SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
การอ้างอิงเอกสาร
WEEK 7
นำมำจำกสไลด์ อ.เอกเทศ แสงลับ
การอ้างอิงเอกสาร
(Reference or Citations)
การอ้างอิงเอกสาร
หมายถึง การบอกแหล่งที่มาของข้อมูลที่ผู้เขียนนามาใช้อ้างอิงในการเขียน
เอกสาร ทาให้งานเขียนมีความน่าเชื่อถือ ซึ่งเป็นการให้เกียรติแก่ผู้เขียนเดิม
และแสดงเจตนาของผู้เขียนว่าไม่ได้คัดลอกข้อมูลของผู้อื่นการอ้างอิงเอกสารใน
งานเขียนต้องมีการอ้างอิงไว้ในตัวผลงาน 2 ส่วนคือ
1. การอ้างอิงเอกสารในส่วนเนื้อเรื่อง
2. การอ้างอิงเอกสารส่วนท้ายเรื่องหรือท้ายรายงาน
WEEK 7
การอ้างอิงเอกสารในส่วนเนื้อเรื่อง
• เป็นการอ้างโดยระบุชื่อผู้แต่งและปีพิมพ์ของเอกสารที่อ้าง
แทรกปนไปกับเนื้อหาของบทความ โดยใช้วิธีการอ้างอิงระบบนาม-ปี
(Name-year system)และ ระบบหมายเลข
• สาหรับผู้แต่งที่เป็นคนไทยให้ระบุชื่อผู้แต่ง(ชื่อตัว และชื่อสกุล)
• สาหรับผู้แต่งที่เป็นชาวต่างประเทศให้ระบุเฉพาะชื่อสกุลเท่านั้น
การอ้างอิงระบบนาม-ปี เขียนได้ 2 แบบ
1. เขียนระบุชื่อผู้แต่ง ปีพิมพ์ และเลขหน้า ไว้หน้าข้อความที่อ้างอิง
มีรูปแบบดังนี้
ชื่อผู้แต่ง (ปีที่พิมพ์ : เลขหน้า).....................................
การอ้างอิงระบบชื่อ-ปี เขียนได้ 2 แบบ
2. เขียนระบุชื่อผู้แต่ง ปีพิมพ์ และเลขหน้าไว้ท้ายข้อความ มีรูปแบบดังนี้
............................. (ชื่อผู้แต่ง.ปีที่พิมพ์ : เลขหน้า)
การอ้างอิงแบบเชิงอรรถ (Footnote)
เชิงอรรถ คือ ข้อความที่พิมพ์ไว้ตรงส่วนล่างของหน้ากระดาษ เพื่อ
ระบุหลักฐานของการอ้างอิง เพื่ออธิบายเนื้อเรื่องบางตอนเพิ่มเติม
ตัวอย่างที่ 1 หนังสือ
เอกเทศ แสงลับ. การผลิตสื่อเพื่อการเรียนการสอน.
(กรุงเทพฯ : วอแว, 2555), หน้า 132.
การอ้างอิงเอกสารส่วนท้ายเรื่อง
คือ การรวบรวมรายชื่อเอกสารทั้งหมดที่ผู้เขียนใช้อ้างอิงหรือศึกษา
ค้นคว้าในการเรียบเรียงรายงานนั้น เอกสารที่ใช้อ้างอิงและปรากฏอยู่ท้าย
รายงานจัดเรียงตามลาดับอักษรของชื่อผู้แต่งภาษาไทยก่อนตามด้วย
ภาษาอังกฤษ การอ้างอิงเอกสารนี้เรียกว่าบรรณานุกรม (Bibliography)
หรือ เอกสารอ้างอิง(Reference Literature cited)
การอ้างอิงเอกสาร (Citations)
• บรรณานุกรม (Bibliography) คือ รายชื่อเอกสารที่ผู้เขียนใช้ศึกษา
ค้นคว้าในการเรียบเรียงรายงานทั้งที่ได้เขียนรายการอ้างอิงในส่วนเนื้อ
เรื่อง และ เอกสารที่ไม่ได้ใช้อ้างอิงในส่วนเนื้อเรื่องแต่ได้อ่านประกอบใน
การเรียบเรียงนามาใส่ไว้ท้ายรายงาน
• เอกสารอ้างอิง(Reference Literature cited) คือ รายชื่อเอกสารที่
ผู้เขียนใช้ศึกษาค้นคว้าในการเรียบเรียงรายงานและเป็นเอกสารที่ได้เขียน
รายการอ้างอิงในส่วนเนื้อเรื่อง
การอ้างอิงเอกสาร(Citations)
การอ้างอิงเอกสารส่วนท้ายของรายงาน
1. วิธีการเขียนบรรณานุกรม หรือ เอกสารอ้างอิง
1.1 รายละเอียดของรายการ แต่ละรายการประกอบด้วยส่วน
สาคัญ 3 ส่วนคือ
1) ส่วนที่เป็นชื่อผู้แต่ง ได้แก่ ผู้รับผิดชอบในการเขียน
หรือ ผลิตสิ่งพิมพ์นั้นซึ่งอาจเป็น ผู้รวบรวม ผู้แปล
บรรณาธิการ หรือหน่วยงานต่างๆก็ได้
การอ้างอิงเอกสาร(Citations)
การอ้างอิงเอกสาร(Citations)
2) ส่วนที่เป็นชื่อเรื่อง ได้แก่ ชื่อหนังสือ ชื่อบทความ ชื่อวารสาร และชื่อ
ของสิ่งพิมพ์ประเภทนั้นๆที่ผู้เขียนนามาค้นคว้าอ้างอิง
3) ส่วนที่เป็นการพิมพ์ ได้แก่ ครั้งที่พิมพ์ สถานที่พิมพ์ สานักพิมพ์
หรือโรงพิมพ์ และปีพิมพ์ของหนังสือ หรือเป็นปีที่ วันเดือนปีของวารสาร
หรืออื่นๆที่เป็นรายละเอียดเกี่ยวกับการพิมพ์ของสิ่งพิมพ์แต่ละประเภทนั้น
เฉพาะส่วนที่เป็นปีที่พิมพ์จะใส่ต่อไว้ต่อจากผู้แต่ง
การอ้างอิงเอกสาร(Citations)
1) การลงรายการชื่อผู้แต่ง
ผู้แต่งที่เป็นคนไทย
ลงชื่อและชื่อสกุลตามปกติ โดยไม่ใส่คานาหน้าซึ่งบอกยศ
ตาแหน่ง และเพศ ยกเว้นคานาหน้าที่เป็นฐานันดรและบรรดาศักดิ์ให้ลง
ต่อจากชื่อสกุลโดยใช้เครื่องหมาย , คั่น
การอ้างอิงเอกสาร(Citations)
ผู้แต่งชาวต่างประเทศหรือผู้แต่งคนไทยที่แต่งเอกสารเป็น
ภาษาต่างประเทศ
• ให้กลับเอาชื่อสกุลมาไว้ข้างหน้า คั่นด้วยเครื่องหมาย , ตามด้วยชื่อ
ต้นและชื่อกลางตามลาดับตามลาดับ ดังตัวอย่าง
John F. Kennedy ต้องเขียนเป็น Kennedy, John F.
Akekathed Sanglub ต้องเขียนเป็น Sanglub, A.
การอ้างอิงเอกสาร(Citations)
ผู้แต่งที่เป็นผู้รวบรวม (Compiler) หรือ บรรณาธิการ(Editor)
• ให้ใส่คาว่า ผู้รวบรวม(ภาษาอังกฤษใช้ Comp.) หรือ บรรณาธิการ
(ภาษาอังกฤษใช้ Ed.) ไว้ในวงเล็บต่อท้ายชื่อผู้แต่งนั้นๆโดยคั่นด้วย
เครื่องหมาย , เช่น
เอกเทศ แสงลับ. (บรรณาธิการ).
Jenifer, P. (Ed.)
โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์ (ผู้รวบรวม).
การอ้างอิงเอกสาร(Citations)
ผู้แต่งที่เป็นนิติบุคคล
• ให้ลงชื่อหน่วยงานย่อยก่อน แล้วตามด้วยชื่อหน่วยงานใหญ่ เช่น
สานักวิชาการ. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
คณะศึกษาศาสตร์. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
การอ้างอิงเอกสาร(Citations)
การลงรายการการพิมพ์
ครั้งที่พิมพ์
หนังสือที่พิมพ์มากกว่า 1 ครั้ง ให้ระบุครั้งที่พิมพ์โดยลงรายการเฉพาะ
การพิมพ์ตั้งแต่ครั้งที่ 2 ขึ้นไป และเขียนต่อจากชื่อเรื่อง โดยไม่มี
เครื่องหมายใดๆคั่น
เช่น พิมพ์ครั้งที่ 2. หรือ 2d ed. หรือ 2nd ed.
พิมพ์ครั้งที่ 3. หรือ 3d ed. หรือ 3rd ed.
การอ้างอิงเอกสาร(Citations)
การลงรายการการพิมพ์(ต่อ)
สถานที่พิมพ์
ให้ระบุชื่อเมืองที่สานักพิมพ์หรือโรงพิมพ์ตั้งอยู่ ใช้ชื่อตามที่ปรากฏใน
หน้าปกในของหนังสือเท่านั้น
หากชื่อเมืองในหน้าปก ในมีมากกว่า 1 ชื่อ ให้ใส่เฉพาะชื่อเมืองแรกที่
ปรากฏอยู่เท่านั้น หากไม่ทราบชื่อเมืองให้ใส่ว่า (ม.ป.ท.) หรือ (n.p.)
การอ้างอิงเอกสาร(Citations)
การลงรายการการพิมพ์(ต่อ)
สานักพิมพ์
ให้ลงชื่อสานักพิมพ์ตามที่ปรากฏในหน้าปกใน ถ้ามีทั้งชื่อสานักพิมพ์
และโรงพิมพ์ให้ใส่ชื่อสานักพิมพ์เท่านั้น ถ้าไม่มีชื่อสานักพิมพ์จึงใส่ชื่อโรง
พิมพ์แทน
ตัวอย่าง สานักพิมพ์ดอกหญ้า
โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การอ้างอิงเอกสาร(Citations)
การลงรายการการพิมพ์(ต่อ)
สานักพิมพ์
• ในกรณีที่ไม่ปรากฏทั้งชื่อสานักพิมพ์และโรงพิมพ์ให้ใส่(ม.ป.ท.)
หรือ (n.p.) เช่นเดียวกับไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์
การอ้างอิงเอกสาร(Citations)
การอ้างอิงจากหนังสือ
ชื่อผู้แต่ง. ชื่อเรื่อง.ครั้งที่พิมพ์. สถานที่พิมพ์ : สานักพิมพ์หรือโรงพิมพ์
.ปีที่พิมพ์.
การอ้างอิงเอกสาร(Citations)
การอ้างอิงจากหนังสือ
• หนังสือฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 ขึ้นไป
ชื่อผู้แต่ง. ชื่อเรื่อง.ครั้งที่พิมพ์. สถานที่พิมพ์ : สานักพิมพ์หรือโรงพิมพ์.ปีพิมพ์.
การอ้างอิงเอกสาร(Citations)
การอ้างข้อมูลบทความจากวารสาร
ชื่อผู้เขียนบทความ. “ชื่อบทความ,” ชื่อวำรสำร .ปีที่(ฉบับที่), เลขหน้า;
เดือน ปี ของวารสาร.
การอ้างอิงเอกสาร(Citations)
การอ้างข้อมูลจากหนังสือพิมพ์
ชื่อผู้เขียนบทความ. “ชื่อบทความ,” ชื่อหนังสือพิมพ์.วัน เดือน ปี. เลขหน้า.
การอ้างอิงเอกสาร(Citations)
การอ้างข้อมูลจากบทความในหนังสือ
ชื่อผู้เขียนบทความ. “ชื่อบทความ.,”ใน ชื่อชื่อเรื่อง,เลขหน้า.สถานที่พิมพ์ : สานักพิมพ์.
ปีพิมพ์ของหนังสือ.
การอ้างอิงเอกสาร(Citations)
การอ้างข้อมูลจากบทความจากสารานุกรม
ชื่อผู้เขียนบทความ.”ชื่อบทความ,” ใน ชื่อสำรำนุกรม เล่มที่: (หน้า). สถานที่พิมพ์ :
สานักพิมพ์. ปีพิมพ์ของสารานุกรม.
การอ้างอิงเอกสาร(Citations)
การอ้างข้อมูลจากวิทยานิพนธ์
ชื่อผู้เขียน. “ชื่อวิทยำนิพนธ์,” วิทยานิพนธ์ปริญญา...สาขาวิชา...คณะ...สถาบัน... ปีพิมพ์.
การอ้างอิงเอกสาร(Citations)
การอ้างข้อมูลจากเอกสารที่ไม่ได้ตีพิมพ์
ชื่อผู้เขียน. ชื่อเอกสำร. สถานที่พิมพ์ : สานักพิมพ์. ปีพิมพ์. (เอกสารอัดสาเนา)
การอ้างอิงเอกสาร(Citations)
การอ้างข้อมูลจากการสัมภาษณ์
ชื่อผู้ให้สัมภาษณ์. ตาแหน่ง. เป็นผู้สัมภาษณ์.สถานที่สัมภาษณ์.
วันเดือนปีที่สัมภาษณ์.
การอ้างอิงเอกสาร(Citations)
การอ้างข้อมูลบทคัดย่อบทความวารสาร จากฐานข้อมูลซีดีรอม
ชื่อผู้ผลิต.” ชื่อบทความ.” ชื่อของซีดี-รอม. สถานที่ผลิต: สานักงาน
หรือสานักพิมพ์, ปีที่ผลิต.
การอ้างอิงเอกสาร(Citations)
การอ้างข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต
ชื่อผู้เขียน. “ชื่อเรื่อง.“ ชื่อแหล่งข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต. (ค้นข้อมูล วัน เดือน ปี)

More Related Content

Viewers also liked

Playstation 3 Market Analysis
Playstation 3 Market AnalysisPlaystation 3 Market Analysis
Playstation 3 Market Analysiskvelez89
 
Work process for lockers
Work process for lockersWork process for lockers
Work process for lockersjbellbabson
 
Introdução ao OpenShift, o PaaS open source da Red Hat
Introdução ao OpenShift, o PaaS open source da Red HatIntrodução ao OpenShift, o PaaS open source da Red Hat
Introdução ao OpenShift, o PaaS open source da Red HatFabiano Franz
 
บทที่ 1 ความหมายและประเภทของคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความหมายและประเภทของคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความหมายและประเภทของคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความหมายและประเภทของคอมพิวเตอร์Nattipong Siangyen
 
OER the Pros and Cons
OER the Pros and ConsOER the Pros and Cons
OER the Pros and ConsGina Hatcher
 
Block & Bleed type Manifold without Shut Off Valve (MF29G)
Block & Bleed type Manifold without Shut Off Valve (MF29G)Block & Bleed type Manifold without Shut Off Valve (MF29G)
Block & Bleed type Manifold without Shut Off Valve (MF29G)NK Instruments Pvt. Ltd.
 
ฟรอยด์
ฟรอยด์ฟรอยด์
ฟรอยด์pattamasatun
 
Santa Brand Book - by Quiteroom
Santa Brand Book - by QuiteroomSanta Brand Book - by Quiteroom
Santa Brand Book - by QuiteroomJessie Hughes
 
Honours Thesis for Susanne Jorde Lunde
Honours Thesis for Susanne Jorde Lunde Honours Thesis for Susanne Jorde Lunde
Honours Thesis for Susanne Jorde Lunde Susanne Jorde Lunde
 
Emmet´s morning (3)
Emmet´s morning (3)Emmet´s morning (3)
Emmet´s morning (3)Mercedes S
 

Viewers also liked (12)

Playstation 3 Market Analysis
Playstation 3 Market AnalysisPlaystation 3 Market Analysis
Playstation 3 Market Analysis
 
Work process for lockers
Work process for lockersWork process for lockers
Work process for lockers
 
Introdução ao OpenShift, o PaaS open source da Red Hat
Introdução ao OpenShift, o PaaS open source da Red HatIntrodução ao OpenShift, o PaaS open source da Red Hat
Introdução ao OpenShift, o PaaS open source da Red Hat
 
บทที่ 1 ความหมายและประเภทของคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความหมายและประเภทของคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความหมายและประเภทของคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความหมายและประเภทของคอมพิวเตอร์
 
OER the Pros and Cons
OER the Pros and ConsOER the Pros and Cons
OER the Pros and Cons
 
Esempio
EsempioEsempio
Esempio
 
Block & Bleed type Manifold without Shut Off Valve (MF29G)
Block & Bleed type Manifold without Shut Off Valve (MF29G)Block & Bleed type Manifold without Shut Off Valve (MF29G)
Block & Bleed type Manifold without Shut Off Valve (MF29G)
 
Hizb 32
Hizb 32Hizb 32
Hizb 32
 
ฟรอยด์
ฟรอยด์ฟรอยด์
ฟรอยด์
 
Santa Brand Book - by Quiteroom
Santa Brand Book - by QuiteroomSanta Brand Book - by Quiteroom
Santa Brand Book - by Quiteroom
 
Honours Thesis for Susanne Jorde Lunde
Honours Thesis for Susanne Jorde Lunde Honours Thesis for Susanne Jorde Lunde
Honours Thesis for Susanne Jorde Lunde
 
Emmet´s morning (3)
Emmet´s morning (3)Emmet´s morning (3)
Emmet´s morning (3)
 

More from Nattipong Siangyen

บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)Nattipong Siangyen
 
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)Nattipong Siangyen
 
บทที่ 1 ความหมายและประเภทของคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความหมายและประเภทของคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความหมายและประเภทของคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความหมายและประเภทของคอมพิวเตอร์Nattipong Siangyen
 
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(delete)
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(delete)คำสั่ง Sql เบื้องต้น(delete)
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(delete)Nattipong Siangyen
 
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(update)
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(update)คำสั่ง Sql เบื้องต้น(update)
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(update)Nattipong Siangyen
 
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(select)
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(select)คำสั่ง Sql เบื้องต้น(select)
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(select)Nattipong Siangyen
 
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(insert into)
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(insert into)คำสั่ง Sql เบื้องต้น(insert into)
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(insert into)Nattipong Siangyen
 
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(create table)
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(create table)คำสั่ง Sql เบื้องต้น(create table)
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(create table)Nattipong Siangyen
 
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(create db)
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(create db)คำสั่ง Sql เบื้องต้น(create db)
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(create db)Nattipong Siangyen
 
09 ชนิดข้อมูล
09 ชนิดข้อมูล09 ชนิดข้อมูล
09 ชนิดข้อมูลNattipong Siangyen
 
06 แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
06 แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์06 แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
06 แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์Nattipong Siangyen
 
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูลNattipong Siangyen
 
03 ชนิดของความสัมพันธ์
03 ชนิดของความสัมพันธ์03 ชนิดของความสัมพันธ์
03 ชนิดของความสัมพันธ์Nattipong Siangyen
 
02 ความรู้เบื้องต้นฐานข้อมูล
02 ความรู้เบื้องต้นฐานข้อมูล02 ความรู้เบื้องต้นฐานข้อมูล
02 ความรู้เบื้องต้นฐานข้อมูลNattipong Siangyen
 
01 ข้อมูลและสารสนเทศ
01 ข้อมูลและสารสนเทศ01 ข้อมูลและสารสนเทศ
01 ข้อมูลและสารสนเทศNattipong Siangyen
 
01ข้อมูลและสารสนเทศ
01ข้อมูลและสารสนเทศ01ข้อมูลและสารสนเทศ
01ข้อมูลและสารสนเทศNattipong Siangyen
 
10 กรณีศึกษา
10 กรณีศึกษา10 กรณีศึกษา
10 กรณีศึกษาNattipong Siangyen
 
02 การทำโครงงานอย่างง่าย
02 การทำโครงงานอย่างง่าย02 การทำโครงงานอย่างง่าย
02 การทำโครงงานอย่างง่ายNattipong Siangyen
 
01 ความหมายของโครงงาน
01 ความหมายของโครงงาน01 ความหมายของโครงงาน
01 ความหมายของโครงงานNattipong Siangyen
 

More from Nattipong Siangyen (20)

บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
 
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
บทที่ 2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ (ตามราคาและความเร็ว)
 
บทที่ 1 ความหมายและประเภทของคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความหมายและประเภทของคอมพิวเตอร์บทที่ 1 ความหมายและประเภทของคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 ความหมายและประเภทของคอมพิวเตอร์
 
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(delete)
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(delete)คำสั่ง Sql เบื้องต้น(delete)
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(delete)
 
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(update)
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(update)คำสั่ง Sql เบื้องต้น(update)
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(update)
 
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(select)
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(select)คำสั่ง Sql เบื้องต้น(select)
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(select)
 
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(insert into)
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(insert into)คำสั่ง Sql เบื้องต้น(insert into)
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(insert into)
 
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(create table)
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(create table)คำสั่ง Sql เบื้องต้น(create table)
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(create table)
 
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(create db)
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(create db)คำสั่ง Sql เบื้องต้น(create db)
คำสั่ง Sql เบื้องต้น(create db)
 
09 ชนิดข้อมูล
09 ชนิดข้อมูล09 ชนิดข้อมูล
09 ชนิดข้อมูล
 
07 e r model
07 e r model07 e r model
07 e r model
 
06 แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
06 แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์06 แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
06 แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
05 ภาษาที่ใช้ในระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
03 ชนิดของความสัมพันธ์
03 ชนิดของความสัมพันธ์03 ชนิดของความสัมพันธ์
03 ชนิดของความสัมพันธ์
 
02 ความรู้เบื้องต้นฐานข้อมูล
02 ความรู้เบื้องต้นฐานข้อมูล02 ความรู้เบื้องต้นฐานข้อมูล
02 ความรู้เบื้องต้นฐานข้อมูล
 
01 ข้อมูลและสารสนเทศ
01 ข้อมูลและสารสนเทศ01 ข้อมูลและสารสนเทศ
01 ข้อมูลและสารสนเทศ
 
01ข้อมูลและสารสนเทศ
01ข้อมูลและสารสนเทศ01ข้อมูลและสารสนเทศ
01ข้อมูลและสารสนเทศ
 
10 กรณีศึกษา
10 กรณีศึกษา10 กรณีศึกษา
10 กรณีศึกษา
 
02 การทำโครงงานอย่างง่าย
02 การทำโครงงานอย่างง่าย02 การทำโครงงานอย่างง่าย
02 การทำโครงงานอย่างง่าย
 
01 ความหมายของโครงงาน
01 ความหมายของโครงงาน01 ความหมายของโครงงาน
01 ความหมายของโครงงาน
 

อ้างอิง