณีเอกสารภาษาไทย
   n.d.              กรณีเอกสารภาษาต่างประเทศ


  (กนกทิพย์, ม.ป.ป.)
  (Miller, n.d.)
การอ้างอิงหนังสือพิมพ์
กรณีอ้างข่าวทั่วไป
 ระบุชื่อหนังสือพิมพ์ และปีที่พิมพ์


  (ไทยรัฐ, 2546)
  (The Nation, 2003)
การอ้างอิงหนังสือพิมพ์
กรณีอ้างคอลัมน์หรือบทความในหนังสือพิมพ์ที่มีชื่อผู้เขียน
 ระบุชื่อผู้เขียน (ใช้ได้ทั้งนามจริงและนามแฝง) และปีที่พิมพ์


  (ประเวศ, 2546)
  (ซี.12, 2546)
  (Twain, 2003)
การอ้างอิงอื่นๆ ที่ไม่ใช่เอกสาร
 ใช้รูปแบบเดียวกับการอ้างอิงเอกสาร
  สไลด์                 (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2545)
  เทป                   (สมัคร, 2544)
  รายการวิทยุ           (ถนัดศรี, 2543)
  รายการโทรทัศน์        (เจิมศักดิ, 2545)
                                  ์
การอ้างอิงการสื่อสารระหว่างบุคคล
 การสื่อสารระหว่างบุคคล เช่น จดหมาย การสัมภาษณ์ โทรสาร โทรเลข
  e-Mail
 ให้ระบุด้วยนามตามด้วยปีที่สื่อสาร


  (ลดา, 2544)
  (Jackson, 2003)
การอ้างอิงเอกสารเฉพาะบางหน้าของ
เอกสาร
 ใช้หลักเกณฑ์การอ้างอิงเอกสารทั้งเอกสารโดยรวม โดยต้องระบุเลขหน้า
  ต่อจากปีที่พิมพ์ คั่นด้วยเครื่องหมายทวิภาค (:)

  (สมพร และคณะ, 2540: 50-54)
  (Babbie, 1998: 57)
การอ้างอิงข้อมูลในตารางและภาพ
 ระบุนามผู้ต่าง ปีทพิมพ์ และหน้าเอกสาร ไว้ใต้ตาราง
                    ี่
  และภาพ โดยขึนนาด้วยคาว่า ที่มา: หรือ Source:
              ้
 รูปแบบ        ที่มา: นาม (ปีที่พิมพ์: เลขหน้า)




 ที่มา: วิเวก (2528: 4)    Source: Marshall (1987: 4)
การอ้างอิงแบบเชิงอรรถ
 ใช้ในกรณีที่ผู้เขียนต้องการแยกข้อความออกจากเนื้อหาของวิทยานิพนธ์
  เพื่อป้องกันความสับสนแก่ผู้อาน
                               ่
 ปรากฏตอนล่างของหน้านั้นๆ
 มีเส้นคั่นระหว่างเนื้อหาของวิทยานิพนธ์และเชิงอรรถ
 เส้นคั่นเริ่มจากตัวอักษรตัวแรกด้านซ้ายของหน้าวิทยานิพนธ์ ไปทางด้าน
  ขวาของหน้า ยาวประมาณ 1/3 ของความกว้างของหน้ากระดาษ
การอ้างอิงแบบเชิงอรรถ
 ระยะระหว่างบรรทัดสุดท้ายของเนื้อหาวิทยานิพนธ์และเส้นคัน คือ 2
                                                        ่
  บรรทัดปกติ
 ระยะระหว่างเส้นคั่นกับรายการเชิงอรรถรายการแรก คือ 2 บรรทัดปกติ
 หมายเลขกากับเชิงอรรถ เริ่มจากเลข 1 ไปจนจบบทนั้นๆ
   กรณีที่เชิงอรรถน้อยกว่า 3 แห่งในบทเดียวกัน ใช้เครื่องหมาย * แทนได้
การอ้างอิงแบบเชิงอรรถ
 ตาแหน่งของหมายเลข หรือเครื่องหมายดอกจัน ต้องพิมพ์ต่อจาก
  ข้อความทีต้องการขยาย เป็นตัวยก (Superscript)
           ่
 เชิงอรรถแบ่งได้ 2 ประเภท
   เชิงอรรถแบบอธิบายเนื้อหาโดยผู้เขียนเอง
   เชิงอรรถแบบอธิบายเนื้อหาโดยผู้เขียนอ้างอิงเอกสาร
การอ้างอิงแบบเชิงอรรถ
       xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxx xxxx
xxxxxxxxxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxหมายเลขกากับเชิงอรรถแบบตัวยก xxx
xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx

หมายเลขกากับเชิงอรรถแบบตัวยก   รายละเอียดเนื้อหา (นามผู้แต่ง, ปีที่พมพ์: เลขหน้า)
                                                                    ิ
การอ้างอิงแบบเชิงอรรถ
            การที่จะทาภาวะสมดุล...... ............. .............. ......... .......
......................จานวนภาษีหรืออัตราภาษีที่เหมาะสมนั้น5 สามารถใช้เรียก
เก็บจากการใช้.....................................................

5อัตราภาษีที่เหมาะสมนี้ หมายถึง ภาษี...... ............. .......... ..... ....(สม
พร, 2533: 142)
การอ้างอิงแบบคัดลอกข้อความ
 เพิ่มพูนคุณค่าหรือน้าหนักของพยานหลักฐานที่นามาใช้สนับสนุน
  ข้อความในวิทยานิพนธ์
   ข้อความไม่เกิน 3 บรรทัด ให้พิมพ์ต่อไปในเนื้อความโดยไม่ต้องขึ้นบรรทัด
    ใหม่ และพิมพ์ในเครื่องหมายอัญประกาศ “..”
   ข้อความเกิน 3 บรรทัด ให้พิมพ์บรรทัดใหม่ พิมพ์ย่อหน้าเว้น 1 Tab ทุกบรรทัด
    กรณีที่มีย่อหน้าให้เพิ่มย่อหน้าได้อีก 3 ตัวอักษร
   การเว้นข้อความบางส่วน ใช้เครื่องหมายจุดสามจุด โดยเว้นระยะห่างกัน 1
    ตัวอักษร
การอ้างอิงแบบคัดลอกข้อความ
 การคัดลอกข้อความจากต้นฉบับโดยตรง
 การคัดลอกข้อความทางอ้อม
การอ้างอิงแบบคัดลอกข้อความ
การคัดลอกข้อความจากต้นฉบับโดยตรง
 ให้คดลอกข้อความมาโดยครบถ้วน
      ั
 สามารถละข้อความได้โดยใช้เครื่องหมายจุดสามจุด
   ตัวอย่างข้อความไม่เกิน 3 บรรทัด
   ตัวอย่างข้อความเกิน 3 บรรทัด
การอ้างอิงแบบคัดลอกข้อความ
       การสืบทอดทางภูมิปัญญาไทย โดยผ่านกระบวนการวิจัยจะเป็น
การแสวงหาองค์ความรู้ใหม่ ทีมีรากฐานทรัพยากรทางภูมิปัญญาที่มั่นคง
                           ่
ของไทย ดังคาอุปมาที่ว่า “การติดตา ต่อกิ่งยอดมะม่วง เกษตรผูชานาญ
                                                          ้
มักจะเลือกลาต้นที่มีรากแก้ว หรือรากเหง้าที่มั่นคงเป็นอันดับแรก เมื่อได้
รากเหง้าที่มั่นคงแล้ว สามารถต่อยอด ติดตา ขยายพันธุ์ใหม่ได้มากมาย
เปรียบเสมือนการสืบทอดภูมิปัญญา ฉันใดก็ฉนนั้น” (สามารถ, 2537: 89)
                                            ั
การอ้างอิงแบบคัดลอกข้อความ
       ความเป็นไปของโลกและชีวิตจึงพัฒนาเป็น
“ความเชื่อ” จึงเกิดระบบคุณค่าและการรับศาสนาเข้า
มาอยู่ในชุมชนพร้อมพิธีกรรมต่างๆ ดังที่ สุรเชษฐ์
(2534) อธิบายไว้ว่า
     . . . การผลิตมีความสัมพันธ์กับวัฒนธรรมการอยู่ร่วมกันอย่างแนบแน่น
     การเพาะปลูกพืชผลการเกษตร มีปัจจัยเกี่ยวกับดิน น้า และแรงงานมา
     เกี่ยวข้อง . . .
การอ้างอิงแบบคัดลอกข้อความ
การคัดลอกข้อความทางอ้อม
 เป็นการถอดข้อความจากภาษาเดิม
 ให้ระบุด้วยว่าแปลโดยผู้เขียน หรือผู้แปลใด
การอ้างอิงแบบคัดลอกข้อความ
        การที่จะเข้าใจหลักการและทฤษฏีทางเศรษฐศาสตร์
สิ่งแวดล้อมได้เป็นอย่างดีนั้น จาเป็นจะต้องทราบความหมาย
ของคาบางคาที่เกี่ยวข้อง เช่น นิเวศวิทยา ระบบนิเวศน์ ชีวาลัย
ซึ่งคาว่าชีวาลัยนี้หมายถึง
       โลก บรรยากาศทีห่อหุ้มโลก และสิ่งที่มชีวิตบนพื้นโลกทั้งหมด คา
                         ่                   ี
       ว่าชีวาลัยจึงเป็นคาที่กว้าง ครอบคลุมเฉพาะโลกเท่านั้นไม่รวมถึง
       ระบบอื่นๆ นอกโลก (Seneca and Taussig, 1979: 5 แปลโดย
       เรืองเดช, 2532)
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ 2537
 พระราชบัญญัตลขสิทธิพ.ศ. 2537 ภูมพลอดุลยเดช
              ิ ิ    ์            ิ
 ป.ร.ให้ไว้ ณ วันที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2537เป็นปีที่ 49 ใน
 รัชกาลปัจจุบัน
   บททั่วไป
   สิ่งที่ไม่ถือว่าเป็นงานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้
   การละเมิดลิขสิทธิ์
   ข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์




                                         ที่มา: http://www.kodmhai.com/m4/m4-16/H6/H-6.html
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ 2537
มาตรา 4
 “ลิขสิทธิ” หมายความว่า สิทธิแต่ผู้เดียวที่จะทาการใดๆ
           ์
  ตามพระราชบัญญัตินี้ เกี่ยวกับงานที่ผสร้างสรรค์ได้ทา
                                       ู้
  ขึ้น
 “ผูสร้างสรรค์” หมายความว่า ผู้ทาหรือผู้ก่อให้เกิดงาน
      ้
  สร้างสรรค์อย่างใด อย่างหนึ่งที่เป็นงานอันมีลิขสิทธิตาม
                                                     ์
  พระราชบัญญัตนี้ิ
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ 2537
 “วรรณกรรม” หมายความว่า งานนิพนธ์ที่ทาขึนทุกชนิด
                                         ้
  เช่น หนังสือ จุลสาร สิงเขียน สิงพิมพ์ ปาฐกถา เทศนา
                        ่        ่
  คาปราศรัย สุนทรพจน์ และให้หมายความรวมถึง
  โปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วย
 “นาฏกรรม” หมายความว่า งานเกียวกับการรา การเต้น
                                   ่
  การทาท่า หรือ การแสดงทีประกอบขึนเป็นเรืองราว และ
                             ่        ้     ่
  ให้หมายความรวมถึงการแสดงโดยวิธีใบ้ด้วย
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ 2537
   “ศิลปกรรม” หมายความว่า งานอันมีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดหรือ หลายอย่างดังต่อไปนี้
     (1) งานจิตรกรรม ได้แก่งานสร้างสรรค์รูปทรงที่ประกอบด้วยเส้น แสง สี หรือสิ่งอื่น อย่างใดอย่างหนึ่ง
       หรือหลายอย่างรวมกัน ลงบนวัสดุอย่างเดียว หรือหลายอย่าง
     (2) งานประติมากรรม ได้แก่งานสร้างสรรค์รูปทรงทีเกี่ยวกับปริมาตร ที่สมผัสและจับต้องได้
                                                     ่                  ั
     (3) งานภาพพิมพ์ ได้แก่งานสร้างสรรค์ภาพด้วยกรรมวิธีทางการพิมพ์ และหมายความรวมถึงแม่พิมพ์
       หรือแบบพิมพ์ทใช้ในการพิมพ์ด้วย
                       ี่
     (4) งานสถาปัตยกรรม ได้แก่งานออกแบบอาคารหรือสิงปลูกสร้าง งานออกแบบตกแต่งภายในหรือ
                                                         ่
       ภายนอก ตลอดจนบริเวณของอาคารหรือสิงปลูกสร้างหรือ การสร้างสรรค์หุ่นจาลองของอาคารหรือ
                                               ่
       สิ่งปลูกสร้าง
     (5) งานภาพถ่าย ได้แก่งานสร้างสรรค์ภาพที่เกิดจากการใช้เครืองมือ บันทึกภาพโดยให้แสงผ่านเลนซ์
                                                               ่
       ไปยังฟิล์มหรือกระจก และล้างด้วยน้ายาซึ่งมีสูตรเฉพาะ หรือด้วยกรรมวิธใด ๆ อันทาให้เกิดภาพขึน
                                                                           ี                      ้
       หรือการบันทึกภาพโดยเครื่องมือหรือวิธีการ อย่างอื่น
     (6) งานภาพประกอบ แผนที่ โครงสร้าง ภาพร่าง หรืองานสร้างสรรค์ รูปทรงสามมิติอันเกี่ยวกับ
       ภูมิศาสตร์ ภูมิประเทศ หรือวิทยาศาสตร์
     (7) งานศิลปประยุกต์ ได้แก่งานที่นาเอางานตาม (1) ถึง (6) อย่างใด อย่างหนึงหรือหลายอย่างรวมกัน
                                                                               ่
       ไปใช้ประโยชน์อย่างอื่น นอกเหนือจากการชื่นชมในคุณค่า ของตัวงานดังกล่าวนั้น เช่น นาไปใช้สอย
       นาไปตกแต่งวัสดุหรือสิ่งของอันเป็นเครืองใช้ หรือนาไปใช้เพือประโยชน์ทางการค้า
                                            ่                    ่
    ทั้งนี้ ไม่ว่างานตาม (1) ถึง (7) จะมีคณค่าทางศิลปะหรือไม่ และให้หมายความรวมถึง
                                          ุ
    ภาพถ่ายและแผนผังของงานดังกล่าวด้วย
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ 2537
 “ดนตรีกรรม” หมายความว่า งานเกี่ยวกับเพลงที่แต่งขึ้นเพื่อบรรเลง หรือ
  ขับร้องไม่ว่าจะมีทานองและคาร้องหรือมีทานองอย่างเดียว และให้
  หมายความรวมถึง โน้ตเพลงหรือแผนภูมิเพลงที่ได้แยกและเรียบเรียง
  เสียงประสานแล้ว
 “โสตทัศนวัสดุ” หมายความว่า งานอันประกอบด้วยลาดับของภาพโดย
  บันทึก ลงในวัสดุไม่ว่าจะมีลักษณะอย่างใด อันสามารถที่จะนามาเล่นซ้า
  ได้อีก โดยใช้เครื่องมือ ที่จาเป็นสาหรับการใช้วสดุนั้น และให้หมายความ
                                                ั
  รวมถึงเสียงประกอบงานนั้นด้วย ถ้ามี
 “ภาพยนตร์” หมายความว่า โสตทัศนวัสดุอันประกอบด้วยลาดับของภาพ
  ซึ่งสามารถนาออกฉายต่อเนื่องได้อย่างภาพยนตร์หรือสามารถบันทึกลง
  บนวัสดุอื่น เพื่อนาออก ฉายต่อเนื่องได้อย่างภาพยนตร์ และให้
  หมายความรวมถึงเสียงประกอบภาพยนตร์นั้นด้วย ถ้ามี
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ 2537
 “สิ่งบันทึกเสียง” หมายความว่า งานอันประกอบด้วย
  ลาดับของเสียงดนตรี เสียงการแสดง หรือเสียงอื่น
  ใด โดยบันทึกลงในวัสดุไม่ว่าจะมีลักษณะใดๆ อัน
  สามารถที่จะ นามาเล่นซ้าได้อีกโดยใช้เครื่องมือที่
  จาเป็นสาหรับการใช้วัสดุนั้น แต่ทั้งนี้มิให้หมายความ
  รวมถึงเสียงประกอบภาพยนตร์หรือเสียงประกอบ
  โสตทัศนวัสดุอย่างอื่น
 “นักแสดง” หมายความว่า ผู้แสดง นักดนตรี นักร้อง
  นักเต้น นักรา และผู้ซึ่ง แสดงท่าทาง ร้อง กล่าว
  พากย์ แสดงตามบทหรือในลักษณะอื่นใด
 “งานแพร่เสียงแพร่ภาพ” หมายความว่า งานที่นา
  ออกสู่สาธารณชนโดย การแพร่เสียงทาง
  วิทยุกระจายเสียง การแพร่เสียงและหรือภาพทาง
  วิทยุโทรทัศน์หรือ โดยวิธีอย่างอื่นอันคล้ายคลึงกัน
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ 2537
 “ทาซ้า” หมายความรวมถึง คัดลอกไม่ว่าโดยวิธีใดๆ
 เลียนแบบ ทาสาเนา ทาแม่พิมพ์ บันทึกเสียง บันทึกภาพ
 หรือบันทึกเสียงและภาพ จากต้นฉบับ จากสาเนา หรือจาก
 การโฆษณาในส่วนอันเป็นสาระสาคัญ ทั้งนี้ ไม่ว่าทั้งหมด
 หรือบางส่วน สาหรับ ในส่วนที่เกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 ให้หมายความถึง คัดลอกหรือทาสาเนา โปรแกรม
 คอมพิวเตอร์จากสื่อบันทึกใด ไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ ในส่วนอันเป็น
 สาระสาคัญ โดยไม่มีลักษณะเป็นการจัดทางานขึ้นใหม่ ทั้งนี้
 ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ 2537
 “ดัดแปลง” หมายความว่า ทาซ้าโดยเปลี่ยนรูปใหม่ ปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติม หรือ
  จาลองงานต้นฉบับในส่วนอันเป็นสาระสาคัญโดยไม่มีลักษณะเป็นการจัดทางาน
  ขึ้นใหม่ ทั้งนี้ ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน
   (1) ในส่วนที่เกี่ยวกับวรรณกรรม ให้หมายความรวมถึง แปลวรรณกรรม เปลี่ยนรูป
     วรรณกรรมหรือรวบรวมวรรณกรรมโดยคัดเลือกและจัดลาดับใหม่
   (2) ในส่วนที่เกี่ยวกับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ให้หมายความรวมถึง ทาซ้า โดยเปลี่ยนรูป
     ใหม่ ปรับปรุง แก้ไขเพิ่มเติมโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในส่วนอันเป็นสาระสาคัญ โดยไม่มี
     ลักษณะเป็นการจัดทาขึ้นใหม่
   (3) ในส่วนที่เกี่ยวกับนาฏกรรม ให้หมายความรวมถึง เปลี่ยนงานที่มิใช่ นาฏกรรมให้เป็น
     นาฏกรรม หรือเปลี่ยนนาฏกรรมให้เป็นงานที่มิใช่นาฏกรรม ทั้งนี้ ไม่ว่า ในภาษาเดิมหรือ
     ต่างภาษากัน
   (4) ในส่วนที่เกี่ยวกับศิลปกรรม ให้หมายความรวมถึง เปลี่ยนงานที่เป็น รูปสองมิติหรือสาม
     มิติ ให้เป็นรูปสามมิติหรือสองมิติ หรือทาหุ่นจาลองจากงานต้นฉบับ
   (5) ในส่วนที่เกี่ยวกับดนตรีกรรม ให้หมายความรวมถึง จัดลาดับเรียบเรียง เสียงประสาน
     หรือเปลี่ยนคาร้องหรือทานองใหม่
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ 2537
 “เผยแพร่ต่อสาธารณชน” หมายความว่า ทาให้ปรากฏต่อสาธารณชน
  โดยการแสดง การบรรยาย การสวด การบรรเลง การทาให้ปรากฏด้วย
  เสียงและ หรือภาพ การก่อสร้าง การจาหน่าย หรือโดยวิธีอนใดซึ่งงานที่
                                                      ื่
  ได้จดทาขึ้น
      ั
 “การโฆษณา” หมายความว่า การนาสาเนาจาลองของงานไม่ว่าในรูป
  หรือลักษณะอย่างใดที่ทาขึ้นโดยความยินยอมของผู้สร้างสรรค์
  ออกจาหน่าย โดยสาเนา จาลองนั้นมีปรากฏต่อสาธารณชนเป็นจานวน
  มากพอสมควรตามสภาพของงานนั้น แต่ทั้งนี้ไม่หมายความรวมถึง การ
  แสดงหรือการทาให้ปรากฏซึงนาฏกรรม ดนตรีกรรม หรือภาพยนตร์ การ
                            ่
  บรรยายหรือการปาฐกถา ซึ่งวรรณกรรม การแพร่เสียงแพร่ภาพ เกี่ยวกับ
  งานใด การนาศิลปกรรมออกแสดงและการก่อสร้างงานสถาปัตยกรรม
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ 2537
มาตรา 6
 งานอันมีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัตินี้ ได้แก่งานสร้างสรรค์ ประเภท
  วรรณกรรม นาฏกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทัศนวัสดุ ภาพยนตร์ สิ่ง
  บันทึกเสียง งานแพร่เสียงแพร่ภาพ หรืองานอื่นใดในแผนกวรรณคดี
  แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ ของผูสร้างสรรค์ไม่ว่างานดังกล่าว
                                           ้
  จะแสดงออกโดยวิธหรือรูปแบบอย่างใด
                     ี
 การคุ้มครองลิขสิทธิ์ไม่คลุมถึงความคิด หรือขันตอน กรรมวิธหรือระบบ
                                              ้             ี
  หรือวิธีใช้หรือทางาน หรือแนวความคิด หลักการ การค้นพบ หรือทฤษฎี
  ทางวิทยาศาสตร์ หรือคณิตศาสตร์
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ 2537
มาตรา 7
 สิ่งต่อไปนี้ไม่ถือว่าเป็นงานอันมีลิขสิทธิตามพระราชบัญญัตินี้
                                           ์
   (1) ข่าวประจาวัน และข้อเท็จจริงต่าง ๆ ที่มีลักษณะเป็นเพียงข่าวสาร อันมิใช่
     งานในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยาศาสตร์ หรือแผนกศิลปะ
   (2) รัฐธรรมนูญ และกฎหมาย
   (3) ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คาสั่ง คาชี้แจง และหนังสือโต้ตอบ ของ
     กระทรวง ทบวง กรม หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือของท้องถิ่น
   (4) คาพิพากษา คาสั่ง คาวินิจฉัย และรายงานของทางราชการ
   (5) คาแปลและการรวบรวมสิ่งต่างๆ ตาม (1) ถึง (4) ที่กระทรวง ทบวง กรม
     หรือหน่วยงานอื่นใดของรัฐหรือของท้องถิ่นจัดทาขึ้น
การละเมิดลิขสิทธิ์
มาตรา 27
 การกระทาอย่างใดอย่างหนึ่งแก่งานอันมีลิขสิทธิตาม ์
  พระราชบัญญัตินี้ โดยไม่ได้รับอนุญาตตาม มาตรา 15 (5)
  ให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ถ้าได้กระทา ดังต่อไปนี้
  (1) ทาซ้าหรือดัดแปลง
  (2) เผยแพร่ต่อสาธารณชน
ข้อยกเว้นการละเมิดลิขสิทธิ์
มาตรา 32
 การกระทาแก่งานอันมีลิขสิทธิ์ของบุคคลอื่นตามพระราชบัญญัตินี้ หากไม่ขัดต่อการ
  แสวงหาประโยชน์จากงานอันมีลิขสิทธิ์ตามปกติของเจ้าของลิขสิทธิ์และไม่กระทบกระเทือน
  ถึงสิทธิอันชอบด้วยกฎหมายของเจ้าของลิขสิทธิ์เกินสมควร มิให้ถือว่า เป็นการละเมิด
  ลิขสิทธิ์
 ภายใต้บังคับบทบัญญัติในวรรคหนึ่ง การกระทาอย่างใดอย่างหนึ่งแก่งาน อันมีลิขสิทธิ์ตาม
  วรรคหนึ่งมิให้ถือว่าเป็นการละเมิดลิขสิทธิ์ ถ้าได้กระทาดังต่อไปนี้
    (1)     วิจัยหรือศึกษางานนั้น อันมิใช่การกระทาเพือหากาไร
                                                     ่
    (2)     ใช้เพื่อประโยชน์ของตนเอง หรือเพือประโยชน์ของตนเองและบุคคลอื่น ในครอบครัวหรือญาติ
                                              ่
      สนิท
    (3)     ติชม วิจารณ์ หรือแนะนาผลงานโดยมีการรับรู้ถึงความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์ ในงานนั้น
    (4)     เสนอรายงานข่าวทางสื่อสารมวลชนโดยมีการรับรู้ถึงความเป็นเจ้าของ ลิขสิทธิในงานนัน
                                                                                     ์     ้
    (5)     ทาซ้า ดัดแปลง นาออกแสดง หรือทาให้ปรากฏ เพื่อประโยชน์ในการ พิจารณาของศาลหรือเจ้า
      พนักงานซึ่งมีอานาจตามกฎหมาย หรือในการรายงานผลการ พิจารณาดังกล่าว
    (6)     ทาซ้า ดัดแปลง นาออกแสดง หรือทาให้ปรากฏโดยผู้สอน เพือประโยชน์ ในการสอนของตน
                                                                    ่
      อันมิใช่การกระทาเพื่อหากาไร
    (7)     ทาซ้า ดัดแปลงบางส่วนของงาน หรือตัดทอนหรือทาบทสรุปโดยผู้สอน หรือสถาบันศึกษา เพื่อ
      แจกจ่ายหรือจาหน่ายแก่ผู้เรียนในชั้นเรียนหรือในสถาบันศึกษา ทังนี้ ต้องไม่เป็นการกระทาเพื่อหา
                                                                  ้
      กาไร
    (8)     นางานนั้นมาใช้เป็นส่วนหนึ่งในการถามและตอบในการสอบ
การเขียนรายการเอกสารและสิ่งอ้างอิง

การย่อหน้า เว้นบรรทัด เว้นวรรค        จานวนเล่ม
         การเรียงลาดับ                ครั้งที่พิมพ์
       การพิมพ์ชื่อผู้แต่ง            สถานที่พิมพ์
           ปีที่พิมพ์                 สานักพิมพ์
การพิมพ์ชื่อเอกสารและสิ่งอ้างอิง   รูปแบบและตัวอย่าง
การเขียนรายการเอกสารและสิ่งอ้างอิง
 การย่อหน้า การเว้นระยะบรรทัด การเว้นระยะพิมพ์
   บรรทัดแรกของเอกสารอ้างอิง อักษรตัวแรกห่างจากริมกระดาษ
    ด้านซ้าย 1 tab key บรรทัดที่ 2 และบรรทัดต่อไป ให้ย่อหน้าโดยเว้น
    อีก 1 tab
   เมื่อหมดเอกสารและสิ่งอ้างอิงแต่ละเรื่องให้เว้น 2 บรรทัดพิมพ์ และ
    ขึ้นเอกสารและสิ่งอ้างอิงเรื่องต่อไป
การเขียนรายการเอกสารและสิ่งอ้างอิง
 การย่อหน้า การเว้นระยะบรรทัด การเว้นระยะพิมพ์
   การพิมพ์ให้ถือหลักการเว้นระยะหลังเครื่องหมายวรรคตอน ดังนี้
     หลังเครื่องหมายทวิภาค (:)        เว้น 1 ระยะพิมพ์
     หลังเครื่องหมายอัฒภาค (;)        เว้น 1 ระยะพิมพ์
     หลังเครื่องหมายจุลภาค (,)        เว้น 1 ระยะพิมพ์
     หลังเครื่องหมายมหัพภาค (.)       เว้น 2 ระยะพิมพ์
                                       (ยกเว้นหลังอักษรย่อเว้น 1 ระยะพิมพ์)
     หน้าเครื่องหมายไม่ต้องเว้นระยะพิมพ์
การเขียนรายการเอกสารและสิ่งอ้างอิง
 การเรียงลาดับ
   เรียงลาดับตามอักษรตัวแรกที่ปรากฏ ไม่ว่ารายการนั้นจะ
    ขึ้นต้นด้วย ชื่อผู้แต่ง ชื่อบทความ ชือเรื่อง หรือชื่อ
                                         ่
    เอกสารอ้างอิง ให้เริ่มด้วยแหล่งอ้างอิงภาษาไทยจนหมด
    ก่อนจึงตามด้วยเอกสารอ้างอิงภาษาต่างประเทศ
   ตัวอย่าง
    นิศา ชูโต
    มติชน.
    มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
    American Psychological Association.
    Rogers, E. M.
การเขียนรายการเอกสารและสิ่งอ้างอิง
 การเรียงลาดับ
   กรณีผู้แต่งคนแรกเหมือนกัน
     ให้เรียงรายการที่มีผู้แต่งคนเดียวก่อนรายการผู้แต่งหลายคน
     ให้เรียงตามลาดับอักษรผู้แต่งคนต่อไป
     ให้ระบุชื่อผู้แต่งทุกคน
การเขียนรายการเอกสารและสิ่งอ้างอิง
 วิธีเรียงลาดับปี เอกสารและสิ่งอ้างอิงหลายเรื่องที่มีผู้แต่งคนเดียวหรือ
  คณะเดียวกันให้เรียงลาดับตามปีของเอกสาร
 ตัวอย่าง
   มติชน. 2545.
   _____. 2546.
   ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล. 2542.
   _____. 2543.
การเขียนรายการเอกสารและสิ่งอ้างอิง
 วิธีเรียงลาดับปี ในกรณีเอกสารอ้างอิงหลายเรื่อง
  โดยผู้แต่งคนเดียวกันหรือคณะเดียวกันภายในปี
  เดียวกัน ใส่อักษร ก ข....ไว้หลังปีของเอกสารและ
  สิ่งอ้างอิงภาษาไทย และ a b ….สาหรับ
  ภาษาอังกฤษ
 ตัวอย่าง
  บุณเรียง ขจรศิลป์. 2530ก.
  ______. 2530ข.
  Fiske, S . T. and S.E. taylor. 1984a.
  ______. 1984b.
การเขียนรายการเอกสารและสิ่งอ้างอิง
 กรณีเอกสารและสิ่งอ้างอิงหลายเรื่อง ผู้แต่งคนเดียวหรือ
  คณะเดียวกัน เมื่อพิมพ์เรียงลาดับในรายการเอกสารอ้างอิง
  ไม่ต้องพิมพ์ชื่อผู้แต่งซ้า โดยขีดเส้น 1 เส้น ยาวขนาด 5
  ตัวอักษร แทนการพิมพ์ชอผู้แต่งที่ซ้ากัน
                             ื่
 ตัวอย่าง
  Johnson, D. W.
  _____.
  Johnson, D. W. and R. Johnson.
  _____.
การเขียนรายการเอกสารและสิ่งอ้างอิง
 การพิมพ์ชื่อผู้แต่ง - ผู้แต่งที่เป็นบุคคล
 ผู้แต่ง 1 คน ภาษาไทยให้ขึ้นต้นด้วยชือ ตามด้วยนามสกุล กรณีที่มี
                                      ่
  ฐานันดรศักดิ์ (เช่น ม.จ.ม.ร.ว. และ ม.ล.) บรรดาศักดิ์ (เช่น พระยา) ยศ
  (เช่น พลเอก) ตามที่ระบุไว้ในเอกสารต้นฉบับ ให้ใส่ไว้หลังชื่อ ส่วน
  ตาแหน่งทางวิชาการ ชื่อปริญญาไม่ต้องระบุ สาหรับสมณศักดิ์ให้ใช้
  ตามที่ระบุในเอกสาร
 เอกสารและสิ่งอ้างอิงภาษาต่างประเทศ ให้ขนต้นด้วยนามสกุล คั่นด้วย
                                             ึ้
  จุลภาค (,) และตามด้วยตัวอักษรตัวแรกของชื่อต้น ชือกลาง
                                                    ่
การเขียนรายการเอกสารและสิ่งอ้างอิง
 การพิมพ์ชอผู้แต่ง - ผูแต่งที่เป็นบุคคล
           ื่           ้
  พระธรรมปิฎก
  วสิษฎ์ เดชกุญชร, พล.ต.อ.
  คึกฤทธิ์ ประโมช, ม.ร.ว.
  สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์
  Skinner, B. F.
การเขียนรายการเอกสารและสิ่งอ้างอิง
 การพิมพ์ชื่อผู้แต่ง – ผู้แต่งที่เป็นบุคคล
 ผู้แต่ง 2 – 3 คน ให้ลงชื่อผู้แต่งทุกคน โดยใช้จุลภาค (,) คันและใช้คาว่า
                                                            ่
  และ หรือ and ก่อนผู้แต่งคนสุดท้าย
   ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกุล, นิตยา เงินประเสริฐศรี, และ G. Trebuil.
   Schiffman, L. G. and L. L. Kanuk.
การเขียนรายการเอกสารและสิ่งอ้างอิง
 การพิมพ์ชื่อผู้แต่ง – ผู้แต่งที่เป็นบุคคล
 ผู้แต่งมากกว่า 3 คน อาจเลือกแบบใดแบบหนึ่ง ดังนี้
   ระบุผู้แต่งทุกคน
   ระบุเฉพาะผู้แต่งคนแรก ตามด้วยคา และคณะ ในเอกสารภาษาไทย
     หรือ et al. ในเอกสารภาษาอังกฤษ
การเขียนรายการเอกสารและสิ่งอ้างอิง
 การพิมพ์ชื่อผู้แต่ง – ผู้แต่งเป็นสถาบัน
 ให้ลงชื่อเต็มของสถาบัน โดยเรียงลาดับหน่วยงาน
  ย่อยก่อนหน่วยงานใหญ่ถ้าสถาบันนั้นเป็นหน่วยงาน
  รัฐบาล การระบุชื่อควรเริ่มต้นตั้งแต่กรม
 ตัวอย่าง
  กรมวิชาการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
  บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
  ธนาคารแห่งประเทศไทย.
  สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.
การเขียนรายการเอกสารและสิ่งอ้างอิง
 การพิมพ์ชื่อผู้แต่ง – ไม่ปรากฏชื่อผูแต่ง
                                      ้
 ให้ระบุ นิรนาม กรณีเอกสารภาษาไทย
 ให้ระบุ Anonymous กรณีเอกสารภาษาต่างประเทศ
 ตัวอย่าง
  นิรนาม.
  Anonymous.
การเขียนรายการเอกสารและสิ่งอ้างอิง
 การพิมพ์ชื่อผู้แต่ง – นามแฝง
 เอกสารและสิ่งอ้างอิงที่ผู้แต่งใช้นามแฝง ให้ใส่นามแฝงนั้น
  ในตาแหน่งผู้แต่ง ตามด้วยคา (นามแฝง) หรือ (pseud.) ใน
  เอกสารภาษาอังกฤษ
 ตัวอย่าง
  น.ม.ส. (นามแฝง)
  Rose (pseud.)
การเขียนรายการเอกสารและสิ่งอ้างอิง
 ปีที่พิมพ์
 ปีที่พิมพ์ของหนังสือจะปรากฏที่หน้าปกใน หรือหน้าหลังของ
  ปกใน ถ้าไม่มีให้ใช้ปีที่พิมพ์อยู่กับโรงพิมพ์ หรือปีที่พิมพ์ทอยู่
                                                              ี่
  หน้าคานา
 กรณีไม่ปรากฏปีที่พิมพ์ ให้ระบุด้วยอักษรย่อ ม.ป.ป. สาหรับ
  เอกสารภาษาไทย หรือ n.d. ในเอกสารภาษาอังกฤษ
 ตัวอย่าง
  นิธิ เอี่ยวศรีวงศ์. ม.ป.ป.
  Burns, R. B. n.d.
การเขียนรายการเอกสารและสิ่งอ้างอิง
 การพิมพ์ชื่อเอกสารและสิงอ้างอิง่
   การพิมพ์ชื่อเอกสารและสิ่งอ้างอิง เช่น ชื่อหนังสือ ชื่อวิทยานิพนธ์ ชื่อ
    หนังสือพิมพ์ ให้พิมพ์ตัวตรงเข้ม ชื่อวิทยาศาสตร์ให้ตัวเอน
   การพิมพ์ชื่อหนังสือและสิ่งอ้างอิงภาษาต่างประเทศ ให้ขึ้นต้น
    ตัวอักษรแรกของทุกคาด้วยตัวอักษรพิมพ์ใหญ่ ยกเว้น คานาหน้านาม
    บุพบท สันธาน แต่ถ้าคานานาม บุพบท และสันธานเป็นคาแรกของชื่อ
    ก็ให้ขึ้นต้นด้วยตัวพิมพ์ใหญ่
การเขียนรายการเอกสารและสิ่งอ้างอิง
 การพิมพ์ชื่อเอกสารและสิงอ้างอิง่
   การพิมพ์ชื่อบทความในวารสารภาษาต่างประเทศ ให้ขึ้นต้นตัวอักษร
    แรกของคาแรกด้วยตัวพิมพ์ใหญ่เพียงตัวเดียว คาอื่นๆ นอกนั้นใช้ตัว
    เล็กหมด ยกเว้นคาเฉพาะซึ่งจาเป็น ต้องขึ้นต้นตัวอักษรตัวแรกด้วย
    ตัวพิมพ์ใหญ่อยู่แล้ว ส่วนชื่อวารสารให้ขึ้นต้นตัวอักษรแรกของคาด้วย
    ตัวพิมพ์ใหญ่ ยกเว้นคานาหน้าคานาม บุพบท สันธาน แต่ถ้าคาเหล่านี้
    เป็นคาแรกของชื่อวารสารก็ให้ขึ้นต้นด้วยตัวพิมพ์ใหญ่
การเขียนรายการเอกสารและสิ่งอ้างอิง
 จานวนเล่ม
 หนังสือที่ผู้พิมพ์แยกรูปเล่มออกเป็น 2 เล่มหรือ
 มากกว่านั้น ถ้าใช้อ้างอิงในวิทยานิพนธ์หมดทุกเล่ม
 ให้ระบุจานวนเล่มทั้งหมดไว้ด้วย เช่น
  3 เล่ม.
  3 Vols.
 แต่ถ้าอ้างถึงเฉพาะเล่มใดเล่มหนึ่ง ให้ระบุแต่เล่มที่
 อ้างถึงเช่น
  เล่ม 3.
  Vol. 3.
การเขียนรายการเอกสารและสิ่งอ้างอิง
 ครั้งที่พิมพ์
 หนังสือเล่มที่ใช้อ้างอิงหากมีการพิมพ์หลายครั้ง
  ต้องระบุครั้งที่พิมพ์ด้วย เช่น
  พิมพ์ครั้งที่ 2
  2nd ed.
  พิมพ์แก้ไขครั้งที่ 4
  4th rev. ed.
 สาหรับหนังสือที่พิมพ์ครั้งแรก ไม่ต้องระบุครั้งที่
  พิมพ์
การเขียนรายการเอกสารและสิ่งอ้างอิง
 สถานที่พมพ์
          ิ
 ให้ระบุสถานที่พิมพ์ ตามที่ปรากฏในเอกสารหรือสิงอ้างอิง
                                               ่
  นั้นๆ
 ถ้าปรากฏชือเมืองหลายเมือง ให้ระบุเมืองแรกชื่อเดียวเท่านั้น
            ่
 กรณีไม่ปรากฏสถานทีพิมพ์ ให้ระบุตวอักษรย่อว่า ม.ป.ท.
                     ่            ั
  หรือ n.p.
การเขียนรายการเอกสารและสิ่งอ้างอิง
 สานักพิมพ์
 ให้ระบุชื่อสานักพิมพ์ตามที่ปรากฏในเอกสารและสิงอ้างอิง
                                               ่
  นั้นๆ ถ้าไม่มจึงใส่ชื่อโรงพิมพ์แทน
               ี
 กรณีไม่ปรากฏสานักพิมพ์ ให้ระบุด้วยอักษรย่อว่า ม.ป.ท.
  หรือ n.p.
 หากไม่ปรากฏทั้งเมืองที่พิมพ์และสานักพิมพ์ให้ระบุ ม.ป.ท.
  หรือ n.p. เพียงครั้งเดียว
รูปแบบและตัวอย่างการพิมพ์เอกสาร
   และสิ่งอ้างอิง

         หนังสือทั่วไป                 บทความในสารานุกรม
         หนังสือแปล                 บทความในหนังสือพิมพ์หรือนิตยสาร

บทความในหนังสือที่ไม่มีบรรณาธิการ   บทวิจารณ์หนังสือในวารสาร
บทความในหนังสือที่มีบรรณาธิการ               วิทยานิพนธ์
     บทความในวารสาร                            จุลสาร
รูปแบบและตัวอย่างการพิมพ์เอกสาร
    และสิ่งอ้างอิง


   เอกสารที่ยังไม่ได้ตีพิมพ์                หนังสือพิมพ์
เอกสารอัดสาเนาและเอกสารที่ไม่ตพมพ์อื่นๆ
                              ี ิ         การอ้างอิงสองทอด
              รายงาน                       โสตทัศนวัสดุ
           หนังสือรายปี                      แฟ้มข้อมูล
       ราชกิจจานุเบกษา                      อินเทอร์เน็ต
รูปแบบและตัวอย่างการพิมพ์เอกสาร
  และสิ่งอ้างอิง


                      ฮิจเราะห์ศักราช
    เอกสารหลายเรื่องของผู้แต่งคณะเดียวกันในปีเดียวกัน
เอกสารหลายเรื่องของผู้แต่งต่างคณะทีมีผู้แต่งคนแรกเหมือนกัน
                                   ่
                        หมายเหตุ
หนังสือทั่วไป
 รูปแบบ
  ผู้แต่ง. ปีทพิมพ์. ชื่อหนังสือ. ครั้งที่พิมพ์(ถ้ามี). สถานที่พมพ์:
              ี่                                                ิ
     สานักพิมพ์.
 ตัวอย่าง
  คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. 2537. “การศึกษาการสืบทอดและการ
     เสริมสร้างวัฒนธรรม”. การศึกษากับการถ่ายทอดวัฒนธรรม: กรณี
     หนังใหญ่วดขนอน. กรุงเทพฯ: บณิย์การพิมพ์
               ั
  สมบูรณ์ ไพรินทร์. ม.ป.ป. บันทึกเหตุการณ์ทางการเมืองตั้งแต่ 24
     มิถุนายน 2575-2576 ธันวาคม 2515. 2 เล่ม. ม.ป.ท.
หนังสือแปล
 รูปแบบ
    ผู้แปล. ปีที่พิมพ์. ชื่อหนังสือ. สถานที่พิมพ์: สานักพิมพ์. แปลจาก
        (translated from) ผู้แต่ง. ปีที่พิมพ์. ชื่อหนังสือ. สถานที่พิมพ์:
        สานักพิมพ์.
 ตัวอย่าง
   ส. วาสนา ประวาลพฤกษ์. 2538. นักวางแผนวิจัยปฏิบัติการ.
      กรุงเทพมหานคร: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. แปลจาก
      S. Kemmis and R. McTaggart. (Eds.). 1988 The Action
      Research Planner. Australia: Deakin University.
บทความในหนังสือที่ไม่มบรรณาธิการ
                        ี
หรือมีผู้เขียนคนเดียวกันตลอด
   รูปแบบ
     ผู้เขียนบทความ. ปีที่พิมพ์. ชื่อบทความ. ชื่อเอกสาร. จานวนเล่ม (ถ้ามี).
         ครั้งที่พิมพ์(ถ้ามี). สถานที่พิมพ์, เลขหน้า.
   ตัวอย่าง
     ธวัชชัย ยงกิตติกุล. 2533 การเตรียมคนสาหรับระบบเศรษฐกิจไทยใน
        อนาคต. รวมบทความการศึกษานอกโรงเรียน. เล่ม 9. กรุงเทพมหานคร:
        โรงพิมพ์การศาสนา, หน้า 131-137.
บทความในหนังสือที่มี
บรรณาธิการหรือผู้รวบรวม
 รูปแบบ
    ผู้เขียนบทความ. ปีที่พิมพ์. ชื่อบทความ. ใน (in) ชื่อบรรณาธิการ.
        ชื่อหนังสือ. จานวนเล่ม(ถ้ามี). สถานทีพิมพ์: สานักพิมพ์, เลข
                                             ่
        หน้า.
 ตัวอย่าง
   ณรงค์ชัย อัครเศรณี. 2524. กลยุทธ์ในการระดมเงินทุนจาก
      ต่างประเทศ. ในลือชัย จุลาสัย และมิ่งสรรพ์ สันติกาญจน์.
      (บรรณาธิการ). เศรษฐกิจไทย: อดีตและอนาคต. กรุงเทพฯ:
      บางกอกการพิมพ์, หน้า 273-293.
บทความในวารสาร
 รูปแบบ
    ผู้เขียนบทความ. ปีที่พิมพ์. ชื่อบทความ. ชื่อวารสาร ปีที่ (ฉบับที่
        ถ้ามี): เลขหน้า.
 ตัวอย่าง
   พรพรรณ สุทธิเรืองวงศ์. 2546. บทบาทผู้นาของเกษตรหมู่บ้านเพื่อ
      เพิ่มศักยภาพของชุมชนด้านการเกษตร. วิทยาสารเกษตรศาสตร์
      24(1) : 28-40.
บทความในวารสาร
 ในกรณีที่บทความไม่จบในฉบับ และยังมีพิมพ์ต่อในฉบับ
  ต่อๆไป ให้ใช้เครื่องหมายอัฒภาค (;) คั่น แล้วใส่ฉบับที่
  ของวารสารฉบับต่อไป คั่นด้วยเครื่องหมายทวิภาค (:)
  พร้อมกากับเลขหน้า ทาเช่นนี้เรื่อยๆ จนกว่าบทความนั้นจะ
  จบบริบูรณ์จึงใส่เครื่องหมายมหัพภาค (.)
 ตัวอย่าง
    สมชัย ฤชุพันธ์. 2519. หลักการในการจัดเก็บภาษีมรดกและภาษี
      การให้. สรรพากรสาส์น 23(3): 13-23; (4): 37-53.
บทความในสารานุกรม
 รูปแบบ
   ผู้เขียนบทความ. ปีทพิมพ์. ชื่อบทความ. ชื่อสารานุกรม
                         ี่
       เล่มที่: เลขหน้า.
 ตัวอย่าง
   วรศักดิ์ เพียรชอบ. 2529-2530. ฟุตบอล. สารานุกรม
     ไทยฉบับราชบัณฑิตตยสถาน. 21: 13739-13745.
บทความในหนังสือพิมพ์หรือนิตยสาร
 รูปแบบ
    ผู้เขียนบทความ. ปีที่พิมพ์. ชื่อบทความ. ชื่อหนังสือพิมพ์หรือ
        นิตยสาร (วัน เดือน ปี): เลขหน้า.
 ตัวอย่าง
   พชร สินสวัสดิ. 2536. การปรับกลยุทธ์เพื่อดึงดูดนักลงทุนไม่หนี
                ์
      ไทย. สยามรัฐ (4 กรกฎาคม 2536): 7.
Reference
Reference
Reference
Reference
Reference
Reference
Reference
Reference
Reference
Reference
Reference
Reference
Reference
Reference
Reference
Reference
Reference
Reference
Reference
Reference
Reference
Reference
Reference
Reference
Reference
Reference
Reference
Reference
Reference
Reference

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
Biobiome
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
Tikaben Phutako
 
หนังสือเชิญ สัมมนา
หนังสือเชิญ สัมมนาหนังสือเชิญ สัมมนา
หนังสือเชิญ สัมมนา
Bundit Umaharakham
 
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
Aroonswat
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
weerawato
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
Pazalulla Ing Chelsea
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
Jariya Jaiyot
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
สมศรี หอมเนียม
 
นาโนเทคโนโลยีในธรรมชาติ
นาโนเทคโนโลยีในธรรมชาตินาโนเทคโนโลยีในธรรมชาติ
นาโนเทคโนโลยีในธรรมชาติ
lamphoei
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
Wann Rattiya
 

La actualidad más candente (20)

เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
 
Science
ScienceScience
Science
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
 
หนังสือเชิญ สัมมนา
หนังสือเชิญ สัมมนาหนังสือเชิญ สัมมนา
หนังสือเชิญ สัมมนา
 
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ความเจริญก้าวหน้าวิทยาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
 
เครื่องหมายวรรคตอน
เครื่องหมายวรรคตอนเครื่องหมายวรรคตอน
เครื่องหมายวรรคตอน
 
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
เฉลย07สมดลกล
เฉลย07สมดลกลเฉลย07สมดลกล
เฉลย07สมดลกล
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
นาโนเทคโนโลยีในธรรมชาติ
นาโนเทคโนโลยีในธรรมชาตินาโนเทคโนโลยีในธรรมชาติ
นาโนเทคโนโลยีในธรรมชาติ
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
 

Destacado

การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdateการเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
nonny_taneo
 
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือการเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
usaneetoi
 
เอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิงเอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิง
codexstudio
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
Aekapoj Poosathan
 
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรงานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
sukanya56106930005
 
Asean national flowers
Asean national flowersAsean national flowers
Asean national flowers
Tew Nararit
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
Nattakorn Sunkdon
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
krupornpana55
 
โครงงานคอมพิวเตอร์สื่อการสอน เรื่อง ดอกไม้ประจำชาติในอาเซียน
โครงงานคอมพิวเตอร์สื่อการสอน เรื่อง ดอกไม้ประจำชาติในอาเซียน โครงงานคอมพิวเตอร์สื่อการสอน เรื่อง ดอกไม้ประจำชาติในอาเซียน
โครงงานคอมพิวเตอร์สื่อการสอน เรื่อง ดอกไม้ประจำชาติในอาเซียน
Ge Ar
 

Destacado (20)

การเขียนบทความทางวิชาการ
การเขียนบทความทางวิชาการการเขียนบทความทางวิชาการ
การเขียนบทความทางวิชาการ
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdateการเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
 
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือการเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการ
 
เอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิงเอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิง
 
การเขียนรายงานโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
การเขียนรายงานโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจการเขียนรายงานโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
การเขียนรายงานโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
 
เอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรม
เอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรมเอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรม
เอกสารแนะนำการเขียนบรรณานุกรม
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
การเขียนบทความวิจัย2559 1
การเขียนบทความวิจัย2559 1การเขียนบทความวิจัย2559 1
การเขียนบทความวิจัย2559 1
 
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กรงานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
งานส่ง อ ลัดดาวัลย์ นางสาวสุกัญญา ทฤษฎีวัฒนธรรมองค์กร
 
พรบ. ลิขสิทธิ์พ.ศ.2537 และสาระสำคัญ
พรบ. ลิขสิทธิ์พ.ศ.2537 และสาระสำคัญพรบ. ลิขสิทธิ์พ.ศ.2537 และสาระสำคัญ
พรบ. ลิขสิทธิ์พ.ศ.2537 และสาระสำคัญ
 
Asean national flowers
Asean national flowersAsean national flowers
Asean national flowers
 
stks-introduction
stks-introductionstks-introduction
stks-introduction
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์สื่อการสอน เรื่อง ดอกไม้ประจำชาติในอาเซียน
โครงงานคอมพิวเตอร์สื่อการสอน เรื่อง ดอกไม้ประจำชาติในอาเซียน โครงงานคอมพิวเตอร์สื่อการสอน เรื่อง ดอกไม้ประจำชาติในอาเซียน
โครงงานคอมพิวเตอร์สื่อการสอน เรื่อง ดอกไม้ประจำชาติในอาเซียน
 
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
 
20170213 digital-archives
20170213 digital-archives20170213 digital-archives
20170213 digital-archives
 

Similar a Reference

พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)
Srion Janeprapapong
 
การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม
การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรมการเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม
การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม
thanapat yeekhaday
 

Similar a Reference (20)

Reference
ReferenceReference
Reference
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
อ้างอิง
อ้างอิงอ้างอิง
อ้างอิง
 
อ้างอิง
อ้างอิงอ้างอิง
อ้างอิง
 
อ้างอิง
อ้างอิงอ้างอิง
อ้างอิง
 
อ้างอิง
อ้างอิงอ้างอิง
อ้างอิง
 
Reference
ReferenceReference
Reference
 
Reference
ReferenceReference
Reference
 
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
การเขียนรายการอ้างอิง ม.4 2560
 
Reference resources
Reference resources Reference resources
Reference resources
 
วิจัย
วิจัย วิจัย
วิจัย
 
Bibliography language
Bibliography languageBibliography language
Bibliography language
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)
 
พจนานุกรม
พจนานุกรมพจนานุกรม
พจนานุกรม
 
Bliography
BliographyBliography
Bliography
 
หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์
หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์ หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์
หลักเกณฑ์การเสนอบทความเพื่อตีพิมพ์ในวารสารศิลปศาสตร์
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..
 
บทความอ้า..
บทความอ้า..บทความอ้า..
บทความอ้า..
 
การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม
การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรมการเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม
การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรม
 
Citation Search
Citation SearchCitation Search
Citation Search
 

Más de Boonlert Aroonpiboon

Más de Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 

Reference