SlideShare a Scribd company logo
1 of 164
Download to read offline
ส�ำนักบริหำรงำนกำรมัธยมศึกษำตอนปลำย
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน
กระทรวงศึกษำธิกำร

WORLD-CLASS STANDARD SCHOOL

แนวทางการจัดการเรียนการสอน
ในโรงเรียนมาตรฐานสากล
ฉบับปรับปรุง
แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุง
ปีที่พิมพ์	
จ�ำนวนพิมพ์	
ลิขสิทธิ์เป็นของ	
	
	
ISBN	
พิมพ์ที่	
	
	
	

พ.ศ. 2555
10,000 เล่ม
ส�ำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
978-616-202-678-2	
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกัด
79 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
โทร. 0-2561-4567 โทรสาร 0-2579-5101
นายโชคดี ออสุวรรณ ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา
สารจากเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

	
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ก�ำหนดนโยบายให้โรงเรียนมาตรฐานสากล
(World-Class Standard School) เป็นนวัตกรรมการจัดการศึกษาที่ใช้เป็นยุทธศาสตร์ในการขับเคลือน
่
การพัฒนายกระดับการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพมาตรฐานเทียบเท่าสากล ผู้เรียนมีศักยภาพและ
ความสามารถทัดเทียมกับผู้เรียนนานาประเทศ
	
โครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล เริมด�ำเนินการตังแต่ปี 2553 มีวตถุประสงค์สำคัญ 3 ประการ
่
้
ั
�
คือ พัฒนาผูเ้ รียนให้มศกยภาพเป็นพลโลก จัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล และบริหาร
ีั
จัดการด้วยระบบคุณภาพ โดยมีโรงเรียนเป้าหมาย 500 โรงเรียนเป็นกลุมบุกเบิก เพือให้การด�ำเนินการ
่
่
บรรลุวตถุประสงค์ และมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิงเพือให้การพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียนในโรงเรียน
ั
่ ่
มาตรฐานสากลบังเกิดผลเป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงได้
ทบทวนและก�ำหนดแนวทาง โดยจัดท�ำเอกสารแนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐาน
สากล (ฉบับปรับปรุง) ขึ้น ทั้งนี้รายละเอียดของเอกสารจะช่วยให้โรงเรียนมีความรู้ความเข้าใจ
และสามารถใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เรียกว่า “บันได 5 ขั้น ของการพัฒนาผู้เรียน
สู่มาตรฐานสากล” (Five Steps for Student Development)
	
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารแนวทางการจัด
การเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากล (ฉบับปรับปรุง) ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน
ครูผู้สอน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย ขอขอบคุณคณะท�ำงานและทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการจัดท�ำ
เอกสารให้ส�ำเร็จบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายได้เป็นอย่างดี

								
								

(นายชินภัทร ภูมิรัตน)
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สารบัญ
สารจากเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ตอนที่ 1 สวนนํา

1

หลักการและเหตุผลของการจัดโรงเรียนมาตรฐานสากล
ลักษณะของโรงเรียนมาตรฐานสากล
การดําเนินงานของโรงเรียนมาตรฐานสากล
ความสําเร็จของโรงเรียนมาตรฐานสากล
เปาหมายความสําเร็จในการดําเนินงานดานผูเรียน

3
11
12
14
15

ตอนที่ 2 หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน

19

คุณลักษณะและศักยภาพผูเรียนที่เปนสากล
การจัดทําหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนสูสากล
กระบวนการพัฒนาผูเรียนสูคุณภาพที่คาดหวัง
การศึกษาคนควาดวยตนเอง (Independent Study : IS) เครื่องมือสําคัญ
ในการพัฒนา
เปาหมายคุณภาพผูเรียนในสาระการศึกษาคนควาดวยตนเอง

ตอนที่ 3 การจัดหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล
ระดับประถมศึกษา
ระดับมัธยมศึกษา
ตัวอยางโครงสรางหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนมาตรฐานสากล
ระดับชั้นประถมศึกษา
ตัวอยางโครงสรางหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนมาตรฐานสากล
ระดับชั้นมัธยมศึกษา
ตัวอยางคําอธิบายรายวิชา

21
23
24
25
27

33
35
38
40
41
42
ตอนที่ 4 การจัดการเรียนรู ในโรงเรียนมาตรฐานสากล

แนวทางการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ
พุทธศักราช 2542
ธรรมชาติของผูเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
การจัดการเรียนรูตองเนนการทํางานของสมอง
การจัดการเรียนรูตามแนวทฤษฎีการสรางความรู
การศึกษาคนควาดวยตนเอง
แนวทางการจัดการเรียนรูที่ผูเรียนศึกษาคนควาดวยตนเอง
บทบาทของผูสอน
บทบาทของผูเรียน
การจัดการเรียนรูระดับประถมศึกษา
บันได 5 ขั้น ของการพัฒนาผูเรียนสูมาตรฐานสากล
การจัดกิจกรรมเพื่อนําความรูหรือประสบการณไปใชบริการสังคม

ตอนที่ 5 การวัดและประเมินผล

49
52
53
55
57
60
62
65
66
68
70
71

73

แนวทางการวัดและประเมินผล
ตัวอยางการวัดและประเมินผล ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 1-3
ตัวอยางการวัดและประเมินผล ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 4-6
ตัวอยางการวัดและประเมินผล ระดับมัธยมศึกษา
แนวทางการวัดและประเมินผล ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 1-3
แนวทางการวัดและประเมินผล ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 4-6
แนวทางการวัดและประเมินผล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-3
แนวทางการวัดและประเมินผล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6
ตัวอยางระดับคุณภาพการประเมินผล ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 1-3
ตัวอยางระดับคุณภาพการประเมินผล ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 4-6
ตัวอยางระดับคุณภาพการประเมินผล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-3
ตัวอยางระดับคุณภาพการประเมินผล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6
แนวทางการรายงานผลการเรียนรูสาระการศึกษาคนควาดวยตนเอง
(Independent Study : IS)
การรายงานภาพรวมระดับหองเรียน

75
76
77
86
88
89
91
93
96
98
102
107

ภาคผนวก
เอกสารอางอิง
คณะทํางาน

117
153
154

113
116
แ น วท า งก า ร จั ด ก า ร เ รี ยน ก า รส อน ใ น โ รง เรี ยน ม า ต รฐา น ส า ก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง

ส่วนน�ำ

1

ส่วนน�า
ตอนที่ 1
แน ว ทา งก าร จั ดก าร เรี ยน ก ารส อ นใ น โ รง เรี ยน ม า ตรฐ า น ส าก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง

2
1

หลักการและเหตุผลของการจัดโรงเรียนมาตรฐานสากล
	
กระแสโลกาภิ วั ต น์ และความเปลี่ ย นแปลงของโลกที่ เ กิ ด ขึ้ น
อย่างรวดเร็ว ทั้งด้านวิทยาการ และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
ท�ำให้แต่ละประเทศไม่สามารถปิดตัวอยู่โดยล�ำพัง ต้องร่วมมือและพึ่งพาอาศัย
ซึ่งกันและกัน การด�ำรงชีวิตของคนในแต่ละประเทศ มีการติดต่อสื่อสารซึ่งกัน
และกันมากขึ้น มีความร่วมมือในการปฏิบัติภารกิจและแก้ปัญหาต่าง ๆ ร่วมกัน
มากขึ้น ในขณะเดียวกัน สังคมโลกในยุคปัจจุบัน เต็มไปด้วยข้อมูลข่าวสาร
ท�ำให้คนต้องคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีการตัดสินใจที่รวดเร็ว เพื่อให้ทันกับ
เหตุการณ์ในสังคม ที่มีความสลับซับซ้อนมากขึ้น สิ่งเหล่านี้น�ำไปสู่สภาวการณ์
ของการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การค้า และอุตสาหกรรมระหว่างประเทศ
อย่างหลีกเลียงไม่ได้ และเป็นแรงผลักดันส�ำคัญทีทำให้หลายประเทศต้องปฏิรป
่
่ �
ู
การศึกษา คุณภาพของการจัดการศึกษาจึงเป็นตัวบ่งชีสำคัญประการหนึง ส�ำหรับ
้�
่
ความพร้อมในการเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 และศักยภาพในการแข่งขันในเวทีโลก
ของแต่ละประเทศ ประเทศที่จะอยู่รอดได้หรือคงความได้เปรียบก็คือประเทศ
ที่มีอ�ำนาจทางความรู้และเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ซึ่งในยุคโลกไร้พรมแดน
คนต่ า งชาติ จ ะเข้ า มาท� ำ งาน และประกอบอาชี พ ในประเทศไทยมากขึ้ น
ขณะเดียวกันคนไทยก็มีโอกาสไปท�ำงานและประกอบอาชีพในต่างประเทศ
มากขึ้นด้วยเช่นกัน
	
นอกจากนั้น ปัจจุบันปรากฏสภาพปัญหา ที่คนทั่วโลกต้องเผชิญ
กับวิกฤตการณ์ร่วมกันในเรื่องความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและ
สภาพแวดล้อม และอุบตภยต่าง ๆ ทีเ่ กิดบ่อย ๆ และรุนแรงมากยิงขึน ส่งผลกระทบ
ัิั
่ ้
อย่างรุนแรงต่อมวลมนุษย์โดยทั่วไป สะท้อนให้เห็นถึงแนวโน้มว่าคนยุคใหม่
จะต้ อ งเผชิ ญ กั บ ความเปลี่ ย นแปลงที่ ห ลากหลาย เป็ น สั ญ ญาณเตื อ นว่ า
โลกในยุคหน้า จะมีปรากฏการณ์ต่าง ๆ เกิดขึ้นเกินกว่าจะคาดคิด ด้วยเหตุนี้
จึ ง จ� ำ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ แ ต่ ล ะประเทศต้ อ งเตรี ย มคนรุ ่ น ใหม่ ที่ มี ทั ก ษะและ
ความสามารถในการปรับตัว มีคณลักษณะส�ำคัญในการด�ำรงชีวตในโลกยุคใหม่ได้
ุ
ิ
อย่างรู้เท่าทัน สงบ สันติ มีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี เหมาะสมและเพียงพอ

แ น วท า งก า ร จั ด ก า ร เ รี ยน ก า รส อน ใ น โ รง เรี ยน ม า ต รฐา น ส า ก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง

ส่วนน�ำ

3
การจัดหลักสูตรและกิจกรรมการเรียนการสอนจ�ำเป็นต้องมีความ
เป็นพลวัต ก้าวทันกับความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ส�ำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ผลักดันให้มีการปรับเปลี่ยนหลักสูตรและกิจกรรม
การเรียนการสอน เพื่อเพิ่มศักยภาพการจัดการศึกษาไทยให้พร้อมส�ำหรับ
การแข่งขันในเวทีโลกในยุคศตวรรษที่ 21 สรุปได้ดังนี้

แน ว ทา งก าร จั ดก าร เรี ยน ก ารส อ นใ น โ รง เรี ยน ม า ตรฐ า น ส าก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง

4

	
1)	 โรงเรี ย นต้ อ งเป็ น หน่ ว ยบริ ก ารทางการศึ ก ษาในมิ ติ ที่ ก ว้ า งขึ้ น
เพราะในปัจจุบันสังคมโลกเป็นสังคมที่ ไร้พรมแดน ที่มีการติดต่อประสาน
สัมพันธ์ระหว่างประเทศต่าง ๆ มากขึ้น อีกทั้งการก้าวไปสู่ประชาคมอาเซียน
ในปี พ.ศ. 2558 จะมีผลต่อการเปิดเสรีทางการศึกษา ซึ่งจะท�ำให้เกิดการ
แข่งขันในการจัดการศึกษาของสถาบันการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ ดังนั้น
ในอนาคตโรงเรียนแต่ละแห่งจะต้องมีการแข่งขันด้านคุณภาพมากขึ้น โรงเรียน
ในประเทศไทยเองจ� ำ เป็ น ต้ อ งพั ฒ นาให้ เ ป็ น หน่ ว ยบริ ก ารทางการศึ ก ษา
ที่มีคุณภาพ เพื่อรองรับการแข่งขันที่จะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีทางการศึกษา
	
2)	 หลักสูตรการเรียนการสอนต้องมีความเป็นสากลมากขึ้น เนื่องจาก
ยุคโลกาภิวัตน์ มีการเชื่อมโยงด้านการค้าและการลงทุน ท�ำให้ตลาดแรงงาน
ในอนาคตต้องการคนที่มีศักยภาพในหลายด้าน รวมทั้งความสามารถด้าน
ภาษาต่างประเทศ การคิดวิเคราะห์ การสื่อสาร คุณลักษณะในการเป็นพลโลก
การจัดหลักสูตรและการเรียนการสอนจึงต้องปรับให้มีความเป็นสากลมากขึ้น
นอกจากนี้การเปิดเสรีทางการศึกษา ท�ำให้สถาบันการศึกษาจากต่างประเทศ
เข้ามาลงทุนด้านการจัดการศึกษาในประเทศไทย โรงเรียนควรหาภาคีเครือข่าย
ในการจัดหลักสูตรนานาชาติ หลักสูตรสมทบ หรือหลักสูตรร่วมกับสถาบัน
ต่างประเทศ เพื่อความเป็นสากลของการศึกษา
3)	 ต้องมีกำรพัฒนำทักษะกำรคิดมำกขึ้น สภำพสังคมโลกที่มีกำร
แข่งขันสูง ท�ำให้กำรจัดกำรศึกษำจ�ำเป็นต้องเน้นกำรพัฒนำทักษะเป็นส�ำคัญ
ปัจจุบันโรงเรียนยังไม่สำมำรถพัฒนำทักษะกำรคิดของผู้เรียนได้ดีเท่ำที่ควร
เนื่องจำกกำรเรียนกำรสอนยังเน้นให้ผู้เรียนคิดตำมสิ่งที่ผู้สอนป้อนควำมรู้
มำกกว่ำกำรคิดสิงใหม่ ๆ ดังนัน จึงควรมีกำรปรับรูปแบบกระบวนกำรจัดกำรเรียน
่
้
กำรสอน เพื่อส่งเสริมทักษะกำรคิดให้มำกยิ่งขึ้น
4)	 ต้องมีกำรปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมมำกขึ้น แนวคิดของทุนนิยม
ที่มุ่งกำรแข่งขัน มีอิทธิพลท�ำให้กำรจัดกำรศึกษำของโรงเรียนส่วนใหญ่เน้น
และให้ควำมส�ำคัญกับกำรพัฒนำควำมรู้และควำมสำมำรถ เพื่อควำมก้ำวหน้ำ
ในหน้ำที่กำรงำนและกำรมีชีวิตควำมเป็นอยู่ที่ดีขึ้น จนอำจละเลยกำรส่งเสริม
ด้ำนคุณธรรมจริยธรรม ซึ่งจะส่งผลต่อปัญหำทำงสังคมตำมมำ ดังนั้น ปรัชญำ
กำรจัดกำรศึกษำ จึงต้องให้ควำมส�ำคัญกับกำรพัฒนำบุคคลในองค์รวม ทั้งมิติ
ของควำมรู้และคุณธรรมคู่กัน เพื่อให้เกิดกำรพัฒนำอย่ำงยั่งยืนอันจะส่งผลให้
ประชำคมโลกอยู่ร่วมกันอย่ำงสันติสุข
5)	 กำรสอนภำษำต่ำงประเทศต้องมีประสิทธิภำพมำกขึ้น ในยุคโลก
ไร้พรมแดนนั้น ผู้มีควำมรู้ด้ำนภำษำต่ำงประเทศ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งภำษำ
ที่ใช้สื่อสำรกันอย่ำงกว้ำงขวำง เช่น ภำษำอังกฤษ หรือภำษำจีน ย่อมมีควำมได้
เปรียบในกำรติดต่อสือสำร กำรเจรจำต่อรองในเรืองต่ำง ๆ ตลอดจนกำรประกอบ
่
่
อำชีพ กำรจัดกำรเรียนกำรสอนจึงควรส่งเสริมให้ผเู้ รียนได้มโอกำสพัฒนำทักษะ
ี
ภำษำต่ำงประเทศอย่ำงเต็มศักยภำพ

แ น วท า งก า ร จั ด ก า ร เ รี ยน ก า รส อน ใ น โ รง เรี ยน ม า ต รฐา น ส า ก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง

ส่วนน�ำ

5
แน ว ทา งก าร จั ดก าร เรี ยน ก ารส อ นใ น โ รง เรี ยน ม า ตรฐ า น ส าก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง

6

	
จากแนวคิดดังกล่าว กระทรวงศึกษาธิการจึงมีการทบทวนและปรับปรุง
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน และได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อเป็นกรอบทิศทางในการพัฒนาเยาวชนของ
ชาติเข้าสู่โลกยุคศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณธรรมบนพื้นฐาน
ของความเป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล รักความเป็นไทย มีทักษะในการคิด
มี ทั ก ษะในการแก้ ป ั ญ หา มี ทั ก ษะด้ า นเทคโนโลยี มี ความคิ ด สร้ า งสรรค์
มีความสามารถในการสื่อสาร และมีทักษะชีวิต สามารถท�ำงานร่วมกับผู้อื่น
และอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมโลกได้อย่างสันติ ในระดับที่ ไม่ต�่ำกว่านักเรียน
ของนานาอารยประเทศ ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน เป็นการเพิ่ม
ขีดความสามารถให้คนไทยก้าวทันต่อความเปลี่ยนแปลงและความก้าวหน้า
ของโลก มีศักยภาพในการแข่งขันในเวทีโลก
อย่ า งไรก็ ตามผลการติ ด ตามการใช้ ห ลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 พบว่า กระบวนการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียน
ส่วนใหญ่ ยังไม่สามารถพัฒนาผู้เรียนให้เกิดคุณภาพตามเจตนารมณ์ของ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐานได้ โดยเฉพาะอย่างยิงในด้านต่าง ๆ ดังนี้
้ ้
่
	
1.	 ทักษะและความสามารถในการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ
การศึกษาหาความรู้ ทั้งด้านการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน
	
2.	 ทักษะความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารและ
การศึกษา หาความรู้ ทั้งด้านการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน
	
3.	 ทั ก ษะและความสามารถในการศึ ก ษาค้ น คว้ า ด้ ว ยตนเอง
(Independent Study) และเรียนรู้จากการปฏิบัติทดลอง
	
4.	 ทักษะและความสามารถในการคิดรูปแบบต่าง ๆ เช่น การคิดวิเคราะห์
การคิดเชิงวิทยาศาสตร์ การคิดสร้างสรรค์ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
เป็นต้น
	
5.	 ทักษะและความสามารถในการท�ำงานและแข่งขันกับชาวต่างชาติ	
	
6.	 โอกาสในการใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้และการด�ำรงชีวิต
	
7.	 ความเป็นผู้มีจิตสาธารณะ และมุ่งมั่น ไม่ย่อท้อต่อปัญหาอุปสรรค

แ น วท า งก า ร จั ด ก า ร เ รี ยน ก า รส อน ใ น โ รง เรี ยน ม า ต รฐา น ส า ก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง

ส่วนน�ำ

7
แน ว ทา งก าร จั ดก าร เรี ยน ก ารส อ นใ น โ รง เรี ยน ม า ตรฐ า น ส าก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง

8

	
สิงเหล่านีจะเกิดขึนได้กตอเมือ ครูตองมีความรูความเข้าใจในเป้าหมาย
่
้
้ ็่ ่
้
้
ของหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรูอย่างถ่องแท้ สามารถน�ำไปถ่ายทอด
้
แก่ผู้เรียน และประยุกต์ใช้สื่ออุปกรณ์ต่าง ๆ ตลอดจนนวัตกรรมและเทคโนโลยี
ที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
	
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้เล็งเห็นความจ�ำเป็น
อย่างรีบด่วนที่จะต้องเร่งหาวิธีการที่มีประสิทธิภาพ ในการพัฒนาทักษะและ
ความสามารถต่าง ๆ ดังกล่าวให้เกิดขึนกับผูเ้ รียน เพือให้เป็นพืนฐานทีจะเติบโต
้
่
้
่
เป็นคนไทยที่มีความคิดเป็นสากล มีความสามารถในการร่วมมือท�ำงานและ
แข่งขันกับนานาชาติได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะสิงเหล่านีจะท�ำให้ประเทศไทย
่
้
ด�ำรงอยู่ในเวทีระดับนานาชาติได้อย่างรู้เท่าทัน สมศักดิ์ศรี เคียงบ่าเคียงไหล่
ไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบ ได้รับประโยชน์ในสิ่งที่ควรจะได้รับ และมีคุณภาพชีวิต
ที่ดี สามารถด�ำรงชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างสงบ สันติ ถ้อยทีถ้อยอาศัยและช่วยเหลือ
ซึ่งกันและกัน
	
โรงเรียนมาตรฐานสากลจึงเป็นนวัตกรรมการจัดการศึกษาที่ส�ำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐานน�ำมาใช้เป็นมาตรการเร่งด่วนในการยกระดับ
้ ้
การจัดการศึกษาให้มีคุณภาพมาตรฐานเทียบเท่าสากล เริ่มด�ำเนินการน�ำร่อง
ในปีการศึกษา 2553 กับโรงเรียนจ�ำนวน 500 โรงเรียน ทั้งระดับประถมศึกษา
และมัธยมศึกษา ด้วยการให้โรงเรียนในโครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
และจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนบรรลุคุณภาพตามมาตรฐานที่ก�ำหนด
ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และเพิ่มเติม
สาระการเรียนรู้ความเป็นสากล
อย่างไรก็ตามจากการก�ำกับติดตามการด�ำเนินงานของโรงเรียนใน
โครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล ในปีการศึกษา 2553 - 2554 พบปัญหาอุปสรรค
ในการปฏิบัติบางประการ ได้แก่ การใช้ค�ำบางค�ำอาจท�ำให้เกิดการเข้าใจผิดว่า
มีความซ�้ำซ้อนกับหลักสูตรบางหลักสูตร และการจัดสาระเพิ่มเติมในหลักสูตร
ของสถานศึกษาหลายแห่งยังไม่สอดคล้องกับโครงสร้างเวลาเรียนที่ก�ำหนด
ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
	
นอกจากนั้น เสียงสะท้อนของสังคมทั่วไปบ่งชี้ให้เห็นว่า ทักษะและ
ความสามารถทีจำเป็นทีจะช่วยท�ำให้เด็กและเยาวชนไทยสามารถพัฒนาตนเอง
่�
่
ไปสู่ความเป็นสากล ได้แก่ ทักษะและความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิด
สร้างสรรค์ การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงทักษะและความสามารถ
ด้านเทคโนโลยี และทักษะและความสามารถในการท�ำงานร่วมกับผูอน ยังไม่อยู่
้ ื่
ในระดับที่น่าพอใจ
	
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ผลการ
ทดสอบความถนัดทั่วไป (GAT) และผลการทดสอบความถนัดทางวิชาการ
และวิชาชีพ (PAT) ของนักเรียนในภาพรวมอยู่ในระดับต�่ำและมีการกระจายสูง
ยังไม่เป็นที่พึงพอใจ

แ น วท า งก า ร จั ด ก า ร เ รี ยน ก า รส อน ใ น โ รง เรี ยน ม า ต รฐา น ส า ก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง

ส่วนน�ำ

9
แน ว ทา งก าร จั ดก าร เรี ยน ก ารส อ นใ น โ รง เรี ยน ม า ตรฐ า น ส าก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง

10

	
ผลการเข้าร่วมโครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Programme
for International Student Assessment : PISA) จัดโดย Organization for
Economic Co-operation and Development : OECD) มีประเทศเข้าร่วม
โครงการประมาณ 70 ประเทศ คะแนนเฉลียของนักเรียนไทยต�ำกว่าคะแนนเฉลีย
่
่
่
ของนานาชาติมาก	
	
ส่วนผลการเข้าร่วมโครงการการศึกษาแนวโน้มการจัดการศึกษา
ด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ระดับนานาชาติ (Trended in International
Mathematics and Science Study : TIMSS) จัดโดย The International
Association for the Evaluation of Educational Achievement : IEA มีประเทศ
เข้าร่วมโครงการประมาณ 60 ประเทศ คะแนนของนักเรียนไทยโดยเฉลี่ย
ต�่ำกว่าค่าเฉลี่ยของนักเรียนนานาชาติมากเช่นกัน
	
จากข้อมูลดังกล่าวท�ำให้สังคมทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ
สรุปและเชือว่าคุณภาพการศึกษาของประเทศไทยเมือเทียบกับคุณภาพการศึกษา
่
่
ของนานาชาติยงอยู่ในระดับต�ำ ซึงส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์และความเชือมัน
ั
่ ่
่ ่
ที่ต่างชาติมีต่อประเทศไทย ตลอดจนการลงทุนของต่างชาติในประเทศไทยมาก
จึ ง จ� ำ เป็ น ต้ อ งพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง การศึ ก ษาไทยให้ มี คุ ณ ภาพทั ด เที ย มกั บ
การศึกษาของนานาชาติ
	
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงได้พิจารณาทบทวน
จุดที่เป็นปัญหาในการด�ำเนินงานของโรงเรียนมาตรฐานสากล และพัฒนา
ปรับปรุงแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดหลักสูตรการจัดการเรียนการสอน และ
การบริหารจัดการส�ำหรับโรงเรียนในโครงการ โดยเริ่มต้นใช้ในปีการศึกษา
2555 ทั้งนี้ เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียนมาตรฐานสากลเป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
2

ลักษณะของโรงเรียนมาตรฐานสากล
โรงเรียนมำตรฐำนสำกล หมำยถึง โรงเรียนที่มีกำรพัฒนำหลักสูตร
กำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอน และกำรบริหำรจัดกำรด้วยระบบคุณภำพ
ที่ มุ ่ ง เน้ น กำรพั ฒ นำผู ้ เ รี ย นให้ มี ศั ก ยภำพเป็ น พลโลก มี ทั ก ษะ ควำมรู ้
ควำมสำมำรถ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับเดียวกับมำตรฐำน
สำกลหรือมำตรฐำนของประเทศชั้นน�ำที่มีคุณภำพกำรศึกษำสูง สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ของหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551
ที่มุ่งเน้นกำรพัฒนำคุณภำพเยำวชนส�ำหรับยุคศตวรรษที่ 21 ตำมปฏิญญำ
ว่ำด้วยกำรจัดกำรศึกษำของ UNESCO ทั้ง 4 ด้ำน คือ Learning to know,
Learning to do, Learning to live together and Learning to be

แ น วท า งก า ร จั ด ก า ร เ รี ยน ก า รส อน ใ น โ รง เรี ยน ม า ต รฐา น ส า ก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง

ส่วนน�ำ

11
3

แน ว ทา งก าร จั ดก าร เรี ยน ก ารส อ นใ น โ รง เรี ยน ม า ตรฐ า น ส าก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง

12

การด�ำเนินงานของโรงเรียนมาตรฐานสากล
	
การด�ำเนินงานของโรงเรียนมาตรฐานสากล จะประสบความส�ำเร็จได้
จะต้องมีการพัฒนาหลายมิติไปพร้อมกัน โดยจะต้องด�ำเนินการทั้งระบบ คือ
ด้านหลักสูตร ด้านการจัดการเรียนการสอน และด้านการบริหารจัดการ มิใช่
เป็นการจัดการศึกษาเพียงบางส่วนของโรงเรียน หรือเพียงจัดเป็นแผนการเรียน
มาตรฐานสากล การจั ด การศึ ก ษาของโรงเรี ย นมาตรฐานสากลจะต้ อ งมี
จุดมุ่งหมายและทิศทางที่ชัดเจน ดังนี้
	
3.1	 เพือยกระดับการจัดการเรียนการสอนให้เทียบเคียงมาตรฐานสากล
่
หรือมาตรฐานของประเทศชั้นน�ำที่มีคุณภาพการศึกษาสูง ได้แก่ ประเทศ
ที่ประสบความส�ำเร็จสูงในการเข้าร่วมโครงการ PISA หรือ TIMSS โดยค�ำนึง
ถึงความแตกต่างของผู้เรียนทางด้านสติปัญญา ความสามารถ และความถนัด
มีการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมในการเพิ่มพูนศักยภาพของผู้เรียน ส่งเสริม
พหุปัญญาของผู้เรียน บนพื้นฐานของความเข้าใจและรู้ใจ มีการใช้กระบวนการ
คัดกรองในระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อให้สามารถพัฒนา
ไปสู่จุดสูงสุดแห่งศักยภาพ
	
3.2	 เพื่อยกระดับการบริหารจัดการของโรงเรียนให้มีการบริหารด้วย
ระบบคุณภาพตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (Thailand Quality Award :
TQA) ทังนีเ้ พือให้การพัฒนาศักยภาพของโรงเรียนด�ำเนินไปตามมาตรฐานสากล
้ ่
หรือมาตรฐานของประเทศชั้นน�ำที่มีคุณภาพการศึกษาสูงทั้งหลาย
แต่ ในสภำพควำมเป็นจริงกำรด�ำเนินงำนโรงเรียนมำตรฐำนสำกล
ของส�ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขันพืนฐำน พบว่ำ โรงเรียนมำตรฐำนสำกล
้ ้
มีควำมแตกต่ำงกันทั้งบริบท ศักยภำพ ขนำดโรงเรียน รวมทั้งสภำพแวดล้อม
อื่น ๆ
ดั ง นั้ น เพื่ อ ให้ ก ำรบริ ห ำรจั ด กำรด้ ว ยระบบคุ ณ ภำพของโรงเรี ย น
เกิดกำรพัฒนำ จึงก�ำหนดให้มกำรบริหำรจัดกำรด้วยระบบคุณภำพเป็น 3 ระดับ คือ
ี
ระดับที่ 1

กำรบริหำรจัดกำรระบบคุณภำพ ระดับโรงเรียน
(School Quality Award : SCQA)
ระดับที่ 2

กำรบริหำรจัดกำรระบบคุณภำพ
ระดับส�ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน
(Office of the Basic Education Commission Quality
Award : OBECQA)
ระดับที่ 3

กำรบริหำรจัดกำรระบบคุณภำพ ระดับชำติ
(Thailand Quality Award : TQA)
ทั้งนี้ หวังว่ำรูปแบบและแนวทำงกำรบริหำรจัดกำรระบบคุณภำพ
ในแต่ละระดับจะท�ำให้โรงเรียนเกิดกำรพัฒนำอย่ำงมีขนตอนสอดคล้องกับสภำพ
ั้
ปัจจุบัน และบริบทของโรงเรียน
3.3 เพื่อพัฒนำผู้เรียนให้มีศักยภำพเป็นพลโลก โดยเน้นควำมเป็นเลิศ
ทำงวิชำกำร สื่อสำรสองภำษำ ล�้ำหน้ำทำงควำมคิด ผลิตงำนอย่ำงสร้ำงสรรค์
และร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก

แ น วท า งก า ร จั ด ก า ร เ รี ยน ก า รส อน ใ น โ รง เรี ยน ม า ต รฐา น ส า ก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง

ส่วนน�ำ

13
4

ความส�ำเร็จของโรงเรียนมาตรฐานสากล
	
ความส�ำเร็จขั้นสุดท้ายของโรงเรียนมาตรฐานสากล คือ คุณภาพของ
ผู้เรียน โรงเรียนที่ได้รับการประเมินว่ามีหลักสูตร กิจกรรมการเรียนการสอน
และการบริหารจัดการที่ดีเยี่ยม แต่การประเมินคุณภาพของผู้เรียนยังไม่ผ่าน
เกณฑ์ตามที่โรงเรียนได้ก�ำหนดไว้ ก็ไม่ถือว่าโรงเรียนนั้นประสบความส�ำเร็จ
ในการเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล
	
ความส�ำเร็จของโรงเรียนในการด�ำเนินงานตามโครงการโรงเรียน
มาตรฐานสากลจะพิจารณาจากคุณภาพของผู้เรียนที่เพิ่มขึ้นตามเป้าหมาย
ที่แต่ละโรงเรียนก�ำหนดและท�ำความตกลงไว้กับโครงการเป็นส�ำคัญ
	
ความส�ำเร็จด้านการพัฒนาหลักสูตร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
และการบริหารจัดการโรงเรียนด้วยระบบบริหารคุณภาพ ถือเป็นความส�ำเร็จ
ในการด� ำ เนิ น งานของโรงเรี ย นมาตรฐานสากล บนพื้ น ฐานความเชื่ อว่ า
ถ้าโรงเรียนมีหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และมีระบบการบริหารจัดการ
โรงเรียนที่ดี ก็จะช่วยท�ำให้ผู้เรียนมีคุณภาพที่ดีขึ้นเป็นล�ำดับ
	

ความส�ำเร็จของการด�ำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากลสรุปได้ ดังนี้
เป็นเลิศวิชาการ

แน ว ทา งก าร จั ดก าร เรี ยน ก ารส อ นใ น โ รง เรี ยน ม า ตรฐ า น ส าก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง

14
สื่อสารสองภาษา

ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์

ล�้ำหน้าทางความคิด

ผู้เรียนมีศักยภาพ
เป็นพลโลก

ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก

ผู้เรียน
หลักสูตรและกิจกรรม
การเรียนการสอน

ครู

การบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ ตามเกณฑ์ระดับคุณภาพแห่งชาติ
(Thailand Quality Award : TQA)
ระดับคุณภาพ สพฐ.
(Office of the Basic Education Commission Quality Award : OBECQA)
ระดับคุณภาพโรงเรียน
(School Quality Award : SCQA)
ส่วนน�ำ

เปาหมายความส�าเร็จในการด�าเนินงานด้านผู้เรียน
เป้ ำ หมำยและตั ว ชี้ วั ด ควำมส� ำ เร็ จ ในกำรด� ำ เนิ น งำนด้ ำ นผู ้ เ รี ย น
ของโรงเรียนมำตรฐำนสำกล มี 5 เป้ำหมำย แต่ละเป้ำหมำยจะมีตัวชี้วัด
ควำมส�ำเร็จที่แตกต่ำงกันไป ในแต่ละปีกำรศึกษำโรงเรียนหรือผู้ด�ำเนินกำร
อำจพิ จำรณำปรั บ ลด เพิ่ ม ตั ว ชี้ วั ด ให้ มี ควำมเหมำะสม สอดคล้ อ งกั บ
สภำพกำรณ์ต่ำง ๆ ของปีนั้น ๆ ให้มำกยิ่งขึ้นต่อไป
เป้ำหมำยด้ำนผู้เรียนแต่ละข้อได้ระบุด้วยว่ำ โครงกำรมีวัตถุประสงค์
ที่จะพัฒนำคุณภำพของนักเรียนของโครงกำรโรงเรียนมำตรฐำนสำกลให้อยู่
ในระดับเดียวกับนักเรียนของประเทศทีมคณภำพกำรศึกษำสูง ซึงได้แก่ประเทศ
่ีุ
่
ที่มีผลกำรประเมิน PISA อยู่ในกลุ่มสูง
ในอนำคตโครงกำรจะได้จดให้มกำรประเมินคุณภำพด้ำนต่ำง ๆ ของนักเรียน
ั ี
โรงเรียนมำตรฐำนสำกล เทียบกับคุณภำพนักเรียนของประเทศที่มีคุณภำพ
กำรศึกษำสูงดังกล่ำวด้วย

แ น วท า งก า ร จั ด ก า ร เ รี ยน ก า รส อน ใ น โ รง เรี ยน ม า ต รฐา น ส า ก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง

5

15
ควำมส�ำเร็จของโครงกำรโรงเรียนมำตรฐำนสำกลอีกมุมมองหนึ่ง
สำมำรถพิจำรณำได้จำกผลกำรเข้ำร่วมโครงกำรประเมินผลนำนำชำติ ซึ่งใน
ปัจจุบันประเทศไทยเข้ำร่วมอยู่ 2 โครงกำร คือ
1. โครงกำรประเมินผลนักเรียนนำนำชำติ (PISA) จัดโดย OECD
2. โครงกำรกำรศึกษำแนวโน้มกำรจัดกำรศึกษำด้ำนคณิตศำสตร์

และวิทยำศำสตร์ระดับนำนำชำติ (TIMSS) จัดโดย IEA

ทั้งโครงกำร PISA และโครงกำร TIMSS จะด�ำเนินกำรครั้งต่อไป
ในปี พ.ศ. 2558 ดังนั้นตัวชี้วัดควำมส�ำเร็จของโครงกำรโรงเรียนมำตรฐำนสำกล
ที่ส�ำคัญมำกอีกข้อหนึ่งคือ
นักเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากลทีได้รบการสุมเข้าสอบโครงการ PISA
่ ั
่
หรื อ TIMSS ในป พ.ศ. 2558 มี ค ะแนนผลการสอบโดยเฉลี่ ย
ไม่ ต�่ า กว่ าคะแนนเฉลี่ย ของนัก เรีย นนานาชาติที่เข้าร่วมโครงการ
PISA หรือ TIMSS ในปเดียวกัน

แน ว ทา งก าร จั ดก าร เรี ยน ก ารส อ นใ น โ รง เรี ยน ม า ตรฐ า น ส าก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง

16
กำรประเมินตัวชี้วัดควำมส�ำเร็จหลำยข้อ ได้ก�ำหนดให้มีกำรสร้ำง
เครื่องมือกลำงในกำรทดสอบขึ้นเป็นกำรเฉพำะด้วย เนื่องจำกกำรทดสอบทำง
กำรศึกษำระดับชำติขั้นพื้นฐำน (O-NET) เป็นกำรวัดขั้นพื้นฐำนตำมหลักสูตร
แต่เป้ำหมำยของโรงเรียนมำตรฐำนสำกลก�ำหนดไว้สูงกว่ำนั้น นอกจำกนั้น
กำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติขนพืนฐำน (O-NET) มีขอจ�ำกัดหลำยประกำร
ั้ ้
้
จ�ำเป็นต้องใช้แบบทดสอบแบบเลือกตอบเป็นส่วนใหญ่ จึงยังไม่สำมำรถวัดทักษะ
คุณลักษณะและพฤติกรรมบำงด้ำนได้อย่ำงชัดเจน
แบบทดสอบกลำงที่สร้ำงขึ้นจะมีกำรถำมให้นักเรียนได้ แสดงเหตุ
และผล วิธคด และวิธทำ นอกจำกนันจะจัดให้มกำรทดสอบภำคปฏิบติ กำรสัมภำษณ์
ีิ
ี�
้
ี
ั
กำรพูดคุยกับนักเรียน และหรือวิธีกำรอื่น ๆ ที่เหมำะสม

แ น วท า งก า ร จั ด ก า ร เ รี ยน ก า รส อน ใ น โ รง เรี ยน ม า ต รฐา น ส า ก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง

ส่วนน�ำ

17
เป้ำหมำยและตัวชีวดควำมส�ำเร็จด้ำนผูเ้ รียน ในกำรด�ำเนินงำนโรงเรียน
้ั
มำตรฐำนสำกล มี 5 เป้ำหมำย ดังนี้
1. เปนเลิศทางวิชาการ :
นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนด้ำนต่ำง ๆ อยู่ในระดับสูง เทียบได้
ไม่ต�่ำกว่ำนักเรียนของประเทศที่มีคุณภำพกำรศึกษำสูง
2. สื่อสารสองภาษา :
นักเรียนมีทักษะและควำมสำมำรถด้ำนภำษำอยู่ในระดับสูง เทียบได้
ไม่ต�่ำกว่ำนักเรียนของประเทศที่มีคุณภำพกำรศึกษำสูง
3. ล�้าหน้าทางความคิด :

นั ก เรี ย นมี ทั ก ษะและควำมสำมำรถในกำรคิ ด และทั ก ษะและ
ควำมช�ำนำญในกำรใช้ ICT ในระดับสูง เทียบได้ไม่ต�่ำกว่ำนักเรียนของประเทศ
ที่มีคุณภำพกำรศึกษำสูง
4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ :

แน ว ทา งก าร จั ดก าร เรี ยน ก ารส อ นใ น โ รง เรี ยน ม า ตรฐ า น ส าก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง

18

นักเรียนมีทกษะและควำมสำมำรถเกียวกับกำรศึกษำค้นคว้ำตนเอง
ั
่
(Independent Study) และมีศักยภำพ ทักษะ และควำมสำมำรถในกำรผลิต
ผลงำนต่ำง ๆ อย่ำงมีคณภำพ เทียบได้ไม่ตำกว่ำนักเรียนของประเทศทีมคณภำพ
ุ
�่
่ีุ
กำรศึกษำสูง
5. ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก :

นักเรียนมีควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับวิถีชีวิต วัฒนธรรม และ
ลักษณะเฉพำะของชำติต่ำง ๆ ในระดับสูง มีควำมมุ่งมั่นจริงจังในกำรท�ำงำน
ไม่ย่อท้อต่อปัญหำอุปสรรค มีจิตสำธำรณะ มีส�ำนึกในกำรบริกำรสังคม และ
มีควำมรับผิดชอบต่อสังคมอยู่ในระดับสูง เทียบได้ไม่ตำกว่ำนักเรียนของประเทศ
�่
ที่มีคุณภำพกำรศึกษำสูง
แ น วท า งก า ร จั ด ก า ร เ รี ยน ก า รส อน ใ น โ รง เรี ยน ม า ต รฐา น ส า ก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง

หลักสูตรและกำรจัดกำรเรียนกำรสอนในโรงเรียน

19

หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน
ในโรงเรียน
ตอนที่ 2
แน ว ทา งก าร จั ดก าร เรี ยน ก ารส อ นใ น โ รง เรี ยน ม า ตรฐ า น ส าก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง

20
คุณลักษณะและศักยภาพผู้เรียนที่เปนสากล
กำรจัดกำรเรียนกำรสอนในโรงเรียนมำตรฐำนสำกล มุ่งเน้นกำร
เสริมสร้ำงควำมรู้ ควำมสำมำรถ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
ในศตวรรษที่ 21 สอดคล้ อ งกั บ หลั ก สู ต รแกนกลำงกำรศึ ก ษำขั้ น พื้ น ฐำน
พุทธศักรำช 2551 และเป็นไปตำมปฏิญญำว่ำด้วยกำรจัดกำรศึกษำของ
UNESCO ได้แก่
Learning to know :

หมำยถึง กำรเรียนเพื่อให้มีควำมรู้ในสิ่งต่ำง ๆ อันจะเป็นประโยชน์
ต่อไป ได้แก่ กำรรู้จักกำรแสวงหำควำมรู้ กำรต่อยอดควำมรู้ที่มีอยู่ และรวมทั้ง
กำรสร้ำงควำมรู้ขึ้นใหม่
Learning to do :

หมำยถึง กำรเรียนเพือกำรปฏิบตหรือลงมือท�ำ ซึงน�ำไปสูกำรประกอบ
่
ัิ
่
่
อำชีพจำกควำมรู้ที่ได้ศึกษำมำ รวมทั้งกำรปฏิบัติเพื่อสร้ำงประโยชน์ให้สังคม
Learning to live together :

หมำยถึง กำรเรียนรู้เพื่อกำรด�ำเนินชีวิตอยู่ร่วมกับคนอื่นได้อย่ำง
มีควำมสุขทั้งกำรด�ำเนินชีวิตในกำรเรียน ครอบครัว สังคม และกำรท�ำงำน
Learning to be :

หมำยถึง กำรเรียนรู้เพื่อให้รู้จักตัวเองอย่ำงถ่องแท้ รู้ถึงศักยภำพ
ควำมถนัด ควำมสนใจของตนเอง สำมำรถใช้ควำมรู้ควำมสำมำรถของตนเอง
ให้เกิดประโยชน์ตอสังคม เลือกแนวทำงกำรพัฒนำตนเองตำมศักยภำพ วำงแผน
่
กำรเรียนต่อ กำรประกอบอำชีพที่สอดคล้องกับศักยภำพของตนเองได้

แ น วท า งก า ร จั ด ก า ร เ รี ยน ก า รส อน ใ น โ รง เรี ยน ม า ต รฐา น ส า ก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง

หลักสูตรและกำรจัดกำรเรียนกำรสอนในโรงเรียน

21
ทั้งนี้เพื่อพัฒนำผู้เรียนให้มีคุณภำพ ทั้งในฐำนะพลเมืองไทยและ
พลเมืองโลกเทียบเคียงกับนำนำอำรยประเทศ โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีศักยภำพ
ที่ส�ำคัญ ดังนี้
1) ความรู้พื้นฐานในยุคดิจิทัล

มีควำมรูพนฐำนทีจำเป็นทำงวิทยำศำสตร์ เศรษฐศำสตร์ เทคโนโลยี
้ ื้
่�
รูภำษำ ข้อมูล และทัศนภำพ รูพหุวฒนธรรมและมีควำมตระหนักส�ำนึกระดับโลก
้
้ ั
2) ความสามารถคิดประดิษฐ์อย่างมีความสามารถในการปรับตัว

สำมำรถจัดกำรกับสภำวกำรณ์ที่มีควำมซับซ้อน เป็นบุคคลที่ใฝ่รู้
สำมำรถก�ำหนด/ตั้งประเด็นค�ำถำม เพื่อน�ำไปสู่กำรศึกษำค้นคว้ำ แสวงหำ
ควำมรู้ มีควำมสำมำรถในกำรคิดวิเครำะห์ คิดสังเครำะห์ ข้อมูล สำรสนเทศ
และสรุ ป องค์ ควำมรู ้ ใช้ ข ้ อ มู ล เพื่ อ กำรตั ด สิ น ใจเกี่ ย วกั บ ตนเองและสั ง คม
ได้อย่ำงเหมำะสม
3) ทักษะการสื่อสารอย่างมีประสิทธิผล

แน ว ทา งก าร จั ดก าร เรี ยน ก ารส อ นใ น โ รง เรี ยน ม า ตรฐ า น ส าก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง

22

ควำมสำมำรถในกำรรับและส่งสำร กำรเลือกรับหรือไม่รับข้อมูล
ข่ำวสำรด้วยหลักเหตุผลและควำมถูกต้อง มีวัฒนธรรมในกำรใช้ภำษำถ่ำยทอด
ควำมคิด ควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ควำมรู้สึก และทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยน
ข้อมูลข่ำวสำรและประสบกำรณ์ อันจะเป็นประโยชน์ต่อกำรพัฒนำตนเองและ
สังคม รวมทั้งมีทักษะในกำรเจรจำต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหำควำมขัดแย้ง
ต่ำง ๆ ตลอดจนสำมำรถเลือกใช้วิธีกำรสื่อสำรที่มีประสิทธิภำพโดยค�ำนึงถึง
ผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

ควำมสำมำรถในกำรน�ำกระบวนกำรต่ำง ๆ ไปใช้ในกำรด�ำเนินชีวิต
ประจ�ำวัน กำรเรียนรู้ด้วยตนเอง กำรเรียนรู้อย่ำงต่อเนื่อง เข้ำใจควำมสัมพันธ์
และกำรเปลี่ยนแปลงของเหตุกำรณ์ต่ำง ๆ ในสังคม สำมำรถจัดกำรปัญหำและ
ควำมขัดแย้งต่ำง ๆ อย่ำงเหมำะสม น�ำไปสู่กำรปฏิบัติและน�ำไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์ต่อสังคม บริกำรสำธำรณะ ซึ่งหมำยถึงกำรเป็นพลเมืองไทยและ
พลเมืองโลก
5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

กำรสืบค้นหำควำมรู้จำกแหล่งเรียนรู้และวิธีกำรที่หลำกหลำย
เลือกและใช้เทคโนโลยีด้ำนต่ำง ๆ และมีทักษะกระบวนกำรทำงเทคโนโลยี
เพื่อกำรพัฒนำตนเองและสังคม ในด้ำนกำรเรียนรู้ กำรสื่อสำร กำรท�ำงำน
กำรแก้ปัญหำอย่ำงสร้ำงสรรค์ ถูกต้อง เหมำะสม และมีคุณธรรม
การจัดท�ำหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนสู่สากล
	
การที่ผู้เรียนจะได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพดังกล่าว ย่อมต้องอาศัย
หลักสูตรสถานศึกษาทีเ่ หมาะสม คือ จะต้องได้รบการออกแบบอย่างดี มีเป้าหมาย
ั
และกระบวนการด�ำเนินงานที่เป็นระบบ ด้วยความร่วมมือของบุคลากรทุกฝ่าย
ในโรงเรียน หลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนมาตรฐานสากลเป็นหลักสูตร
ที่ ใช้เป็นเป้าหมายและทิศทางในการยกระดับการจัดการศึกษาทั้งโรงเรียน
มิใช่การจัดในลักษณะของแผนการเรียนส�ำหรับผูเ้ รียนเพียงบางส่วน การออกแบบ
หลักสูตรจะต้องสอดคล้องกับหลักการและแนวคิดของหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งผู้เรียนจะได้รับการพัฒนาคุณภาพ
บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ และกิจกรรม
พัฒนาผู้เรียนที่ก�ำหนด มีการพัฒนาต่อยอดคุณลักษณะที่เทียบเคียงกับสากล
ทั้งในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย
โดยโรงเรียนพิจารณาให้สอดคล้อง เหมาะสมกับสภาพความพร้อม และจุดเน้น
ของโรงเรียน

แ น วท า งก า ร จั ด ก า ร เ รี ยน ก า รส อน ใ น โ รง เรี ยน ม า ต รฐา น ส า ก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง

หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน

23
กระบวนการพัฒนาผู้เรียนสู่คุณภาพที่คาดหวัง
กำรจัดกำรเรียนกำรสอนเพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและศักยภำพ
ควำมเป็นสำกล คือ เป็นบุคคลทีมคณภำพ มีทกษะในกำรค้นคว้ำ แสวงหำควำมรู้
่ีุ
ั
และมีควำมรู้พื้นฐำนที่จ�ำเป็น สำมำรถคิดวิเครำะห์ สังเครำะห์ สร้ำงสรรค์
สำมำรถสื่อสำรอย่ำงมีประสิทธิผล มีทักษะชีวิต ร่วมมือในกำรท�ำงำนกับผู้อื่น
ได้เป็นอย่ำงดี จะต้องมีกระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้อย่ำงต่อเนื่อง มีล�ำดับขั้นตอน
ที่เหมำะสม และสอดคล้องกับพัฒนำกำรของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น โดยมี
กระบวนส�ำคัญในกำรจัดกำรเรียนรู้ เรียกว่ำ “บันได	5	ขั้นของกำรพัฒนำผู้เรียน
สู่มำตรฐำนสำกล	(Five	steps	for	student	development)” ได้แก่
1. การตั้งค�าถาม/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation)

เป็นกำรฝึกให้ผู้เรียนรู้จักคิด สังเกต ตั้งค�ำถำมอย่ำงมีเหตุผล
และสร้ำงสรรค์ ซึงจะส่งเสริมให้ผเู้ รียนเกิดกำรเรียนรูในกำรตังค�ำถำม (Learning
่
้
้
to Question)
2. การสืบค้นความรู้และสารสนเทศ (Searching for Information)

แน ว ทา งก าร จั ดก าร เรี ยน ก ารส อ นใ น โ รง เรี ยน ม า ตรฐ า น ส าก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง

24

เป็นกำรฝึกแสวงหำควำมรู้ ข้อมูล และสำรสนเทศ จำกแหล่งเรียน
รู้อย่ำงหลำกหลำย เช่น ห้องสมุด อินเทอร์เน็ต หรือจำกกำรฝึกปฏิบัติ ทดลอง
เป็นต้น ซึงจะส่งเสริมเกิดกำรเรียนรูในกำรแสวงหำควำมรู้ (Learning to Search)
่
้
3. การสร้างองค์ความรู้ (Knowledge Formation)

เป็นกำรฝึกให้ผเู้ รียนน�ำควำมรูและสำรสนเทศที่ได้จำกกำรแสวงหำ
้
ควำมรู้ มำถกแถลง อภิปรำย เพือน�ำไปสูกำรสรุปและสร้ำงองค์ควำมรู้ (Learning
่
่
to Construct)
4. การสื่อสารและน�าเสนออย่างมีประสิทธิภาพ
(Effective Communication)

เป็นกำรฝึกให้ผู้เรียนน�ำควำมรู้ที่ได้มำสื่อสำรอย่ำงมีประสิทธิภำพ
ซึ่งจะส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้และมีทักษะในกำรสื่อสำร (Learning
to Communicate)
5. การบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Public Service)

เป็นกำรน�ำควำมรู้สู่กำรปฏิบัติ ซึ่งผู้เรียนจะต้องเชื่อมโยงควำมรู้
ไปสู่กำรท�ำประโยชน์ ให้กับสังคมและชุมชนรอบตัวตำมวุฒิภำวะของผู้เรียน
และจะส่งผลให้ผู้เรียนมีจิตสำธำรณะและบริกำรสังคม (Learning to Serve)
การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study : IS)
เครื่องมือส�าคัญในการพัฒนา
กำรจัดกระบวนกำรเรียนรู้ตำมบันได 5 ขั้น สำมำรถด�ำเนินกำรได้
หลำกหลำยวิธีและกำรให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้สำระกำรศึกษำค้นคว้ำด้วยตนเอง	
(Independent	Study	:	IS) นับเป็นวิธีกำรที่มีประสิทธิภำพวิธีหนึ่งที่ใช้อย่ำง
กว้ำงขวำงในกำรพัฒนำผูเ้ รียน เพรำะเป็นกำรเปิดโลกกว้ำงให้ผเู้ รียนได้ศกษำค้นคว้ำ
ึ
อย่ำงอิสระในเรื่องหรือประเด็นที่ตนสนใจ เริ่มตั้งแต่กำรก�ำหนดประเด็นปัญหำ
ซึ่งอำจเป็น Public Issue และ Global Issue และด�ำเนินกำรค้นคว้ำแสวงหำ
ควำมรู้จำกแหล่งข้อมูลที่หลำกหลำย มีกำรวิเครำะห์ สังเครำะห์ กำรอภิปรำย
แลกเปลี่ยนควำมคิดเห็น เพื่อน�ำไปสู่กำรสรุปองค์ควำมรู้ จำกนั้นก็หำวิธีกำร
ที่เหมำะสมในกำรสื่อสำรน�ำเสนอให้ผู้อื่นได้รับทรำบ และสำมำรถน�ำควำมรู้
หรือประสบกำรณ์ที่ได้จำกกำรศึกษำค้นคว้ำไปท�ำประโยชน์แก่สำธำรณะ ซึ่ง
สิ่งเหล่ำนี้เป็นกระบวนกำรที่เชื่อมโยงต่อเนื่องกันตลอดแนว ภำยใต้สำระ
“กำรศึกษำค้นคว้ำด้วยตนเอง	(Independent		Study	:	IS)”	ซึ่งแบ่งเป็น 3 สำระ
ประกอบด้วย
IS 1- การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้
(Research and Knowledge Formation)

เป็นสำระที่มุ่งให้ผู้เรียนก�ำหนดประเด็นปัญหำ ตั้งสมมติฐำน ค้นคว้ำ
แสวงหำควำมรู้และฝึกทักษะกำรคิดวิเครำะห์ สังเครำะห์ และสร้ำงองค์ควำมรู้
IS 2- การสื่อสารและการน�าเสนอ
(Communication and Presentation)

เป็นสำระทีมงให้ผเู้ รียนน�ำควำมรูที่ได้รบ มำพัฒนำวิธกำรกำรถ่ำยทอด/
่ ุ่
้ ั
ี
สือสำรควำมหมำย/แนวคิด ข้อมูลและองค์ควำมรู้ ด้วยวิธกำรน�ำเสนอทีเ่ หมำะสม
่
ี
หลำกหลำยรูปแบบ และมีประสิทธิภำพ
IS 3- การน�าองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม
(Social Service Activity)

เป็นสำระที่มุ่งให้ผู้เรียน น�ำองค์ควำมรู้/ประยุกต์ ใช้องค์ควำมรู้ไปสู่
กำรปฏิบัติ หรือน�ำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม เกิดบริกำรสำธำรณะ (Public
Service)

แ น วท า งก า ร จั ด ก า ร เ รี ยน ก า รส อน ใ น โ รง เรี ยน ม า ต รฐา น ส า ก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง

หลักสูตรและกำรจัดกำรเรียนกำรสอนในโรงเรียน

25
แน ว ทา งก าร จั ดก าร เรี ยน ก ารส อ นใ น โ รง เรี ยน ม า ตรฐ า น ส าก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง

26

	
โรงเรียนต้องน�ำสาระ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent
Study : IS) ไปสู ่ การเรี ย นการสอน ด้ ว ยการจั ด ท� ำ รายวิ ช า ออกแบบ
หน่วยการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามแนวทางที่ก�ำหนด โดย
พิจารณาให้สอดคล้องกับบริบท วัยและพัฒนาการของผูเ้ รียน ซึงอาจแตกต่างกัน
่
ในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย ตัวอย่าง
รายละเอียดน�ำเสนอตามเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนที่ก�ำหนด
หลักสูตรและกำรจัดกำรเรียนกำรสอนในโรงเรียน

กำรพัฒนำผู้เรียนผ่ำนสำระกำรศึกษำค้นคว้ำด้วยตนเอง (Independent Study : IS) ครูผู้สอน
จะต้องพิจำรณำให้เหมำะสมกับวัยและพัฒนำกำรของผู้เรียน กิจกรรมกำรเรียนรู้ ควำมยำก-ง่ำยของชิ้นงำน
หรือภำระงำนที่ปฏิบัติจะต้องเหมำะสม เป้ำหมำยคุณภำพผู้เรียนแต่ละระดับที่ก�ำหนดนี้ เป็นเป้ำหมำยและ
กรอบทิศทำงที่ครูจะใช้ในกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนและกำรวัดและประเมินผล
เปาหมายคุณภาพผู้เรียนในสาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
ระดับประถมศึกษำ
ป.1	-	3
ป.4	-	6

คุณภำพผู้เรียน
	1.	กำรตั้งประเด็น
ค�ำถำม/สมมติฐำน
อย่ำงมีเหตุผล	
(Hypothesis	
Formulation)	

›

ตั้งค�ำถำม
ข้อสงสัยเกี่ยวกับ
สิ่งใกล้ตัว

ตั้งประเด็น/ค�ำถำม
เกี่ยวกับ เรื่องรำว
ง่ำย ๆ สิ่งแวดล้อม
หรือบุคคลใกล้ตัว
› ตั้งสมมติฐำน
ตำมจินตนำกำร
ของตนเองและ/หรือ
ตำมควำมรู้
และประสบกำรณ์
ของตน
›

ระดับมัธยมศึกษำ
ตอนต้น
ตั้งประเด็นค�ำถำม
ในเรื่องที่ตนสนใจ
โดยเริ่มจำกตัวเอง
เชื่อมโยงกับชุมชน
ท้องถิ่น ประเทศ
› ตั้งสมมติฐำนและ
ให้เหตุผล โดยใช้
ควำมรู้จำกสำขำ
วิชำต่ำง ๆ
›

ระดับมัธยมศึกษำ
ตอนปลำย
ตั้งประเด็น/ค�ำถำม
เกี่ยวกับสถำนกำรณ์
ปัจจุบัน และ
สังคมโลก
› ตั้งสมมติฐำน
และให้เหตุผล
ที่สนับสนุนหรือ
โต้แย้งประเด็น
ควำมรู้ โดยใช้
ควำมรู้จำกสำขำ
วิชำต่ำง ๆ และ
มีทฤษฎีรองรับ
›

แ น วท า งก า ร จั ด ก า ร เ รี ยน ก า รส อน ใ น โ รง เรี ยน ม า ต รฐา น ส า ก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง

เปาหมายคุณภาพผู้เรียนในสาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง

27
เปาหมายคุณภาพผู้เรียนในสาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (ต่อ)
ระดับประถมศึกษำ
ป.1	-	3
ป.4	-	6

คุณภำพผู้เรียน
	2.	กำรสืบค้นควำมรู้
จำกแหล่งเรียนรู้
และสำรสนเทศ	
หรือจำกกำรปฏิบัติ	
ทดลอง	(Searching	
for	Information)

แน ว ทา งก าร จั ดก าร เรี ยน ก ารส อ นใ น โ รง เรี ยน ม า ตรฐ า น ส าก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง

28

ศึกษำ ค้นคว้ำ
แสวงหำข้อมูล
ค�ำตอบจำกบุคคล
ใกล้ตัว/แหล่งข้อมูล
พื้นฐำนง่ำย ๆ
› จัดล�ำดับขั้นตอน
ในกำรรวบรวม
ข้อมูล
› ท�ำงำนบรรลุผล
ส�ำเร็จภำยใต้กำร
ดูแล ก�ำกับ และ
ช่วยเหลือของครู
อย่ำงใกล้ชิด
›

ศึกษำ ค้นคว้ำ
แสวงหำข้อมูล
ค�ำตอบจำกสมมติฐำน
ที่ตั้งไว้จำกแหล่ง
ค้นคว้ำใกล้ตัว
(เช่น บุคคล
หนังสือ
หนังสือพิมพ์
กำรปฏิบัติทดลอง
หรืออื่น ๆ)
› ออกแบบ วำงแผน
อย่ำงง่ำยในกำร
รวบรวมและล�ำดับ
ขั้นตอนกำรเก็บ
ข้อมูล
› ท�ำงำนบรรลุผล
ส�ำเร็จภำยใต้กำร
ดูแล ก�ำกับ และ
ช่วยเหลือของครู
อย่ำงใกล้ชิด
›

ระดับมัธยมศึกษำ
ตอนต้น
ศึกษำ ค้นคว้ำ
แสวงหำควำมรู้
เกี่ยวกับสมมติฐำน
ที่ตั้งไว้จำกแหล่ง
เรียนรู้หลำกหลำย
(เช่น ห้องสมุด
แหล่งเรียนรู้
ทำงออนไลน์
วำรสำร กำรปฏิบัติ
ทดลอง หรืออื่น ๆ)
› ออกแบบ วำงแผน
รวบรวมข้อมูล
โดยใช้กระบวนกำร
รวบรวมข้อมูลอย่ำง
มีประสิทธิภำพ
› ใช้กระบวนกำรกลุ่ม
ในกำรแลกเปลี่ยน
ควำมคิดเห็นโดย
ใช้ควำมรู้จำกสำขำ
วิชำต่ำง ๆ เพื่อให้
ได้ข้อมูลที่ครบถ้วน
สมบูรณ์
› ท�ำงำนบรรลุผล
ตำมเป้ำหมำย
ภำยในกรอบกำร
ด�ำเนินงำนที่ก�ำหนด
โดยกำรดูแล ก�ำกับ
และช่วยเหลือของ
ครูอย่ำงต่อเนื่อง
›

ระดับมัธยมศึกษำ
ตอนปลำย
ศึกษำ ค้นคว้ำ
หำควำมรู้ ข้อมูล
และสำรสนเทศ
โดยระบุแหล่งเรียนรู้
ทั้งปฐมภูมิ และ
ทุติยภูมิ
› ออกแบบ วำงแผน
รวบรวมข้อมูล
โดยใช้กระบวนกำร
รวบรวมข้อมูล
อย่ำงมีประสิทธิภำพ
› ใช้กระบวนกำร
กลุ่มแลกเปลี่ยน
ควำมคิดเห็นโดยใช้
ควำมรู้จำกสำขำ
วิชำต่ำง ๆ และ
พิจำรณำควำม
น่ำเชื่อถือของ
แหล่งเรียนรู้อย่ำงมี
วิจำรณญำณเพื่อให้
ได้ข้อมูลที่ครบถ้วน
สมบูรณ์
› ท�ำงำนบรรลุผล
ตำมเป้ำหมำยอย่ำง
มีประสิทธิภำพ
โดยค�ำแนะน�ำของ
ครูที่ให้ค�ำปรึกษำ
อย่ำงต่อเนื่อง
›
หลักสูตรและกำรจัดกำรเรียนกำรสอนในโรงเรียน

คุณภำพผู้เรียน

ระดับประถมศึกษำ
ป.1	-	3
ป.4	-	6

	3.	กำรสรุปองค์
› บอกสำระส�ำคัญ
ควำมรู้	(Knowledge	 ของสิ่งที่สนทนำ
	
Formation)
หรือได้รับฟัง

จัดกระท�ำข้อมูล
อย่ำงง่ำยจำก
กำรสืบค้น
› สรุปประเด็น
ควำมรู้จำกข้อคิด
ส�ำคัญ
›

ระดับมัธยมศึกษำ
ตอนต้น
วิเครำะห์ข้อมูล
โดยใช้วิธีกำร
ที่เหมำะสม
› สังเครำะห์และ
สรุปองค์ควำมรู้
อภิปรำยผลและ
เปรียบเทียบ
เชื่อมโยงควำมรู้
› เสนอแนวคิด
วิธีกำรแก้ปัญหำ
อย่ำงเป็นระบบ
›

ระดับมัธยมศึกษำ
ตอนปลำย
อธิบำยควำมเป็นมำ
ของศำสตร์
หลักกำร และวิธีคิด
ในสิ่งที่ศึกษำค้นคว้ำ
› วิเครำะห์ ข้อมูล
โดยใช้วิธีกำร
ที่เหมำะสม
› สังเครำะห์และ
สรุปองค์ควำมรู้
อภิปรำยผล
เปรียบเทียบ
เชื่อมโยง ควำมรู้
› เสนอแนวคิด
วิธีกำรแก้ปัญหำ
อย่ำงเป็นระบบ
›

แ น วท า งก า ร จั ด ก า ร เ รี ยน ก า รส อน ใ น โ รง เรี ยน ม า ต รฐา น ส า ก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง

เปาหมายคุณภาพผู้เรียนในสาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (ต่อ)

29
เปาหมายคุณภาพผู้เรียนในสาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (ต่อ)
ระดับประถมศึกษำ
ป.1	-	3
ป.4	-	6

คุณภำพผู้เรียน
	4.	กำรสื่อสำรและ
กำรน�ำเสนอ	
อย่ำงมีประสิทธิภำพ	
(Effective	
Communication)

แน ว ทา งก าร จั ดก าร เรี ยน ก ารส อ นใ น โ รง เรี ยน ม า ตรฐ า น ส าก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง

30

›

เขียน หรือวำดภำพ
และพูดน�ำเสนอ
เพื่อสื่อสำร
เรื่องรำวง่ำย ๆ
ได้อย่ำงชัดเจน
ไม่สับสนโดยใช้สื่อ
ที่เหมำะสม

เขียนและน�ำเสนอ
เป็นล�ำดับ ขั้นตอน
เข้ำใจง่ำยใน
รูปแบบเดี่ยว
โดยใช้สื่อที่
เหมำะสมกับวัย
› อ้ำงอิงแหล่งควำมรู้
ที่เชื่อถือได้
›

ระดับมัธยมศึกษำ
ตอนต้น
เรียบเรียงและ
ถ่ำยทอดควำมคิด
อย่ำงชัดเจน
เป็นระบบ
› น�ำเสนอใน
รูปแบบเดี่ยว
โดยใช้สื่อประกอบ
หลำกหลำย
› เขียนรำยงำน
กำรศึกษำค้นคว้ำ
เชิงวิชำกำร
ควำมยำว 2,500 ค�ำ
› อ้ำงอิงแหล่ง
ควำมรู้ที่เชื่อถือได้
อย่ำงหลำกหลำย
› เผยแพร่ผลงำน
สู่สำธำรณะ
›

ระดับมัธยมศึกษำ
ตอนปลำย
เรียบเรียง
และถ่ำยทอด
ควำมคิด
อย่ำงสร้ำงสรรค์
เป็นระบบ
› น�ำเสนอใน
รูปแบบเดี่ยว
หรือกลุ่ม
เป็นภำษำไทย
หรือภำษำอังกฤษ
โดยใช้สื่อเทคโนโลยี
ที่หลำกหลำย
› เขียนรำยงำน
กำรศึกษำค้นคว้ำ
เชิงวิชำกำร
เป็นภำษำไทย
ควำมยำว 4,000 ค�ำ
หรือภำษำอังกฤษ
ควำมยำว 2,000 ค�ำ
› อ้ำงอิงแหล่งควำมรู้
ที่เชื่อถือได้ ทั้งใน
และต่ำงประเทศ
› ใช้กำรสนทนำ/
วิพำกษ์ผ่ำนสื่อ
อีเล็กทรอนิกส์
เช่น e-conference,
social media
online
›
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School
World-Class Standard School

More Related Content

What's hot

สบู่จากกากกาแฟ
สบู่จากกากกาแฟสบู่จากกากกาแฟ
สบู่จากกากกาแฟnarumon intawong
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมอบรมภาพประกอบการอบรมศก.พอเพียง
บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมอบรมภาพประกอบการอบรมศก.พอเพียงบันทึกรายงานผลการเข้าร่วมอบรมภาพประกอบการอบรมศก.พอเพียง
บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมอบรมภาพประกอบการอบรมศก.พอเพียงkrupornpana55
 
แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อหรร 'ษๅ
 
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบรายงานออกแบบ
รายงานออกแบบparwaritfast
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555RMUTT
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56dnavaroj
 
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการรายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการWichai Likitponrak
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6Thanawut Rattanadon
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองIct Krutao
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9supap6259
 

What's hot (20)

หนังสือราชการ (ใหม่)
หนังสือราชการ (ใหม่)หนังสือราชการ (ใหม่)
หนังสือราชการ (ใหม่)
 
สบู่จากกากกาแฟ
สบู่จากกากกาแฟสบู่จากกากกาแฟ
สบู่จากกากกาแฟ
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
ข้อตกลงของห้องเรียน
ข้อตกลงของห้องเรียนข้อตกลงของห้องเรียน
ข้อตกลงของห้องเรียน
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมอบรมภาพประกอบการอบรมศก.พอเพียง
บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมอบรมภาพประกอบการอบรมศก.พอเพียงบันทึกรายงานผลการเข้าร่วมอบรมภาพประกอบการอบรมศก.พอเพียง
บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมอบรมภาพประกอบการอบรมศก.พอเพียง
 
แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อ
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบรายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
สรุปรายงานการประชุมครั้งที่ 7 2555
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
 
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการรายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
รายงานการประเมินค่ายบูรณาการ
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิสรายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 

Viewers also liked

แนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุง
แนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงแนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุง
แนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงKomsun See
 
แนวทางการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 (ล่าสุด สำหรับปี ก.ศ.2...
แนวทางการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 (ล่าสุด สำหรับปี ก.ศ.2...แนวทางการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 (ล่าสุด สำหรับปี ก.ศ.2...
แนวทางการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 (ล่าสุด สำหรับปี ก.ศ.2...supattrajra
 
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากล (ฉบับปรับปรุง)
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากล (ฉบับปรับปรุง)แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากล (ฉบับปรับปรุง)
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากล (ฉบับปรับปรุง)Napadon Yingyongsakul
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดเก็บฐานข้อมูลทรัพยากรจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดเก็บฐานข้อมูลทรัพยากรจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดเก็บฐานข้อมูลทรัพยากรจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดเก็บฐานข้อมูลทรัพยากรจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์Boonlert Aroonpiboon
 

Viewers also liked (9)

แนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุง
แนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงแนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุง
แนวทางการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุง
 
แนวทางการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 (ล่าสุด สำหรับปี ก.ศ.2...
แนวทางการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 (ล่าสุด สำหรับปี ก.ศ.2...แนวทางการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 (ล่าสุด สำหรับปี ก.ศ.2...
แนวทางการสอนโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 (ล่าสุด สำหรับปี ก.ศ.2...
 
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากล (ฉบับปรับปรุง)
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากล (ฉบับปรับปรุง)แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากล (ฉบับปรับปรุง)
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากล (ฉบับปรับปรุง)
 
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
 
E book world-class
E book world-classE book world-class
E book world-class
 
Greenstone 2.85 installation
 Greenstone 2.85 installation Greenstone 2.85 installation
Greenstone 2.85 installation
 
Greenstone
GreenstoneGreenstone
Greenstone
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดเก็บฐานข้อมูลทรัพยากรจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดเก็บฐานข้อมูลทรัพยากรจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดเก็บฐานข้อมูลทรัพยากรจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดเก็บฐานข้อมูลทรัพยากรจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์
 
Digital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of ThailandDigital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of Thailand
 

Similar to World-Class Standard School

แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2krupornpana55
 
0 บทที่ 1
0 บทที่ 10 บทที่ 1
0 บทที่ 1Pala333
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...Kobwit Piriyawat
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุคKruBeeKa
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...rungaroonnoumsawat
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนjulee2506
 
Social media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use itSocial media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use itAnucha Somabut
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยKobwit Piriyawat
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนthanathip
 
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)Kobwit Piriyawat
 
วารสารออนไลน์
วารสารออนไลน์วารสารออนไลน์
วารสารออนไลน์สพป.นว.1
 

Similar to World-Class Standard School (20)

แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
 
0 บทที่ 1
0 บทที่ 10 บทที่ 1
0 บทที่ 1
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
Tep summary
Tep summaryTep summary
Tep summary
 
หลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอน
หลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอนหลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอน
หลากหลายวิธีการใช้ Ict เพื่อการเรียนการสอน
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
 
Email system
Email systemEmail system
Email system
 
Social media
Social mediaSocial media
Social media
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
E0b982e0b884e0b8a3e0b887e0b8a3e0b988e0b8b2e0b887e0b887e0b8b2e0b899e0b8a7e0b8b...
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยน
 
Social media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use itSocial media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use it
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน
 
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
เอกสารนำเสนอนวัตกรรมNonsi 3 s together(20แผ่น)
 
วารสารออนไลน์
วารสารออนไลน์วารสารออนไลน์
วารสารออนไลน์
 
25713 1
25713 125713 1
25713 1
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
 

More from Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 

World-Class Standard School

  • 2. แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากล ฉบับปรับปรุง ปีที่พิมพ์ จ�ำนวนพิมพ์ ลิขสิทธิ์เป็นของ ISBN พิมพ์ที่ พ.ศ. 2555 10,000 เล่ม ส�ำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 978-616-202-678-2 โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกัด 79 ถนนงามวงศ์วาน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 โทร. 0-2561-4567 โทรสาร 0-2579-5101 นายโชคดี ออสุวรรณ ผู้พิมพ์ผู้โฆษณา
  • 3. สารจากเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ก�ำหนดนโยบายให้โรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School) เป็นนวัตกรรมการจัดการศึกษาที่ใช้เป็นยุทธศาสตร์ในการขับเคลือน ่ การพัฒนายกระดับการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพมาตรฐานเทียบเท่าสากล ผู้เรียนมีศักยภาพและ ความสามารถทัดเทียมกับผู้เรียนนานาประเทศ โครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล เริมด�ำเนินการตังแต่ปี 2553 มีวตถุประสงค์สำคัญ 3 ประการ ่ ้ ั � คือ พัฒนาผูเ้ รียนให้มศกยภาพเป็นพลโลก จัดการเรียนการสอนเทียบเคียงมาตรฐานสากล และบริหาร ีั จัดการด้วยระบบคุณภาพ โดยมีโรงเรียนเป้าหมาย 500 โรงเรียนเป็นกลุมบุกเบิก เพือให้การด�ำเนินการ ่ ่ บรรลุวตถุประสงค์ และมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิงเพือให้การพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียนในโรงเรียน ั ่ ่ มาตรฐานสากลบังเกิดผลเป็นรูปธรรมยิ่งขึ้น ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงได้ ทบทวนและก�ำหนดแนวทาง โดยจัดท�ำเอกสารแนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐาน สากล (ฉบับปรับปรุง) ขึ้น ทั้งนี้รายละเอียดของเอกสารจะช่วยให้โรงเรียนมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง เรียกว่า “บันได 5 ขั้น ของการพัฒนาผู้เรียน สู่มาตรฐานสากล” (Five Steps for Student Development) ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารแนวทางการจัด การเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากล (ฉบับปรับปรุง) ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน ครูผู้สอน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย ขอขอบคุณคณะท�ำงานและทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการจัดท�ำ เอกสารให้ส�ำเร็จบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายได้เป็นอย่างดี (นายชินภัทร ภูมิรัตน) เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 4. สารบัญ สารจากเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตอนที่ 1 สวนนํา 1 หลักการและเหตุผลของการจัดโรงเรียนมาตรฐานสากล ลักษณะของโรงเรียนมาตรฐานสากล การดําเนินงานของโรงเรียนมาตรฐานสากล ความสําเร็จของโรงเรียนมาตรฐานสากล เปาหมายความสําเร็จในการดําเนินงานดานผูเรียน 3 11 12 14 15 ตอนที่ 2 หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน 19 คุณลักษณะและศักยภาพผูเรียนที่เปนสากล การจัดทําหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนสูสากล กระบวนการพัฒนาผูเรียนสูคุณภาพที่คาดหวัง การศึกษาคนควาดวยตนเอง (Independent Study : IS) เครื่องมือสําคัญ ในการพัฒนา เปาหมายคุณภาพผูเรียนในสาระการศึกษาคนควาดวยตนเอง ตอนที่ 3 การจัดหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนมาตรฐานสากล ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา ตัวอยางโครงสรางหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนมาตรฐานสากล ระดับชั้นประถมศึกษา ตัวอยางโครงสรางหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนมาตรฐานสากล ระดับชั้นมัธยมศึกษา ตัวอยางคําอธิบายรายวิชา 21 23 24 25 27 33 35 38 40 41 42
  • 5. ตอนที่ 4 การจัดการเรียนรู ในโรงเรียนมาตรฐานสากล แนวทางการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 ธรรมชาติของผูเรียนระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา การจัดการเรียนรูตองเนนการทํางานของสมอง การจัดการเรียนรูตามแนวทฤษฎีการสรางความรู การศึกษาคนควาดวยตนเอง แนวทางการจัดการเรียนรูที่ผูเรียนศึกษาคนควาดวยตนเอง บทบาทของผูสอน บทบาทของผูเรียน การจัดการเรียนรูระดับประถมศึกษา บันได 5 ขั้น ของการพัฒนาผูเรียนสูมาตรฐานสากล การจัดกิจกรรมเพื่อนําความรูหรือประสบการณไปใชบริการสังคม ตอนที่ 5 การวัดและประเมินผล 49 52 53 55 57 60 62 65 66 68 70 71 73 แนวทางการวัดและประเมินผล ตัวอยางการวัดและประเมินผล ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 1-3 ตัวอยางการวัดและประเมินผล ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 4-6 ตัวอยางการวัดและประเมินผล ระดับมัธยมศึกษา แนวทางการวัดและประเมินผล ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 1-3 แนวทางการวัดและประเมินผล ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 4-6 แนวทางการวัดและประเมินผล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-3 แนวทางการวัดและประเมินผล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 ตัวอยางระดับคุณภาพการประเมินผล ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 1-3 ตัวอยางระดับคุณภาพการประเมินผล ระดับชั้นประถมศึกษาปที่ 4-6 ตัวอยางระดับคุณภาพการประเมินผล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-3 ตัวอยางระดับคุณภาพการประเมินผล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 แนวทางการรายงานผลการเรียนรูสาระการศึกษาคนควาดวยตนเอง (Independent Study : IS) การรายงานภาพรวมระดับหองเรียน 75 76 77 86 88 89 91 93 96 98 102 107 ภาคผนวก เอกสารอางอิง คณะทํางาน 117 153 154 113 116
  • 6.
  • 7. แ น วท า งก า ร จั ด ก า ร เ รี ยน ก า รส อน ใ น โ รง เรี ยน ม า ต รฐา น ส า ก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง ส่วนน�ำ 1 ส่วนน�า ตอนที่ 1
  • 8. แน ว ทา งก าร จั ดก าร เรี ยน ก ารส อ นใ น โ รง เรี ยน ม า ตรฐ า น ส าก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง 2
  • 9. 1 หลักการและเหตุผลของการจัดโรงเรียนมาตรฐานสากล กระแสโลกาภิ วั ต น์ และความเปลี่ ย นแปลงของโลกที่ เ กิ ด ขึ้ น อย่างรวดเร็ว ทั้งด้านวิทยาการ และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ท�ำให้แต่ละประเทศไม่สามารถปิดตัวอยู่โดยล�ำพัง ต้องร่วมมือและพึ่งพาอาศัย ซึ่งกันและกัน การด�ำรงชีวิตของคนในแต่ละประเทศ มีการติดต่อสื่อสารซึ่งกัน และกันมากขึ้น มีความร่วมมือในการปฏิบัติภารกิจและแก้ปัญหาต่าง ๆ ร่วมกัน มากขึ้น ในขณะเดียวกัน สังคมโลกในยุคปัจจุบัน เต็มไปด้วยข้อมูลข่าวสาร ท�ำให้คนต้องคิด วิเคราะห์ แยกแยะ และมีการตัดสินใจที่รวดเร็ว เพื่อให้ทันกับ เหตุการณ์ในสังคม ที่มีความสลับซับซ้อนมากขึ้น สิ่งเหล่านี้น�ำไปสู่สภาวการณ์ ของการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การค้า และอุตสาหกรรมระหว่างประเทศ อย่างหลีกเลียงไม่ได้ และเป็นแรงผลักดันส�ำคัญทีทำให้หลายประเทศต้องปฏิรป ่ ่ � ู การศึกษา คุณภาพของการจัดการศึกษาจึงเป็นตัวบ่งชีสำคัญประการหนึง ส�ำหรับ ้� ่ ความพร้อมในการเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 และศักยภาพในการแข่งขันในเวทีโลก ของแต่ละประเทศ ประเทศที่จะอยู่รอดได้หรือคงความได้เปรียบก็คือประเทศ ที่มีอ�ำนาจทางความรู้และเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ซึ่งในยุคโลกไร้พรมแดน คนต่ า งชาติ จ ะเข้ า มาท� ำ งาน และประกอบอาชี พ ในประเทศไทยมากขึ้ น ขณะเดียวกันคนไทยก็มีโอกาสไปท�ำงานและประกอบอาชีพในต่างประเทศ มากขึ้นด้วยเช่นกัน นอกจากนั้น ปัจจุบันปรากฏสภาพปัญหา ที่คนทั่วโลกต้องเผชิญ กับวิกฤตการณ์ร่วมกันในเรื่องความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและ สภาพแวดล้อม และอุบตภยต่าง ๆ ทีเ่ กิดบ่อย ๆ และรุนแรงมากยิงขึน ส่งผลกระทบ ัิั ่ ้ อย่างรุนแรงต่อมวลมนุษย์โดยทั่วไป สะท้อนให้เห็นถึงแนวโน้มว่าคนยุคใหม่ จะต้ อ งเผชิ ญ กั บ ความเปลี่ ย นแปลงที่ ห ลากหลาย เป็ น สั ญ ญาณเตื อ นว่ า โลกในยุคหน้า จะมีปรากฏการณ์ต่าง ๆ เกิดขึ้นเกินกว่าจะคาดคิด ด้วยเหตุนี้ จึ ง จ� ำ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ แ ต่ ล ะประเทศต้ อ งเตรี ย มคนรุ ่ น ใหม่ ที่ มี ทั ก ษะและ ความสามารถในการปรับตัว มีคณลักษณะส�ำคัญในการด�ำรงชีวตในโลกยุคใหม่ได้ ุ ิ อย่างรู้เท่าทัน สงบ สันติ มีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี เหมาะสมและเพียงพอ แ น วท า งก า ร จั ด ก า ร เ รี ยน ก า รส อน ใ น โ รง เรี ยน ม า ต รฐา น ส า ก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง ส่วนน�ำ 3
  • 10. การจัดหลักสูตรและกิจกรรมการเรียนการสอนจ�ำเป็นต้องมีความ เป็นพลวัต ก้าวทันกับความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ส�ำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ผลักดันให้มีการปรับเปลี่ยนหลักสูตรและกิจกรรม การเรียนการสอน เพื่อเพิ่มศักยภาพการจัดการศึกษาไทยให้พร้อมส�ำหรับ การแข่งขันในเวทีโลกในยุคศตวรรษที่ 21 สรุปได้ดังนี้ แน ว ทา งก าร จั ดก าร เรี ยน ก ารส อ นใ น โ รง เรี ยน ม า ตรฐ า น ส าก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง 4 1) โรงเรี ย นต้ อ งเป็ น หน่ ว ยบริ ก ารทางการศึ ก ษาในมิ ติ ที่ ก ว้ า งขึ้ น เพราะในปัจจุบันสังคมโลกเป็นสังคมที่ ไร้พรมแดน ที่มีการติดต่อประสาน สัมพันธ์ระหว่างประเทศต่าง ๆ มากขึ้น อีกทั้งการก้าวไปสู่ประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558 จะมีผลต่อการเปิดเสรีทางการศึกษา ซึ่งจะท�ำให้เกิดการ แข่งขันในการจัดการศึกษาของสถาบันการศึกษาทั้งในและต่างประเทศ ดังนั้น ในอนาคตโรงเรียนแต่ละแห่งจะต้องมีการแข่งขันด้านคุณภาพมากขึ้น โรงเรียน ในประเทศไทยเองจ� ำ เป็ น ต้ อ งพั ฒ นาให้ เ ป็ น หน่ ว ยบริ ก ารทางการศึ ก ษา ที่มีคุณภาพ เพื่อรองรับการแข่งขันที่จะเกิดขึ้นจากการเปิดเสรีทางการศึกษา 2) หลักสูตรการเรียนการสอนต้องมีความเป็นสากลมากขึ้น เนื่องจาก ยุคโลกาภิวัตน์ มีการเชื่อมโยงด้านการค้าและการลงทุน ท�ำให้ตลาดแรงงาน ในอนาคตต้องการคนที่มีศักยภาพในหลายด้าน รวมทั้งความสามารถด้าน ภาษาต่างประเทศ การคิดวิเคราะห์ การสื่อสาร คุณลักษณะในการเป็นพลโลก การจัดหลักสูตรและการเรียนการสอนจึงต้องปรับให้มีความเป็นสากลมากขึ้น นอกจากนี้การเปิดเสรีทางการศึกษา ท�ำให้สถาบันการศึกษาจากต่างประเทศ เข้ามาลงทุนด้านการจัดการศึกษาในประเทศไทย โรงเรียนควรหาภาคีเครือข่าย ในการจัดหลักสูตรนานาชาติ หลักสูตรสมทบ หรือหลักสูตรร่วมกับสถาบัน ต่างประเทศ เพื่อความเป็นสากลของการศึกษา
  • 11. 3) ต้องมีกำรพัฒนำทักษะกำรคิดมำกขึ้น สภำพสังคมโลกที่มีกำร แข่งขันสูง ท�ำให้กำรจัดกำรศึกษำจ�ำเป็นต้องเน้นกำรพัฒนำทักษะเป็นส�ำคัญ ปัจจุบันโรงเรียนยังไม่สำมำรถพัฒนำทักษะกำรคิดของผู้เรียนได้ดีเท่ำที่ควร เนื่องจำกกำรเรียนกำรสอนยังเน้นให้ผู้เรียนคิดตำมสิ่งที่ผู้สอนป้อนควำมรู้ มำกกว่ำกำรคิดสิงใหม่ ๆ ดังนัน จึงควรมีกำรปรับรูปแบบกระบวนกำรจัดกำรเรียน ่ ้ กำรสอน เพื่อส่งเสริมทักษะกำรคิดให้มำกยิ่งขึ้น 4) ต้องมีกำรปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมมำกขึ้น แนวคิดของทุนนิยม ที่มุ่งกำรแข่งขัน มีอิทธิพลท�ำให้กำรจัดกำรศึกษำของโรงเรียนส่วนใหญ่เน้น และให้ควำมส�ำคัญกับกำรพัฒนำควำมรู้และควำมสำมำรถ เพื่อควำมก้ำวหน้ำ ในหน้ำที่กำรงำนและกำรมีชีวิตควำมเป็นอยู่ที่ดีขึ้น จนอำจละเลยกำรส่งเสริม ด้ำนคุณธรรมจริยธรรม ซึ่งจะส่งผลต่อปัญหำทำงสังคมตำมมำ ดังนั้น ปรัชญำ กำรจัดกำรศึกษำ จึงต้องให้ควำมส�ำคัญกับกำรพัฒนำบุคคลในองค์รวม ทั้งมิติ ของควำมรู้และคุณธรรมคู่กัน เพื่อให้เกิดกำรพัฒนำอย่ำงยั่งยืนอันจะส่งผลให้ ประชำคมโลกอยู่ร่วมกันอย่ำงสันติสุข 5) กำรสอนภำษำต่ำงประเทศต้องมีประสิทธิภำพมำกขึ้น ในยุคโลก ไร้พรมแดนนั้น ผู้มีควำมรู้ด้ำนภำษำต่ำงประเทศ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งภำษำ ที่ใช้สื่อสำรกันอย่ำงกว้ำงขวำง เช่น ภำษำอังกฤษ หรือภำษำจีน ย่อมมีควำมได้ เปรียบในกำรติดต่อสือสำร กำรเจรจำต่อรองในเรืองต่ำง ๆ ตลอดจนกำรประกอบ ่ ่ อำชีพ กำรจัดกำรเรียนกำรสอนจึงควรส่งเสริมให้ผเู้ รียนได้มโอกำสพัฒนำทักษะ ี ภำษำต่ำงประเทศอย่ำงเต็มศักยภำพ แ น วท า งก า ร จั ด ก า ร เ รี ยน ก า รส อน ใ น โ รง เรี ยน ม า ต รฐา น ส า ก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง ส่วนน�ำ 5
  • 12. แน ว ทา งก าร จั ดก าร เรี ยน ก ารส อ นใ น โ รง เรี ยน ม า ตรฐ า น ส าก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง 6 จากแนวคิดดังกล่าว กระทรวงศึกษาธิการจึงมีการทบทวนและปรับปรุง หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน และได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อเป็นกรอบทิศทางในการพัฒนาเยาวชนของ ชาติเข้าสู่โลกยุคศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณธรรมบนพื้นฐาน ของความเป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล รักความเป็นไทย มีทักษะในการคิด มี ทั ก ษะในการแก้ ป ั ญ หา มี ทั ก ษะด้ า นเทคโนโลยี มี ความคิ ด สร้ า งสรรค์ มีความสามารถในการสื่อสาร และมีทักษะชีวิต สามารถท�ำงานร่วมกับผู้อื่น และอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมโลกได้อย่างสันติ ในระดับที่ ไม่ต�่ำกว่านักเรียน ของนานาอารยประเทศ ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน เป็นการเพิ่ม ขีดความสามารถให้คนไทยก้าวทันต่อความเปลี่ยนแปลงและความก้าวหน้า ของโลก มีศักยภาพในการแข่งขันในเวทีโลก
  • 13. อย่ า งไรก็ ตามผลการติ ด ตามการใช้ ห ลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 พบว่า กระบวนการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียน ส่วนใหญ่ ยังไม่สามารถพัฒนาผู้เรียนให้เกิดคุณภาพตามเจตนารมณ์ของ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐานได้ โดยเฉพาะอย่างยิงในด้านต่าง ๆ ดังนี้ ้ ้ ่ 1. ทักษะและความสามารถในการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ การศึกษาหาความรู้ ทั้งด้านการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน 2. ทักษะความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อการสื่อสารและ การศึกษา หาความรู้ ทั้งด้านการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน 3. ทั ก ษะและความสามารถในการศึ ก ษาค้ น คว้ า ด้ ว ยตนเอง (Independent Study) และเรียนรู้จากการปฏิบัติทดลอง 4. ทักษะและความสามารถในการคิดรูปแบบต่าง ๆ เช่น การคิดวิเคราะห์ การคิดเชิงวิทยาศาสตร์ การคิดสร้างสรรค์ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นต้น 5. ทักษะและความสามารถในการท�ำงานและแข่งขันกับชาวต่างชาติ 6. โอกาสในการใช้ ICT เพื่อการเรียนรู้และการด�ำรงชีวิต 7. ความเป็นผู้มีจิตสาธารณะ และมุ่งมั่น ไม่ย่อท้อต่อปัญหาอุปสรรค แ น วท า งก า ร จั ด ก า ร เ รี ยน ก า รส อน ใ น โ รง เรี ยน ม า ต รฐา น ส า ก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง ส่วนน�ำ 7
  • 14. แน ว ทา งก าร จั ดก าร เรี ยน ก ารส อ นใ น โ รง เรี ยน ม า ตรฐ า น ส าก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง 8 สิงเหล่านีจะเกิดขึนได้กตอเมือ ครูตองมีความรูความเข้าใจในเป้าหมาย ่ ้ ้ ็่ ่ ้ ้ ของหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนรูอย่างถ่องแท้ สามารถน�ำไปถ่ายทอด ้ แก่ผู้เรียน และประยุกต์ใช้สื่ออุปกรณ์ต่าง ๆ ตลอดจนนวัตกรรมและเทคโนโลยี ที่เอื้อต่อการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้เล็งเห็นความจ�ำเป็น อย่างรีบด่วนที่จะต้องเร่งหาวิธีการที่มีประสิทธิภาพ ในการพัฒนาทักษะและ ความสามารถต่าง ๆ ดังกล่าวให้เกิดขึนกับผูเ้ รียน เพือให้เป็นพืนฐานทีจะเติบโต ้ ่ ้ ่ เป็นคนไทยที่มีความคิดเป็นสากล มีความสามารถในการร่วมมือท�ำงานและ แข่งขันกับนานาชาติได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะสิงเหล่านีจะท�ำให้ประเทศไทย ่ ้ ด�ำรงอยู่ในเวทีระดับนานาชาติได้อย่างรู้เท่าทัน สมศักดิ์ศรี เคียงบ่าเคียงไหล่ ไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบ ได้รับประโยชน์ในสิ่งที่ควรจะได้รับ และมีคุณภาพชีวิต ที่ดี สามารถด�ำรงชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างสงบ สันติ ถ้อยทีถ้อยอาศัยและช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน โรงเรียนมาตรฐานสากลจึงเป็นนวัตกรรมการจัดการศึกษาที่ส�ำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐานน�ำมาใช้เป็นมาตรการเร่งด่วนในการยกระดับ ้ ้ การจัดการศึกษาให้มีคุณภาพมาตรฐานเทียบเท่าสากล เริ่มด�ำเนินการน�ำร่อง ในปีการศึกษา 2553 กับโรงเรียนจ�ำนวน 500 โรงเรียน ทั้งระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา ด้วยการให้โรงเรียนในโครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนบรรลุคุณภาพตามมาตรฐานที่ก�ำหนด ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และเพิ่มเติม สาระการเรียนรู้ความเป็นสากล
  • 15. อย่างไรก็ตามจากการก�ำกับติดตามการด�ำเนินงานของโรงเรียนใน โครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล ในปีการศึกษา 2553 - 2554 พบปัญหาอุปสรรค ในการปฏิบัติบางประการ ได้แก่ การใช้ค�ำบางค�ำอาจท�ำให้เกิดการเข้าใจผิดว่า มีความซ�้ำซ้อนกับหลักสูตรบางหลักสูตร และการจัดสาระเพิ่มเติมในหลักสูตร ของสถานศึกษาหลายแห่งยังไม่สอดคล้องกับโครงสร้างเวลาเรียนที่ก�ำหนด ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นอกจากนั้น เสียงสะท้อนของสังคมทั่วไปบ่งชี้ให้เห็นว่า ทักษะและ ความสามารถทีจำเป็นทีจะช่วยท�ำให้เด็กและเยาวชนไทยสามารถพัฒนาตนเอง ่� ่ ไปสู่ความเป็นสากล ได้แก่ ทักษะและความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิด สร้างสรรค์ การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รวมถึงทักษะและความสามารถ ด้านเทคโนโลยี และทักษะและความสามารถในการท�ำงานร่วมกับผูอน ยังไม่อยู่ ้ ื่ ในระดับที่น่าพอใจ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ผลการ ทดสอบความถนัดทั่วไป (GAT) และผลการทดสอบความถนัดทางวิชาการ และวิชาชีพ (PAT) ของนักเรียนในภาพรวมอยู่ในระดับต�่ำและมีการกระจายสูง ยังไม่เป็นที่พึงพอใจ แ น วท า งก า ร จั ด ก า ร เ รี ยน ก า รส อน ใ น โ รง เรี ยน ม า ต รฐา น ส า ก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง ส่วนน�ำ 9
  • 16. แน ว ทา งก าร จั ดก าร เรี ยน ก ารส อ นใ น โ รง เรี ยน ม า ตรฐ า น ส าก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง 10 ผลการเข้าร่วมโครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Programme for International Student Assessment : PISA) จัดโดย Organization for Economic Co-operation and Development : OECD) มีประเทศเข้าร่วม โครงการประมาณ 70 ประเทศ คะแนนเฉลียของนักเรียนไทยต�ำกว่าคะแนนเฉลีย ่ ่ ่ ของนานาชาติมาก ส่วนผลการเข้าร่วมโครงการการศึกษาแนวโน้มการจัดการศึกษา ด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ระดับนานาชาติ (Trended in International Mathematics and Science Study : TIMSS) จัดโดย The International Association for the Evaluation of Educational Achievement : IEA มีประเทศ เข้าร่วมโครงการประมาณ 60 ประเทศ คะแนนของนักเรียนไทยโดยเฉลี่ย ต�่ำกว่าค่าเฉลี่ยของนักเรียนนานาชาติมากเช่นกัน จากข้อมูลดังกล่าวท�ำให้สังคมทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ สรุปและเชือว่าคุณภาพการศึกษาของประเทศไทยเมือเทียบกับคุณภาพการศึกษา ่ ่ ของนานาชาติยงอยู่ในระดับต�ำ ซึงส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์และความเชือมัน ั ่ ่ ่ ่ ที่ต่างชาติมีต่อประเทศไทย ตลอดจนการลงทุนของต่างชาติในประเทศไทยมาก จึ ง จ� ำ เป็ น ต้ อ งพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง การศึ ก ษาไทยให้ มี คุ ณ ภาพทั ด เที ย มกั บ การศึกษาของนานาชาติ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงได้พิจารณาทบทวน จุดที่เป็นปัญหาในการด�ำเนินงานของโรงเรียนมาตรฐานสากล และพัฒนา ปรับปรุงแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดหลักสูตรการจัดการเรียนการสอน และ การบริหารจัดการส�ำหรับโรงเรียนในโครงการ โดยเริ่มต้นใช้ในปีการศึกษา 2555 ทั้งนี้ เพื่อให้การพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียนมาตรฐานสากลเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
  • 17. 2 ลักษณะของโรงเรียนมาตรฐานสากล โรงเรียนมำตรฐำนสำกล หมำยถึง โรงเรียนที่มีกำรพัฒนำหลักสูตร กำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอน และกำรบริหำรจัดกำรด้วยระบบคุณภำพ ที่ มุ ่ ง เน้ น กำรพั ฒ นำผู ้ เ รี ย นให้ มี ศั ก ยภำพเป็ น พลโลก มี ทั ก ษะ ควำมรู ้ ควำมสำมำรถ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับเดียวกับมำตรฐำน สำกลหรือมำตรฐำนของประเทศชั้นน�ำที่มีคุณภำพกำรศึกษำสูง สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ของหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 ที่มุ่งเน้นกำรพัฒนำคุณภำพเยำวชนส�ำหรับยุคศตวรรษที่ 21 ตำมปฏิญญำ ว่ำด้วยกำรจัดกำรศึกษำของ UNESCO ทั้ง 4 ด้ำน คือ Learning to know, Learning to do, Learning to live together and Learning to be แ น วท า งก า ร จั ด ก า ร เ รี ยน ก า รส อน ใ น โ รง เรี ยน ม า ต รฐา น ส า ก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง ส่วนน�ำ 11
  • 18. 3 แน ว ทา งก าร จั ดก าร เรี ยน ก ารส อ นใ น โ รง เรี ยน ม า ตรฐ า น ส าก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง 12 การด�ำเนินงานของโรงเรียนมาตรฐานสากล การด�ำเนินงานของโรงเรียนมาตรฐานสากล จะประสบความส�ำเร็จได้ จะต้องมีการพัฒนาหลายมิติไปพร้อมกัน โดยจะต้องด�ำเนินการทั้งระบบ คือ ด้านหลักสูตร ด้านการจัดการเรียนการสอน และด้านการบริหารจัดการ มิใช่ เป็นการจัดการศึกษาเพียงบางส่วนของโรงเรียน หรือเพียงจัดเป็นแผนการเรียน มาตรฐานสากล การจั ด การศึ ก ษาของโรงเรี ย นมาตรฐานสากลจะต้ อ งมี จุดมุ่งหมายและทิศทางที่ชัดเจน ดังนี้ 3.1 เพือยกระดับการจัดการเรียนการสอนให้เทียบเคียงมาตรฐานสากล ่ หรือมาตรฐานของประเทศชั้นน�ำที่มีคุณภาพการศึกษาสูง ได้แก่ ประเทศ ที่ประสบความส�ำเร็จสูงในการเข้าร่วมโครงการ PISA หรือ TIMSS โดยค�ำนึง ถึงความแตกต่างของผู้เรียนทางด้านสติปัญญา ความสามารถ และความถนัด มีการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมในการเพิ่มพูนศักยภาพของผู้เรียน ส่งเสริม พหุปัญญาของผู้เรียน บนพื้นฐานของความเข้าใจและรู้ใจ มีการใช้กระบวนการ คัดกรองในระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อให้สามารถพัฒนา ไปสู่จุดสูงสุดแห่งศักยภาพ 3.2 เพื่อยกระดับการบริหารจัดการของโรงเรียนให้มีการบริหารด้วย ระบบคุณภาพตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (Thailand Quality Award : TQA) ทังนีเ้ พือให้การพัฒนาศักยภาพของโรงเรียนด�ำเนินไปตามมาตรฐานสากล ้ ่ หรือมาตรฐานของประเทศชั้นน�ำที่มีคุณภาพการศึกษาสูงทั้งหลาย
  • 19. แต่ ในสภำพควำมเป็นจริงกำรด�ำเนินงำนโรงเรียนมำตรฐำนสำกล ของส�ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขันพืนฐำน พบว่ำ โรงเรียนมำตรฐำนสำกล ้ ้ มีควำมแตกต่ำงกันทั้งบริบท ศักยภำพ ขนำดโรงเรียน รวมทั้งสภำพแวดล้อม อื่น ๆ ดั ง นั้ น เพื่ อ ให้ ก ำรบริ ห ำรจั ด กำรด้ ว ยระบบคุ ณ ภำพของโรงเรี ย น เกิดกำรพัฒนำ จึงก�ำหนดให้มกำรบริหำรจัดกำรด้วยระบบคุณภำพเป็น 3 ระดับ คือ ี ระดับที่ 1 กำรบริหำรจัดกำรระบบคุณภำพ ระดับโรงเรียน (School Quality Award : SCQA) ระดับที่ 2 กำรบริหำรจัดกำรระบบคุณภำพ ระดับส�ำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน (Office of the Basic Education Commission Quality Award : OBECQA) ระดับที่ 3 กำรบริหำรจัดกำรระบบคุณภำพ ระดับชำติ (Thailand Quality Award : TQA) ทั้งนี้ หวังว่ำรูปแบบและแนวทำงกำรบริหำรจัดกำรระบบคุณภำพ ในแต่ละระดับจะท�ำให้โรงเรียนเกิดกำรพัฒนำอย่ำงมีขนตอนสอดคล้องกับสภำพ ั้ ปัจจุบัน และบริบทของโรงเรียน 3.3 เพื่อพัฒนำผู้เรียนให้มีศักยภำพเป็นพลโลก โดยเน้นควำมเป็นเลิศ ทำงวิชำกำร สื่อสำรสองภำษำ ล�้ำหน้ำทำงควำมคิด ผลิตงำนอย่ำงสร้ำงสรรค์ และร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก แ น วท า งก า ร จั ด ก า ร เ รี ยน ก า รส อน ใ น โ รง เรี ยน ม า ต รฐา น ส า ก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง ส่วนน�ำ 13
  • 20. 4 ความส�ำเร็จของโรงเรียนมาตรฐานสากล ความส�ำเร็จขั้นสุดท้ายของโรงเรียนมาตรฐานสากล คือ คุณภาพของ ผู้เรียน โรงเรียนที่ได้รับการประเมินว่ามีหลักสูตร กิจกรรมการเรียนการสอน และการบริหารจัดการที่ดีเยี่ยม แต่การประเมินคุณภาพของผู้เรียนยังไม่ผ่าน เกณฑ์ตามที่โรงเรียนได้ก�ำหนดไว้ ก็ไม่ถือว่าโรงเรียนนั้นประสบความส�ำเร็จ ในการเป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล ความส�ำเร็จของโรงเรียนในการด�ำเนินงานตามโครงการโรงเรียน มาตรฐานสากลจะพิจารณาจากคุณภาพของผู้เรียนที่เพิ่มขึ้นตามเป้าหมาย ที่แต่ละโรงเรียนก�ำหนดและท�ำความตกลงไว้กับโครงการเป็นส�ำคัญ ความส�ำเร็จด้านการพัฒนาหลักสูตร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และการบริหารจัดการโรงเรียนด้วยระบบบริหารคุณภาพ ถือเป็นความส�ำเร็จ ในการด� ำ เนิ น งานของโรงเรี ย นมาตรฐานสากล บนพื้ น ฐานความเชื่ อว่ า ถ้าโรงเรียนมีหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และมีระบบการบริหารจัดการ โรงเรียนที่ดี ก็จะช่วยท�ำให้ผู้เรียนมีคุณภาพที่ดีขึ้นเป็นล�ำดับ ความส�ำเร็จของการด�ำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากลสรุปได้ ดังนี้ เป็นเลิศวิชาการ แน ว ทา งก าร จั ดก าร เรี ยน ก ารส อ นใ น โ รง เรี ยน ม า ตรฐ า น ส าก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง 14 สื่อสารสองภาษา ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ ล�้ำหน้าทางความคิด ผู้เรียนมีศักยภาพ เป็นพลโลก ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก ผู้เรียน หลักสูตรและกิจกรรม การเรียนการสอน ครู การบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ ตามเกณฑ์ระดับคุณภาพแห่งชาติ (Thailand Quality Award : TQA) ระดับคุณภาพ สพฐ. (Office of the Basic Education Commission Quality Award : OBECQA) ระดับคุณภาพโรงเรียน (School Quality Award : SCQA)
  • 21. ส่วนน�ำ เปาหมายความส�าเร็จในการด�าเนินงานด้านผู้เรียน เป้ ำ หมำยและตั ว ชี้ วั ด ควำมส� ำ เร็ จ ในกำรด� ำ เนิ น งำนด้ ำ นผู ้ เ รี ย น ของโรงเรียนมำตรฐำนสำกล มี 5 เป้ำหมำย แต่ละเป้ำหมำยจะมีตัวชี้วัด ควำมส�ำเร็จที่แตกต่ำงกันไป ในแต่ละปีกำรศึกษำโรงเรียนหรือผู้ด�ำเนินกำร อำจพิ จำรณำปรั บ ลด เพิ่ ม ตั ว ชี้ วั ด ให้ มี ควำมเหมำะสม สอดคล้ อ งกั บ สภำพกำรณ์ต่ำง ๆ ของปีนั้น ๆ ให้มำกยิ่งขึ้นต่อไป เป้ำหมำยด้ำนผู้เรียนแต่ละข้อได้ระบุด้วยว่ำ โครงกำรมีวัตถุประสงค์ ที่จะพัฒนำคุณภำพของนักเรียนของโครงกำรโรงเรียนมำตรฐำนสำกลให้อยู่ ในระดับเดียวกับนักเรียนของประเทศทีมคณภำพกำรศึกษำสูง ซึงได้แก่ประเทศ ่ีุ ่ ที่มีผลกำรประเมิน PISA อยู่ในกลุ่มสูง ในอนำคตโครงกำรจะได้จดให้มกำรประเมินคุณภำพด้ำนต่ำง ๆ ของนักเรียน ั ี โรงเรียนมำตรฐำนสำกล เทียบกับคุณภำพนักเรียนของประเทศที่มีคุณภำพ กำรศึกษำสูงดังกล่ำวด้วย แ น วท า งก า ร จั ด ก า ร เ รี ยน ก า รส อน ใ น โ รง เรี ยน ม า ต รฐา น ส า ก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง 5 15
  • 22. ควำมส�ำเร็จของโครงกำรโรงเรียนมำตรฐำนสำกลอีกมุมมองหนึ่ง สำมำรถพิจำรณำได้จำกผลกำรเข้ำร่วมโครงกำรประเมินผลนำนำชำติ ซึ่งใน ปัจจุบันประเทศไทยเข้ำร่วมอยู่ 2 โครงกำร คือ 1. โครงกำรประเมินผลนักเรียนนำนำชำติ (PISA) จัดโดย OECD 2. โครงกำรกำรศึกษำแนวโน้มกำรจัดกำรศึกษำด้ำนคณิตศำสตร์ และวิทยำศำสตร์ระดับนำนำชำติ (TIMSS) จัดโดย IEA ทั้งโครงกำร PISA และโครงกำร TIMSS จะด�ำเนินกำรครั้งต่อไป ในปี พ.ศ. 2558 ดังนั้นตัวชี้วัดควำมส�ำเร็จของโครงกำรโรงเรียนมำตรฐำนสำกล ที่ส�ำคัญมำกอีกข้อหนึ่งคือ นักเรียนโรงเรียนมาตรฐานสากลทีได้รบการสุมเข้าสอบโครงการ PISA ่ ั ่ หรื อ TIMSS ในป พ.ศ. 2558 มี ค ะแนนผลการสอบโดยเฉลี่ ย ไม่ ต�่ า กว่ าคะแนนเฉลี่ย ของนัก เรีย นนานาชาติที่เข้าร่วมโครงการ PISA หรือ TIMSS ในปเดียวกัน แน ว ทา งก าร จั ดก าร เรี ยน ก ารส อ นใ น โ รง เรี ยน ม า ตรฐ า น ส าก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง 16
  • 23. กำรประเมินตัวชี้วัดควำมส�ำเร็จหลำยข้อ ได้ก�ำหนดให้มีกำรสร้ำง เครื่องมือกลำงในกำรทดสอบขึ้นเป็นกำรเฉพำะด้วย เนื่องจำกกำรทดสอบทำง กำรศึกษำระดับชำติขั้นพื้นฐำน (O-NET) เป็นกำรวัดขั้นพื้นฐำนตำมหลักสูตร แต่เป้ำหมำยของโรงเรียนมำตรฐำนสำกลก�ำหนดไว้สูงกว่ำนั้น นอกจำกนั้น กำรทดสอบทำงกำรศึกษำระดับชำติขนพืนฐำน (O-NET) มีขอจ�ำกัดหลำยประกำร ั้ ้ ้ จ�ำเป็นต้องใช้แบบทดสอบแบบเลือกตอบเป็นส่วนใหญ่ จึงยังไม่สำมำรถวัดทักษะ คุณลักษณะและพฤติกรรมบำงด้ำนได้อย่ำงชัดเจน แบบทดสอบกลำงที่สร้ำงขึ้นจะมีกำรถำมให้นักเรียนได้ แสดงเหตุ และผล วิธคด และวิธทำ นอกจำกนันจะจัดให้มกำรทดสอบภำคปฏิบติ กำรสัมภำษณ์ ีิ ี� ้ ี ั กำรพูดคุยกับนักเรียน และหรือวิธีกำรอื่น ๆ ที่เหมำะสม แ น วท า งก า ร จั ด ก า ร เ รี ยน ก า รส อน ใ น โ รง เรี ยน ม า ต รฐา น ส า ก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง ส่วนน�ำ 17
  • 24. เป้ำหมำยและตัวชีวดควำมส�ำเร็จด้ำนผูเ้ รียน ในกำรด�ำเนินงำนโรงเรียน ้ั มำตรฐำนสำกล มี 5 เป้ำหมำย ดังนี้ 1. เปนเลิศทางวิชาการ : นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนด้ำนต่ำง ๆ อยู่ในระดับสูง เทียบได้ ไม่ต�่ำกว่ำนักเรียนของประเทศที่มีคุณภำพกำรศึกษำสูง 2. สื่อสารสองภาษา : นักเรียนมีทักษะและควำมสำมำรถด้ำนภำษำอยู่ในระดับสูง เทียบได้ ไม่ต�่ำกว่ำนักเรียนของประเทศที่มีคุณภำพกำรศึกษำสูง 3. ล�้าหน้าทางความคิด : นั ก เรี ย นมี ทั ก ษะและควำมสำมำรถในกำรคิ ด และทั ก ษะและ ควำมช�ำนำญในกำรใช้ ICT ในระดับสูง เทียบได้ไม่ต�่ำกว่ำนักเรียนของประเทศ ที่มีคุณภำพกำรศึกษำสูง 4. ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ : แน ว ทา งก าร จั ดก าร เรี ยน ก ารส อ นใ น โ รง เรี ยน ม า ตรฐ า น ส าก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง 18 นักเรียนมีทกษะและควำมสำมำรถเกียวกับกำรศึกษำค้นคว้ำตนเอง ั ่ (Independent Study) และมีศักยภำพ ทักษะ และควำมสำมำรถในกำรผลิต ผลงำนต่ำง ๆ อย่ำงมีคณภำพ เทียบได้ไม่ตำกว่ำนักเรียนของประเทศทีมคณภำพ ุ �่ ่ีุ กำรศึกษำสูง 5. ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก : นักเรียนมีควำมรู้ควำมเข้ำใจเกี่ยวกับวิถีชีวิต วัฒนธรรม และ ลักษณะเฉพำะของชำติต่ำง ๆ ในระดับสูง มีควำมมุ่งมั่นจริงจังในกำรท�ำงำน ไม่ย่อท้อต่อปัญหำอุปสรรค มีจิตสำธำรณะ มีส�ำนึกในกำรบริกำรสังคม และ มีควำมรับผิดชอบต่อสังคมอยู่ในระดับสูง เทียบได้ไม่ตำกว่ำนักเรียนของประเทศ �่ ที่มีคุณภำพกำรศึกษำสูง
  • 25. แ น วท า งก า ร จั ด ก า ร เ รี ยน ก า รส อน ใ น โ รง เรี ยน ม า ต รฐา น ส า ก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง หลักสูตรและกำรจัดกำรเรียนกำรสอนในโรงเรียน 19 หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน ในโรงเรียน ตอนที่ 2
  • 26. แน ว ทา งก าร จั ดก าร เรี ยน ก ารส อ นใ น โ รง เรี ยน ม า ตรฐ า น ส าก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง 20
  • 27. คุณลักษณะและศักยภาพผู้เรียนที่เปนสากล กำรจัดกำรเรียนกำรสอนในโรงเรียนมำตรฐำนสำกล มุ่งเน้นกำร เสริมสร้ำงควำมรู้ ควำมสำมำรถ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน ในศตวรรษที่ 21 สอดคล้ อ งกั บ หลั ก สู ต รแกนกลำงกำรศึ ก ษำขั้ น พื้ น ฐำน พุทธศักรำช 2551 และเป็นไปตำมปฏิญญำว่ำด้วยกำรจัดกำรศึกษำของ UNESCO ได้แก่ Learning to know : หมำยถึง กำรเรียนเพื่อให้มีควำมรู้ในสิ่งต่ำง ๆ อันจะเป็นประโยชน์ ต่อไป ได้แก่ กำรรู้จักกำรแสวงหำควำมรู้ กำรต่อยอดควำมรู้ที่มีอยู่ และรวมทั้ง กำรสร้ำงควำมรู้ขึ้นใหม่ Learning to do : หมำยถึง กำรเรียนเพือกำรปฏิบตหรือลงมือท�ำ ซึงน�ำไปสูกำรประกอบ ่ ัิ ่ ่ อำชีพจำกควำมรู้ที่ได้ศึกษำมำ รวมทั้งกำรปฏิบัติเพื่อสร้ำงประโยชน์ให้สังคม Learning to live together : หมำยถึง กำรเรียนรู้เพื่อกำรด�ำเนินชีวิตอยู่ร่วมกับคนอื่นได้อย่ำง มีควำมสุขทั้งกำรด�ำเนินชีวิตในกำรเรียน ครอบครัว สังคม และกำรท�ำงำน Learning to be : หมำยถึง กำรเรียนรู้เพื่อให้รู้จักตัวเองอย่ำงถ่องแท้ รู้ถึงศักยภำพ ควำมถนัด ควำมสนใจของตนเอง สำมำรถใช้ควำมรู้ควำมสำมำรถของตนเอง ให้เกิดประโยชน์ตอสังคม เลือกแนวทำงกำรพัฒนำตนเองตำมศักยภำพ วำงแผน ่ กำรเรียนต่อ กำรประกอบอำชีพที่สอดคล้องกับศักยภำพของตนเองได้ แ น วท า งก า ร จั ด ก า ร เ รี ยน ก า รส อน ใ น โ รง เรี ยน ม า ต รฐา น ส า ก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง หลักสูตรและกำรจัดกำรเรียนกำรสอนในโรงเรียน 21
  • 28. ทั้งนี้เพื่อพัฒนำผู้เรียนให้มีคุณภำพ ทั้งในฐำนะพลเมืองไทยและ พลเมืองโลกเทียบเคียงกับนำนำอำรยประเทศ โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีศักยภำพ ที่ส�ำคัญ ดังนี้ 1) ความรู้พื้นฐานในยุคดิจิทัล มีควำมรูพนฐำนทีจำเป็นทำงวิทยำศำสตร์ เศรษฐศำสตร์ เทคโนโลยี ้ ื้ ่� รูภำษำ ข้อมูล และทัศนภำพ รูพหุวฒนธรรมและมีควำมตระหนักส�ำนึกระดับโลก ้ ้ ั 2) ความสามารถคิดประดิษฐ์อย่างมีความสามารถในการปรับตัว สำมำรถจัดกำรกับสภำวกำรณ์ที่มีควำมซับซ้อน เป็นบุคคลที่ใฝ่รู้ สำมำรถก�ำหนด/ตั้งประเด็นค�ำถำม เพื่อน�ำไปสู่กำรศึกษำค้นคว้ำ แสวงหำ ควำมรู้ มีควำมสำมำรถในกำรคิดวิเครำะห์ คิดสังเครำะห์ ข้อมูล สำรสนเทศ และสรุ ป องค์ ควำมรู ้ ใช้ ข ้ อ มู ล เพื่ อ กำรตั ด สิ น ใจเกี่ ย วกั บ ตนเองและสั ง คม ได้อย่ำงเหมำะสม 3) ทักษะการสื่อสารอย่างมีประสิทธิผล แน ว ทา งก าร จั ดก าร เรี ยน ก ารส อ นใ น โ รง เรี ยน ม า ตรฐ า น ส าก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง 22 ควำมสำมำรถในกำรรับและส่งสำร กำรเลือกรับหรือไม่รับข้อมูล ข่ำวสำรด้วยหลักเหตุผลและควำมถูกต้อง มีวัฒนธรรมในกำรใช้ภำษำถ่ำยทอด ควำมคิด ควำมรู้ ควำมเข้ำใจ ควำมรู้สึก และทัศนะของตนเอง เพื่อแลกเปลี่ยน ข้อมูลข่ำวสำรและประสบกำรณ์ อันจะเป็นประโยชน์ต่อกำรพัฒนำตนเองและ สังคม รวมทั้งมีทักษะในกำรเจรจำต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหำควำมขัดแย้ง ต่ำง ๆ ตลอดจนสำมำรถเลือกใช้วิธีกำรสื่อสำรที่มีประสิทธิภำพโดยค�ำนึงถึง ผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ควำมสำมำรถในกำรน�ำกระบวนกำรต่ำง ๆ ไปใช้ในกำรด�ำเนินชีวิต ประจ�ำวัน กำรเรียนรู้ด้วยตนเอง กำรเรียนรู้อย่ำงต่อเนื่อง เข้ำใจควำมสัมพันธ์ และกำรเปลี่ยนแปลงของเหตุกำรณ์ต่ำง ๆ ในสังคม สำมำรถจัดกำรปัญหำและ ควำมขัดแย้งต่ำง ๆ อย่ำงเหมำะสม น�ำไปสู่กำรปฏิบัติและน�ำไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ต่อสังคม บริกำรสำธำรณะ ซึ่งหมำยถึงกำรเป็นพลเมืองไทยและ พลเมืองโลก 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี กำรสืบค้นหำควำมรู้จำกแหล่งเรียนรู้และวิธีกำรที่หลำกหลำย เลือกและใช้เทคโนโลยีด้ำนต่ำง ๆ และมีทักษะกระบวนกำรทำงเทคโนโลยี เพื่อกำรพัฒนำตนเองและสังคม ในด้ำนกำรเรียนรู้ กำรสื่อสำร กำรท�ำงำน กำรแก้ปัญหำอย่ำงสร้ำงสรรค์ ถูกต้อง เหมำะสม และมีคุณธรรม
  • 29. การจัดท�ำหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนสู่สากล การที่ผู้เรียนจะได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพดังกล่าว ย่อมต้องอาศัย หลักสูตรสถานศึกษาทีเ่ หมาะสม คือ จะต้องได้รบการออกแบบอย่างดี มีเป้าหมาย ั และกระบวนการด�ำเนินงานที่เป็นระบบ ด้วยความร่วมมือของบุคลากรทุกฝ่าย ในโรงเรียน หลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนมาตรฐานสากลเป็นหลักสูตร ที่ ใช้เป็นเป้าหมายและทิศทางในการยกระดับการจัดการศึกษาทั้งโรงเรียน มิใช่การจัดในลักษณะของแผนการเรียนส�ำหรับผูเ้ รียนเพียงบางส่วน การออกแบบ หลักสูตรจะต้องสอดคล้องกับหลักการและแนวคิดของหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งผู้เรียนจะได้รับการพัฒนาคุณภาพ บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ และกิจกรรม พัฒนาผู้เรียนที่ก�ำหนด มีการพัฒนาต่อยอดคุณลักษณะที่เทียบเคียงกับสากล ทั้งในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยโรงเรียนพิจารณาให้สอดคล้อง เหมาะสมกับสภาพความพร้อม และจุดเน้น ของโรงเรียน แ น วท า งก า ร จั ด ก า ร เ รี ยน ก า รส อน ใ น โ รง เรี ยน ม า ต รฐา น ส า ก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง หลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน 23
  • 30. กระบวนการพัฒนาผู้เรียนสู่คุณภาพที่คาดหวัง กำรจัดกำรเรียนกำรสอนเพื่อให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและศักยภำพ ควำมเป็นสำกล คือ เป็นบุคคลทีมคณภำพ มีทกษะในกำรค้นคว้ำ แสวงหำควำมรู้ ่ีุ ั และมีควำมรู้พื้นฐำนที่จ�ำเป็น สำมำรถคิดวิเครำะห์ สังเครำะห์ สร้ำงสรรค์ สำมำรถสื่อสำรอย่ำงมีประสิทธิผล มีทักษะชีวิต ร่วมมือในกำรท�ำงำนกับผู้อื่น ได้เป็นอย่ำงดี จะต้องมีกระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้อย่ำงต่อเนื่อง มีล�ำดับขั้นตอน ที่เหมำะสม และสอดคล้องกับพัฒนำกำรของผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น โดยมี กระบวนส�ำคัญในกำรจัดกำรเรียนรู้ เรียกว่ำ “บันได 5 ขั้นของกำรพัฒนำผู้เรียน สู่มำตรฐำนสำกล (Five steps for student development)” ได้แก่ 1. การตั้งค�าถาม/สมมติฐาน (Hypothesis Formulation) เป็นกำรฝึกให้ผู้เรียนรู้จักคิด สังเกต ตั้งค�ำถำมอย่ำงมีเหตุผล และสร้ำงสรรค์ ซึงจะส่งเสริมให้ผเู้ รียนเกิดกำรเรียนรูในกำรตังค�ำถำม (Learning ่ ้ ้ to Question) 2. การสืบค้นความรู้และสารสนเทศ (Searching for Information) แน ว ทา งก าร จั ดก าร เรี ยน ก ารส อ นใ น โ รง เรี ยน ม า ตรฐ า น ส าก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง 24 เป็นกำรฝึกแสวงหำควำมรู้ ข้อมูล และสำรสนเทศ จำกแหล่งเรียน รู้อย่ำงหลำกหลำย เช่น ห้องสมุด อินเทอร์เน็ต หรือจำกกำรฝึกปฏิบัติ ทดลอง เป็นต้น ซึงจะส่งเสริมเกิดกำรเรียนรูในกำรแสวงหำควำมรู้ (Learning to Search) ่ ้ 3. การสร้างองค์ความรู้ (Knowledge Formation) เป็นกำรฝึกให้ผเู้ รียนน�ำควำมรูและสำรสนเทศที่ได้จำกกำรแสวงหำ ้ ควำมรู้ มำถกแถลง อภิปรำย เพือน�ำไปสูกำรสรุปและสร้ำงองค์ควำมรู้ (Learning ่ ่ to Construct) 4. การสื่อสารและน�าเสนออย่างมีประสิทธิภาพ (Effective Communication) เป็นกำรฝึกให้ผู้เรียนน�ำควำมรู้ที่ได้มำสื่อสำรอย่ำงมีประสิทธิภำพ ซึ่งจะส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้และมีทักษะในกำรสื่อสำร (Learning to Communicate) 5. การบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Public Service) เป็นกำรน�ำควำมรู้สู่กำรปฏิบัติ ซึ่งผู้เรียนจะต้องเชื่อมโยงควำมรู้ ไปสู่กำรท�ำประโยชน์ ให้กับสังคมและชุมชนรอบตัวตำมวุฒิภำวะของผู้เรียน และจะส่งผลให้ผู้เรียนมีจิตสำธำรณะและบริกำรสังคม (Learning to Serve)
  • 31. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study : IS) เครื่องมือส�าคัญในการพัฒนา กำรจัดกระบวนกำรเรียนรู้ตำมบันได 5 ขั้น สำมำรถด�ำเนินกำรได้ หลำกหลำยวิธีและกำรให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้สำระกำรศึกษำค้นคว้ำด้วยตนเอง (Independent Study : IS) นับเป็นวิธีกำรที่มีประสิทธิภำพวิธีหนึ่งที่ใช้อย่ำง กว้ำงขวำงในกำรพัฒนำผูเ้ รียน เพรำะเป็นกำรเปิดโลกกว้ำงให้ผเู้ รียนได้ศกษำค้นคว้ำ ึ อย่ำงอิสระในเรื่องหรือประเด็นที่ตนสนใจ เริ่มตั้งแต่กำรก�ำหนดประเด็นปัญหำ ซึ่งอำจเป็น Public Issue และ Global Issue และด�ำเนินกำรค้นคว้ำแสวงหำ ควำมรู้จำกแหล่งข้อมูลที่หลำกหลำย มีกำรวิเครำะห์ สังเครำะห์ กำรอภิปรำย แลกเปลี่ยนควำมคิดเห็น เพื่อน�ำไปสู่กำรสรุปองค์ควำมรู้ จำกนั้นก็หำวิธีกำร ที่เหมำะสมในกำรสื่อสำรน�ำเสนอให้ผู้อื่นได้รับทรำบ และสำมำรถน�ำควำมรู้ หรือประสบกำรณ์ที่ได้จำกกำรศึกษำค้นคว้ำไปท�ำประโยชน์แก่สำธำรณะ ซึ่ง สิ่งเหล่ำนี้เป็นกระบวนกำรที่เชื่อมโยงต่อเนื่องกันตลอดแนว ภำยใต้สำระ “กำรศึกษำค้นคว้ำด้วยตนเอง (Independent Study : IS)” ซึ่งแบ่งเป็น 3 สำระ ประกอบด้วย IS 1- การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (Research and Knowledge Formation) เป็นสำระที่มุ่งให้ผู้เรียนก�ำหนดประเด็นปัญหำ ตั้งสมมติฐำน ค้นคว้ำ แสวงหำควำมรู้และฝึกทักษะกำรคิดวิเครำะห์ สังเครำะห์ และสร้ำงองค์ควำมรู้ IS 2- การสื่อสารและการน�าเสนอ (Communication and Presentation) เป็นสำระทีมงให้ผเู้ รียนน�ำควำมรูที่ได้รบ มำพัฒนำวิธกำรกำรถ่ำยทอด/ ่ ุ่ ้ ั ี สือสำรควำมหมำย/แนวคิด ข้อมูลและองค์ควำมรู้ ด้วยวิธกำรน�ำเสนอทีเ่ หมำะสม ่ ี หลำกหลำยรูปแบบ และมีประสิทธิภำพ IS 3- การน�าองค์ความรู้ไปใช้บริการสังคม (Social Service Activity) เป็นสำระที่มุ่งให้ผู้เรียน น�ำองค์ควำมรู้/ประยุกต์ ใช้องค์ควำมรู้ไปสู่ กำรปฏิบัติ หรือน�ำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม เกิดบริกำรสำธำรณะ (Public Service) แ น วท า งก า ร จั ด ก า ร เ รี ยน ก า รส อน ใ น โ รง เรี ยน ม า ต รฐา น ส า ก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง หลักสูตรและกำรจัดกำรเรียนกำรสอนในโรงเรียน 25
  • 32. แน ว ทา งก าร จั ดก าร เรี ยน ก ารส อ นใ น โ รง เรี ยน ม า ตรฐ า น ส าก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง 26 โรงเรียนต้องน�ำสาระ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study : IS) ไปสู ่ การเรี ย นการสอน ด้ ว ยการจั ด ท� ำ รายวิ ช า ออกแบบ หน่วยการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามแนวทางที่ก�ำหนด โดย พิจารณาให้สอดคล้องกับบริบท วัยและพัฒนาการของผูเ้ รียน ซึงอาจแตกต่างกัน ่ ในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย ตัวอย่าง รายละเอียดน�ำเสนอตามเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนที่ก�ำหนด
  • 33. หลักสูตรและกำรจัดกำรเรียนกำรสอนในโรงเรียน กำรพัฒนำผู้เรียนผ่ำนสำระกำรศึกษำค้นคว้ำด้วยตนเอง (Independent Study : IS) ครูผู้สอน จะต้องพิจำรณำให้เหมำะสมกับวัยและพัฒนำกำรของผู้เรียน กิจกรรมกำรเรียนรู้ ควำมยำก-ง่ำยของชิ้นงำน หรือภำระงำนที่ปฏิบัติจะต้องเหมำะสม เป้ำหมำยคุณภำพผู้เรียนแต่ละระดับที่ก�ำหนดนี้ เป็นเป้ำหมำยและ กรอบทิศทำงที่ครูจะใช้ในกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนกำรสอนและกำรวัดและประเมินผล เปาหมายคุณภาพผู้เรียนในสาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ระดับประถมศึกษำ ป.1 - 3 ป.4 - 6 คุณภำพผู้เรียน 1. กำรตั้งประเด็น ค�ำถำม/สมมติฐำน อย่ำงมีเหตุผล (Hypothesis Formulation) › ตั้งค�ำถำม ข้อสงสัยเกี่ยวกับ สิ่งใกล้ตัว ตั้งประเด็น/ค�ำถำม เกี่ยวกับ เรื่องรำว ง่ำย ๆ สิ่งแวดล้อม หรือบุคคลใกล้ตัว › ตั้งสมมติฐำน ตำมจินตนำกำร ของตนเองและ/หรือ ตำมควำมรู้ และประสบกำรณ์ ของตน › ระดับมัธยมศึกษำ ตอนต้น ตั้งประเด็นค�ำถำม ในเรื่องที่ตนสนใจ โดยเริ่มจำกตัวเอง เชื่อมโยงกับชุมชน ท้องถิ่น ประเทศ › ตั้งสมมติฐำนและ ให้เหตุผล โดยใช้ ควำมรู้จำกสำขำ วิชำต่ำง ๆ › ระดับมัธยมศึกษำ ตอนปลำย ตั้งประเด็น/ค�ำถำม เกี่ยวกับสถำนกำรณ์ ปัจจุบัน และ สังคมโลก › ตั้งสมมติฐำน และให้เหตุผล ที่สนับสนุนหรือ โต้แย้งประเด็น ควำมรู้ โดยใช้ ควำมรู้จำกสำขำ วิชำต่ำง ๆ และ มีทฤษฎีรองรับ › แ น วท า งก า ร จั ด ก า ร เ รี ยน ก า รส อน ใ น โ รง เรี ยน ม า ต รฐา น ส า ก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง เปาหมายคุณภาพผู้เรียนในสาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 27
  • 34. เปาหมายคุณภาพผู้เรียนในสาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (ต่อ) ระดับประถมศึกษำ ป.1 - 3 ป.4 - 6 คุณภำพผู้เรียน 2. กำรสืบค้นควำมรู้ จำกแหล่งเรียนรู้ และสำรสนเทศ หรือจำกกำรปฏิบัติ ทดลอง (Searching for Information) แน ว ทา งก าร จั ดก าร เรี ยน ก ารส อ นใ น โ รง เรี ยน ม า ตรฐ า น ส าก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง 28 ศึกษำ ค้นคว้ำ แสวงหำข้อมูล ค�ำตอบจำกบุคคล ใกล้ตัว/แหล่งข้อมูล พื้นฐำนง่ำย ๆ › จัดล�ำดับขั้นตอน ในกำรรวบรวม ข้อมูล › ท�ำงำนบรรลุผล ส�ำเร็จภำยใต้กำร ดูแล ก�ำกับ และ ช่วยเหลือของครู อย่ำงใกล้ชิด › ศึกษำ ค้นคว้ำ แสวงหำข้อมูล ค�ำตอบจำกสมมติฐำน ที่ตั้งไว้จำกแหล่ง ค้นคว้ำใกล้ตัว (เช่น บุคคล หนังสือ หนังสือพิมพ์ กำรปฏิบัติทดลอง หรืออื่น ๆ) › ออกแบบ วำงแผน อย่ำงง่ำยในกำร รวบรวมและล�ำดับ ขั้นตอนกำรเก็บ ข้อมูล › ท�ำงำนบรรลุผล ส�ำเร็จภำยใต้กำร ดูแล ก�ำกับ และ ช่วยเหลือของครู อย่ำงใกล้ชิด › ระดับมัธยมศึกษำ ตอนต้น ศึกษำ ค้นคว้ำ แสวงหำควำมรู้ เกี่ยวกับสมมติฐำน ที่ตั้งไว้จำกแหล่ง เรียนรู้หลำกหลำย (เช่น ห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ ทำงออนไลน์ วำรสำร กำรปฏิบัติ ทดลอง หรืออื่น ๆ) › ออกแบบ วำงแผน รวบรวมข้อมูล โดยใช้กระบวนกำร รวบรวมข้อมูลอย่ำง มีประสิทธิภำพ › ใช้กระบวนกำรกลุ่ม ในกำรแลกเปลี่ยน ควำมคิดเห็นโดย ใช้ควำมรู้จำกสำขำ วิชำต่ำง ๆ เพื่อให้ ได้ข้อมูลที่ครบถ้วน สมบูรณ์ › ท�ำงำนบรรลุผล ตำมเป้ำหมำย ภำยในกรอบกำร ด�ำเนินงำนที่ก�ำหนด โดยกำรดูแล ก�ำกับ และช่วยเหลือของ ครูอย่ำงต่อเนื่อง › ระดับมัธยมศึกษำ ตอนปลำย ศึกษำ ค้นคว้ำ หำควำมรู้ ข้อมูล และสำรสนเทศ โดยระบุแหล่งเรียนรู้ ทั้งปฐมภูมิ และ ทุติยภูมิ › ออกแบบ วำงแผน รวบรวมข้อมูล โดยใช้กระบวนกำร รวบรวมข้อมูล อย่ำงมีประสิทธิภำพ › ใช้กระบวนกำร กลุ่มแลกเปลี่ยน ควำมคิดเห็นโดยใช้ ควำมรู้จำกสำขำ วิชำต่ำง ๆ และ พิจำรณำควำม น่ำเชื่อถือของ แหล่งเรียนรู้อย่ำงมี วิจำรณญำณเพื่อให้ ได้ข้อมูลที่ครบถ้วน สมบูรณ์ › ท�ำงำนบรรลุผล ตำมเป้ำหมำยอย่ำง มีประสิทธิภำพ โดยค�ำแนะน�ำของ ครูที่ให้ค�ำปรึกษำ อย่ำงต่อเนื่อง ›
  • 35. หลักสูตรและกำรจัดกำรเรียนกำรสอนในโรงเรียน คุณภำพผู้เรียน ระดับประถมศึกษำ ป.1 - 3 ป.4 - 6 3. กำรสรุปองค์ › บอกสำระส�ำคัญ ควำมรู้ (Knowledge ของสิ่งที่สนทนำ Formation) หรือได้รับฟัง จัดกระท�ำข้อมูล อย่ำงง่ำยจำก กำรสืบค้น › สรุปประเด็น ควำมรู้จำกข้อคิด ส�ำคัญ › ระดับมัธยมศึกษำ ตอนต้น วิเครำะห์ข้อมูล โดยใช้วิธีกำร ที่เหมำะสม › สังเครำะห์และ สรุปองค์ควำมรู้ อภิปรำยผลและ เปรียบเทียบ เชื่อมโยงควำมรู้ › เสนอแนวคิด วิธีกำรแก้ปัญหำ อย่ำงเป็นระบบ › ระดับมัธยมศึกษำ ตอนปลำย อธิบำยควำมเป็นมำ ของศำสตร์ หลักกำร และวิธีคิด ในสิ่งที่ศึกษำค้นคว้ำ › วิเครำะห์ ข้อมูล โดยใช้วิธีกำร ที่เหมำะสม › สังเครำะห์และ สรุปองค์ควำมรู้ อภิปรำยผล เปรียบเทียบ เชื่อมโยง ควำมรู้ › เสนอแนวคิด วิธีกำรแก้ปัญหำ อย่ำงเป็นระบบ › แ น วท า งก า ร จั ด ก า ร เ รี ยน ก า รส อน ใ น โ รง เรี ยน ม า ต รฐา น ส า ก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง เปาหมายคุณภาพผู้เรียนในสาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (ต่อ) 29
  • 36. เปาหมายคุณภาพผู้เรียนในสาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (ต่อ) ระดับประถมศึกษำ ป.1 - 3 ป.4 - 6 คุณภำพผู้เรียน 4. กำรสื่อสำรและ กำรน�ำเสนอ อย่ำงมีประสิทธิภำพ (Effective Communication) แน ว ทา งก าร จั ดก าร เรี ยน ก ารส อ นใ น โ รง เรี ยน ม า ตรฐ า น ส าก ล ฉ บั บ ป รั บ ป รุ ง 30 › เขียน หรือวำดภำพ และพูดน�ำเสนอ เพื่อสื่อสำร เรื่องรำวง่ำย ๆ ได้อย่ำงชัดเจน ไม่สับสนโดยใช้สื่อ ที่เหมำะสม เขียนและน�ำเสนอ เป็นล�ำดับ ขั้นตอน เข้ำใจง่ำยใน รูปแบบเดี่ยว โดยใช้สื่อที่ เหมำะสมกับวัย › อ้ำงอิงแหล่งควำมรู้ ที่เชื่อถือได้ › ระดับมัธยมศึกษำ ตอนต้น เรียบเรียงและ ถ่ำยทอดควำมคิด อย่ำงชัดเจน เป็นระบบ › น�ำเสนอใน รูปแบบเดี่ยว โดยใช้สื่อประกอบ หลำกหลำย › เขียนรำยงำน กำรศึกษำค้นคว้ำ เชิงวิชำกำร ควำมยำว 2,500 ค�ำ › อ้ำงอิงแหล่ง ควำมรู้ที่เชื่อถือได้ อย่ำงหลำกหลำย › เผยแพร่ผลงำน สู่สำธำรณะ › ระดับมัธยมศึกษำ ตอนปลำย เรียบเรียง และถ่ำยทอด ควำมคิด อย่ำงสร้ำงสรรค์ เป็นระบบ › น�ำเสนอใน รูปแบบเดี่ยว หรือกลุ่ม เป็นภำษำไทย หรือภำษำอังกฤษ โดยใช้สื่อเทคโนโลยี ที่หลำกหลำย › เขียนรำยงำน กำรศึกษำค้นคว้ำ เชิงวิชำกำร เป็นภำษำไทย ควำมยำว 4,000 ค�ำ หรือภำษำอังกฤษ ควำมยำว 2,000 ค�ำ › อ้ำงอิงแหล่งควำมรู้ ที่เชื่อถือได้ ทั้งใน และต่ำงประเทศ › ใช้กำรสนทนำ/ วิพำกษ์ผ่ำนสื่อ อีเล็กทรอนิกส์ เช่น e-conference, social media online ›