SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 6
Descargar para leer sin conexión
หน่ วยที 2 สือใหม่ (New Media)
            เป็ นการสือสารในรูปแบบใหม่ ทีมีการนําเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ ามาประกอบการสือสาร ทําให้ การ
สือสารนันทันสมัยและมีประสิทธิภาพมากยิงขึน เช่น TV on Mobile, Webcam เป็ นต้ น ทําให้ ผ้ ูรับสาร ทีอยู่
ทัวทุกมุมโลกสามารถรับรู้ ข่าวสารได้ อย่างรวดเร็ วและชัดเจน เป็ นการกระจายข่าวสารไปได้ ทุกสารทิศ เช่น
การส่งอีเมลล์ ทวิตเตอร์ การแชท โดยทีผู้รับสารสามารถตอบโต้ กับสือมวลชนได้ ในขณะทีสือดังเดิมไม่
สามารถทําได้ เช่น การส่ง SMS ไปในรายการต่างๆทีเปิ ดโอกาสให้ แสดงความคิดเห็นในโทรทัศน์ หรื อการ
โทรศัพท์เข้ าไปในรายการวิทยุหรื อโทรทัศน์เพือแสดงความคิดเห็น ซึงในปั จจุบนสือใหม่ได้ เข้ ามามีบทบาท
                                                                                ั
อย่างมากทุก วงการ ไม่เฉพาะวงการสื อสารมวลชน แต่ยังมีอีก มากมาย เช่น ด้ านการศึกษา คมนาคม
อุตสาหกรรม เป็ นต้ น
            การรวมตัวของสือใหม่และสือเดิมทํ าให้ เกิดการมาบรรจบกันของเทคโนโลยี สือ (convergence)
เป็ นการพัฒนาสือเข้ ามาใกล้ กนของเทคโนโลยี 3 ประเภทคือ
                                   ั
                     1 เทคโนโลยีการแพร่ ภาพและเสียง เช่น วิทยุ โทรทัศน์
                     2 เทคโนโลยีการพิมพ์ เช่น หนังสือ นิตยสาร หนังสือพิมพ์
                     3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โดยมีเทคโนโลยีสือสารโทรคมนาคมเป็ นปั จจัยสนับสนุน ได้ แก่
หนังสือพิมพ์ออนไลน์ นิตยสารออนไลน์
            สือใหม่จึงอยู่ในรู ปของความรู้ ทางดิจิทล (digital knowledge) ซึงหมายถึงความรู้ ทีจําเป็ นต้ องมี
                                                   ั
เพื อให้ สามารถประยุกต์ ใช้ งานคอมพิ วเตอร์ และอิ นเทอร์ เน็ตในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตน ซึงอาจ
รวมถึงความรู้ ทีสามารถผลิตสือด้ วยตนเองเพือเผยแพร่ ความคิดเห็นในเรื องต่างๆออกสูสงคม รั ฐบาลของ
                                                                                           ่ ั
แต่ละประเทศมีโครงการพัฒนา e-Government และโครงการรักษาพยาบาลระยะไกล เช่น Telemedicine
เป็ นต้ น
            อํานาจของอินเทอร์ เน็ตและสือดิจิทลอยู่ทีการปฏิสมพันธ์ ระหว่างผู้ใช้ โดยผู้ใช้ สามารถเป็ นผู้ผลิต
                                                ั              ั
สือไปพร้ อมๆกัน ทําให้ ผ้ ูใช้ ร่ วมแลกเปลียนทัศนคติในเรื องต่างๆได้ และจัดทํ าเว็บไซต์ เว็บบล็อกในการ
เผยแพร่ ข้อมูลทางอินเทอร์ เน็ตด้ วยค่าใช้ จ่ายทีตํา รวมถึงการใช้ เครื อข่ายสังคม เช่น เฟสบุ๊ค ทวิตเตอร์ และ
อืนๆ
            ปั จจุบนการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ล้ วนใช้ สอใหม่เป็ นเครื องมือสําคัญในการสือสาร
                   ั                                                ื
ให้ เข้ าถึงประชาชน การใช้ สือใหม่จึงเป็ นทังโอกาสและภัยคุกคามของผู้ใช้ หรื อผู้บริ โภค อยู่ทีความสามารถ
ในการเลือกใช้ และเลือกทีจะเข้ าใจในเนือหาสาระอย่างชาญฉลาด การทําให้ ประชาชนมีความรู้ เท่าทันสือ
จึงเกียวข้ องกับความอยู่รอดของประชาชน ทีจะไม่ตกเป็ นเหยือของข้ อมูลข่าวสารและสือ
ตัวอย่ างสือใหม่
1) Twitter เพือการสือสารในวงกว้ าง




2) Facebook เพือการสือสารในกลุมเพือน
                              ่
3) หนังสือพิมพ์ออนไลน์




4) Youtube การเผยแพร่ และแลกเปลียนวิดีโอ
5) การสืบค้ นข้ อมูลออนไลน์




          สือออนไลน์
          ปั จจุบันการใช้ สือออนไลน์ ผ่านทางเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตได้ ขยายวงกว้ างออกไปมากขึน โดยได้
ก้ าวล่วงเข้ าไปในทุกสาขาอาชีพ ไม่ได้ จํากัดอยู่เฉพาะด้ านการศึกษาหรื อการวิจัยเหมือนเมือเริ มมีการใช้
อินเทอร์ เน็ตใหม่ๆ ด้ วยคุณสมบัติการเข้ าถึงกลุมเปาหมายจํานวนมากๆ ได้ ในเวลาอันรวดเร็ ว และใช้ ต้นทุน
                                                     ่ ้
ในการลงทุน ตํ า ทํ าให้ อิ นเทอร์ เ น็ ต เป็ นสิ งที พึง ปรารถนาขององค์ ก รต่า งๆ หลายหน่ว ยงานได้ มีค วาม
พยายามนํ า อิ น เทอร์ เน็ ต มาใช้ เพื อประโยชน์ สํ า หรั บ หน่ ว ยงานของตนในรู ป แบบต่ า งๆ อาทิ การ
ประชาสัมพันธ์ อ งค์ กร การโฆษณาสินค้ า การค้ าขาย การติดต่อสือสาร ฯลฯ นอกจากนีอินเทอร์ เน็ตยัง
กลายเป็ นอีก สือหนึ งของความบัน เทิง ภายในครอบครั ว ไม่ว่ าจะเป็ นการฟั งวิ ท ยุ ดูโทรทัศ น์ หรื อ อ่า น
หนังสือพิมพ์ ล้ วนแล้ วแต่สามารถกระทําผ่านอินเทอร์ เน็ตได้ ทงสินc]tขณะทีสือออนไลน์อย่างอินเทอร์ เน็ตมี
                                                                 ั
ประโยชน์หลากหลาย แต่ในทางตรงกันข้ าม หากผู้ใช้ ขาดการรู้เท่าทัน คุณอนันต์ทีเห็นอาจกลับกลายเป็ น
โทษมหันต์ได้ เช่นเดียวกัน
                   ความเสียงของสืออินเทอร์ เน็ต
                   1) เนือหาทีไม่ เหมาะสมกับบางช่ วงอายุ
                   เนืองจากอินเทอร์ เน็ต เป็ นสือทีคนทุกกลุ่มสามารถเข้ าถึงได้ ง่า ย และประโยชน์หลักของ
อินเทอร์ เน็ตยังอยู่ทีปริ มาณของตัวเนือหาทีมีให้ เลือกอย่างมากมายมหาศาล แต่ก็ไม่ใช่เนือหาทังหมดทีเด็ก
และเยาวชนจะสามารถเข้ าถึงได้ ดัง นันการลงข้ อ มูลต่า งๆจึงเป็ นเรื องที พึง ระวัง เพื อให้ ข้ อมูลนันๆ
เหมาะสมกับแต่ละวัย และอายุ เนื อหาที ไม่เหมาะสมกับ บางช่ วงอายุ เช่น ภาพลามกอนาจารสําหรั บ
ผู้ใหญ่ ทีอาจทําร้ ายเยาวชนได้ หากเยาวชนบริ โภคสือลามกนันโดยไม่เจตนาและขาดวิจารณญาณ เนือหา
ทีไม่เหมาะสมในทุกกลุ่มอายุ อาจมีการให้ คําอธิ บายเชิงพาณิ ชย์ แต่ยังสามารถสร้ างขึนจากผู้ใช้ เอง ใน
อดีต การเข้ าถึงข้ อมูลนันอาจจะมีข้อจํากัดให้ กลุ่มสมาชิกผู้ใช้ ภายในเท่านัน ในขณะทีเนือหาทีผู้ใช้ สร้ างขึน
เป็ นส่วนใหญ่จะทีเปิ ดเผยต่อสาธารณชนและต้ องการความสนใจเป็ นพิเ ศษ เนื องจากปั จ จุบันเด็กและ
เยาวชนมีโทรศัพท์มือถือระบบมัลติมีเดียทีมีฟังก์ ชันซึงมีความสามารถในการเข้ าถึงระบบอินเทอร์ เน็ตแค่
เพี ยงปลายนิว ทังนี ตัวเด็กและเยาวชนเองจะต้ องใช้ วิจ ารณญาณว่าพวกเขาควรจะเข้ าถึง เนื อหาที ไม่
เหมาะสมกับวัยด้ วยตัวเองและควรมีผ้ ูใหญ่ให้ คาแนะนําด้ วย
                                                ํ
                   2) เนือหาทีผิดกฎหมาย
                   ลัทธิ การเหยี ยดผิ ว การทํ าอนาจารเด็ก จัดเป็ นประเภทของเนื อหาทีผิดกฎหมาย แต่ก็
ขึนอยู่กับ กฎหมายของแต่ละประเทศ แม้ ว่าประเภทของเนือหาบางอย่างจะผิดกฎหมายในประเทศส่วน
ใหญ่ แต่เนือหาทีผิดกฎหมายเหล่านีสามารถเข้ าถึงได้ โดยไม่ได้ ตงใจ และเจตนาโดยกลุมเด็กและเยาวชน
                                                                           ั                      ่
ดังนันผู้ใหญ่ ควรให้ ความสนใจกับ เด็ก และเยาวชนที เป็ นเหยื อโดยระงับ เนือหาที ผิ ดกฎหมาย เช่น การ
เผยแพร่ภาพการล่วงละเมิดเด็ก หรือวิดีโอ
                   3) ขาดการตรวจสอบเนือหา
                   เนือหาทีเผยแพร่ ทางอินเทอร์ เน็ต มักจะไม่ผ่านการตรวจสอบแต่อย่างใด ดังนันควรเรี ยนรู้
ทีจะอ่านเนือหาต่างๆอย่างมีวิจารณญาณ และไม่เชือในทุกสิงทีปรากฏบนอินเทอร์ เน็ต โดยเฉพาะเนือหา
ลักษณะ Web 2.0 ทีมักจะมีบางส่วนทีลําเอียงหรื อไม่ถูกต้ อง ผู้ใช้ ในวัยเยาว์จะต้ องตระหนักถึงอันตราย
จากสิงทีอ่านออนไลน์
                   4) การยัวยุทก่ อให้ เกิดอันตราย
                                   ี
                   มีเว็บไซด์มากมายทีส่งเสริ ม หรื อยัวยุให้ ผ้ ูใช้ ทําร้ ายตัวเอง เช่น เว็บไซด์ที ส่งเสริ มให้ ฆ่าตัว
ตายม อดอาหารเพือรักษารู ปร่ าง หรื อการแบ่งแยกนิกาย และมีความเป็ นไปได้ ทีเพิมขึนในการเผยแพร่
เนือหาของผู้ใช้ ความเสียงของการบริ โภคเนือหาทีเป็ นการยัวยุให้ เกิดอันตราย โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กและ
เยาวชนในหลายๆกรณีทีไม่สามารถทําการประเมินความเสียงทีเกิดจากการปฏิบัติตามคําแนะนําทีให้ ไว้ ใน
เว็บไซต์
                   5) การละเมิดสิทธิมนุษยชน/ หมินประมาท
                   การโฆษณาชวนเชือกับคนบางกลุม หรื อบุคคล เพือให้ เป็ นทีนิยม ต้ องสามารถเข้ าใจได้ ว่า
                                                     ่
บุคคลนันๆได้ ทําหน้ าทีแตกต่างกันในระบบออนไลน์ โดยที พวกเขาไม่ต้อ งเผชิ ญกับปฏิ กิริ ยาของผู้ทีทํ า
หน้ าทีคล้ ายๆกัน หรื อผู้ทีตกเป็ นเหยือของพวกเขาโดยตรง อีกทังยังไม่ต้องเผชิญกับผลกระทบในทันทีจาก
การปฏิบติของพวกเขา ดังนันความเสียงของการกระทําการละเมิดสิทธิมนุษยชน และตกเป็ นเหยือของการ
          ั
ถูกหมินประมาทนันมีแนวโน้ มสูงทีจะเกิดขึนในระบบออนไลน์ มากกว่าในความเป็ นจริ ง นอกจากนียังมี
เนือหาหมินประมาทเป็ นอันตรายต่อเด็กและเยาวชน อาจจะมีการรับอิทธิพลจากข้ อมูลชักจูงทีเป็ นอันตราย
6) โฆษณาทีไม่ เหมาะสม และการตลาดเพือเด็ก
                     โฆษณาทีไม่เหมาะสม หมายถึง โฆษณาทีมีความเสียงต่อการรั บ หรื อบริ โภคสือโฆษณา
สําหรับผลิตภัณฑ์ หรื อบริ การทีไม่เหมาะสมให้ กับเด็กและเยาวชน เช่น การทําศัลยกรรม ผู้ใช้ จํานวนมาก
ยิ นดี ทีจะให้ ข้ อ มูล ส่ว นตัว เช่ น ชื อ อายุ หรื อ เพศ ฯ และมี แนวโน้ มมากขึนที พวกเขากํ าลังจะได้ รับ สื อ
โฆษณา โดยในกลุมเด็กและเยาวชนนัน มักจะมีหลายกรณีด้วยกันทีตัวเด็กเองไม่ได้ ตระหนักถึงผลกระทบ
                        ่
หรื อความเสียงจากการพิมพ์ ชือและรายละเอียดต่างๆลงในแบบฟอร์ มบนเว็บไซต์ และเมือพิจารณาจาก
อัตราการแทรกซึมอันสูงลิวของโทรศัพท์มือถือต่อความสนใจของของเด็ก เยาวชนและวัยรุ่ น การเผยแพร่
โฆษณานันก็ค้ มค่าทีจะจ่ายกับช่องทางนี
                  ุ
                     7) ข้ อมูลส่ วนตัว
                     เนือหาทีถูกเผยแพร่ บนเว็บไซต์จะสามารถแพร่กระจายอย่างรวดเร็ วไปทัวโลกและสามารถ
ดํารงอยู่อย่างไม่มีกําหนด โดยกลุ่มเด็กและเยาวชนนันมักจะไม่ตระหนักถึงผลกระทบ ระยะสัน และระยะ
ยาวของการเผยแพร่ ข้อความและรูปภาพทีไม่เหมาะสม ทีจะเผยแพร่ บนพืนทีสาธารณะ ข้ อมูลทีเก็บไว้ บน
เซิร์ฟเวอร์ หรื อแพลตฟอร์ มนัน สามารถเข้ าถึงได้ ง่ายโดยคนอืนๆ และคนทัวไปอาจไม่ตระหนักถึงความไม่
ปลอดภัยของข้ อมูลส่วนบุคคลทีสามารถเข้ าถึงได้ ง่ายนี
                     8) การละเมิดลิขสิทธิ
                     การละเมิ ดลิ ข สิ ท ธิ เป็ นความเสี ยงที เกี ยวข้ อ งกับ การดํ า เนิ น การของผู้ใ ช้ เ อง โดยไม่
คํานึงถึงความเป็ นจริ ง ไม่ว่าจะเป็ นลิขสิทธิ ของผู้อืนทีถูกละเมิดโดยจงใจ หรื อไม่ได้ เจตนา การละเมิดจึง
ถือว่าเป็ นการหลอกลวงผู้ครอบครอง และเป็ นการฝ่ าฝื นทีนําพาความเสียงในการถูกลงโทษ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

โครงงาน Is2
โครงงาน Is2โครงงาน Is2
โครงงาน Is2
kessara61977
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
Poonyapat Wongpong
 
ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
guest6bc2ef1
 
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
guest92cc62
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Sirintip Kongchanta
 
Social networking, direct media
Social networking, direct mediaSocial networking, direct media
Social networking, direct media
pawineeyooin
 
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
Thanich Suwannabutr
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Tanyarad Chansawang
 

La actualidad más candente (20)

โครงงาน Is2
โครงงาน Is2โครงงาน Is2
โครงงาน Is2
 
ปัญหาและกรณีศึกษาการใช้งานสารสนเทศ
ปัญหาและกรณีศึกษาการใช้งานสารสนเทศปัญหาและกรณีศึกษาการใช้งานสารสนเทศ
ปัญหาและกรณีศึกษาการใช้งานสารสนเทศ
 
ผลกระทบ อนาคต-คุณธรรมIt
ผลกระทบ อนาคต-คุณธรรมItผลกระทบ อนาคต-คุณธรรมIt
ผลกระทบ อนาคต-คุณธรรมIt
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
2
22
2
 
ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
ฮินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
 
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
อินเตอร์เน็ตกับสังคมฐานความรู้
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้าสังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้า
 
งานนำเสนอIs
งานนำเสนอIsงานนำเสนอIs
งานนำเสนอIs
 
2
22
2
 
Social networking, direct media
Social networking, direct mediaSocial networking, direct media
Social networking, direct media
 
2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร
2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร
2.3.2 : การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้ถูกต้องตามกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กร
 
Sociel
SocielSociel
Sociel
 
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
06550131 ฐานิช สุวรรณบุตร
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Generation z
Generation  zGeneration  z
Generation z
 
รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อ
 
4
44
4
 

Destacado

Aster Building Solutions
Aster Building SolutionsAster Building Solutions
Aster Building Solutions
Ibrahim Lawson
 
Teorema di pitagora
Teorema di pitagoraTeorema di pitagora
Teorema di pitagora
danost7
 
Spanish grammar book pt 2
Spanish grammar book pt 2Spanish grammar book pt 2
Spanish grammar book pt 2
bradywarren14
 
Presentació eines al núvol per a l'empresa
Presentació eines al núvol per a l'empresaPresentació eines al núvol per a l'empresa
Presentació eines al núvol per a l'empresa
nnogueron
 
Wells Fargo July 2014 6.7% Warm Transfer
Wells Fargo July 2014 6.7% Warm TransferWells Fargo July 2014 6.7% Warm Transfer
Wells Fargo July 2014 6.7% Warm Transfer
william keefe
 

Destacado (20)

Mil chapter 1_5
Mil chapter 1_5Mil chapter 1_5
Mil chapter 1_5
 
Aster Building Solutions
Aster Building SolutionsAster Building Solutions
Aster Building Solutions
 
Mil chap 1 ____ julia nov29
Mil chap 1   ____ julia nov29Mil chap 1   ____ julia nov29
Mil chap 1 ____ julia nov29
 
Tortoise svn 1.7-en
Tortoise svn 1.7-enTortoise svn 1.7-en
Tortoise svn 1.7-en
 
Scurvy
ScurvyScurvy
Scurvy
 
Somma sottrazione -divisione e moltiplicazione di misure angolari
Somma   sottrazione -divisione e moltiplicazione di misure angolariSomma   sottrazione -divisione e moltiplicazione di misure angolari
Somma sottrazione -divisione e moltiplicazione di misure angolari
 
Teorema di pitagora
Teorema di pitagoraTeorema di pitagora
Teorema di pitagora
 
Il cilindro
Il cilindroIl cilindro
Il cilindro
 
Rombo
RomboRombo
Rombo
 
Insieme contro il cancro
Insieme contro il cancroInsieme contro il cancro
Insieme contro il cancro
 
Dpcs2014 brochure
Dpcs2014 brochureDpcs2014 brochure
Dpcs2014 brochure
 
Spanish grammar book pt 2
Spanish grammar book pt 2Spanish grammar book pt 2
Spanish grammar book pt 2
 
Presentació eines al núvol per a l'empresa
Presentació eines al núvol per a l'empresaPresentació eines al núvol per a l'empresa
Presentació eines al núvol per a l'empresa
 
La piramide
La piramideLa piramide
La piramide
 
Mil chapter 1_3(1)
Mil chapter 1_3(1)Mil chapter 1_3(1)
Mil chapter 1_3(1)
 
Mil chapter 1_2(1)
Mil chapter 1_2(1)Mil chapter 1_2(1)
Mil chapter 1_2(1)
 
Mil chapter 1_4(1)
Mil chapter 1_4(1)Mil chapter 1_4(1)
Mil chapter 1_4(1)
 
Mil chapter 1_3(2)
Mil chapter 1_3(2)Mil chapter 1_3(2)
Mil chapter 1_3(2)
 
Facing into the Future
Facing into the FutureFacing into the Future
Facing into the Future
 
Wells Fargo July 2014 6.7% Warm Transfer
Wells Fargo July 2014 6.7% Warm TransferWells Fargo July 2014 6.7% Warm Transfer
Wells Fargo July 2014 6.7% Warm Transfer
 

Similar a Mil chapter 1_2(2)

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Kittichai Pinlert
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
Chaiwit Khempanya
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
New Tomza
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
pattaranit
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
pattaranit
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
pattaranit
 
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ปิยะดนัย วิเคียน
 
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
jansaowapa
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
M'suKanya MinHyuk
 
Social networking, direct media
Social networking, direct mediaSocial networking, direct media
Social networking, direct media
pawineeyooin
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Wilaiporn Seehawong
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
Wilaiporn Seehawong
 

Similar a Mil chapter 1_2(2) (20)

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
2
22
2
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 
Lernning 08
Lernning 08Lernning 08
Lernning 08
 
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
 
Social Networking For Organizations
Social Networking For OrganizationsSocial Networking For Organizations
Social Networking For Organizations
 
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
 
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
Digital trend 2014
Digital trend 2014Digital trend 2014
Digital trend 2014
 
Digital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forwardDigital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forward
 
Social networking, direct media
Social networking, direct mediaSocial networking, direct media
Social networking, direct media
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Social network direct media
Social network direct mediaSocial network direct media
Social network direct media
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 

Mil chapter 1_2(2)

  • 1. หน่ วยที 2 สือใหม่ (New Media) เป็ นการสือสารในรูปแบบใหม่ ทีมีการนําเทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ ามาประกอบการสือสาร ทําให้ การ สือสารนันทันสมัยและมีประสิทธิภาพมากยิงขึน เช่น TV on Mobile, Webcam เป็ นต้ น ทําให้ ผ้ ูรับสาร ทีอยู่ ทัวทุกมุมโลกสามารถรับรู้ ข่าวสารได้ อย่างรวดเร็ วและชัดเจน เป็ นการกระจายข่าวสารไปได้ ทุกสารทิศ เช่น การส่งอีเมลล์ ทวิตเตอร์ การแชท โดยทีผู้รับสารสามารถตอบโต้ กับสือมวลชนได้ ในขณะทีสือดังเดิมไม่ สามารถทําได้ เช่น การส่ง SMS ไปในรายการต่างๆทีเปิ ดโอกาสให้ แสดงความคิดเห็นในโทรทัศน์ หรื อการ โทรศัพท์เข้ าไปในรายการวิทยุหรื อโทรทัศน์เพือแสดงความคิดเห็น ซึงในปั จจุบนสือใหม่ได้ เข้ ามามีบทบาท ั อย่างมากทุก วงการ ไม่เฉพาะวงการสื อสารมวลชน แต่ยังมีอีก มากมาย เช่น ด้ านการศึกษา คมนาคม อุตสาหกรรม เป็ นต้ น การรวมตัวของสือใหม่และสือเดิมทํ าให้ เกิดการมาบรรจบกันของเทคโนโลยี สือ (convergence) เป็ นการพัฒนาสือเข้ ามาใกล้ กนของเทคโนโลยี 3 ประเภทคือ ั 1 เทคโนโลยีการแพร่ ภาพและเสียง เช่น วิทยุ โทรทัศน์ 2 เทคโนโลยีการพิมพ์ เช่น หนังสือ นิตยสาร หนังสือพิมพ์ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โดยมีเทคโนโลยีสือสารโทรคมนาคมเป็ นปั จจัยสนับสนุน ได้ แก่ หนังสือพิมพ์ออนไลน์ นิตยสารออนไลน์ สือใหม่จึงอยู่ในรู ปของความรู้ ทางดิจิทล (digital knowledge) ซึงหมายถึงความรู้ ทีจําเป็ นต้ องมี ั เพื อให้ สามารถประยุกต์ ใช้ งานคอมพิ วเตอร์ และอิ นเทอร์ เน็ตในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตน ซึงอาจ รวมถึงความรู้ ทีสามารถผลิตสือด้ วยตนเองเพือเผยแพร่ ความคิดเห็นในเรื องต่างๆออกสูสงคม รั ฐบาลของ ่ ั แต่ละประเทศมีโครงการพัฒนา e-Government และโครงการรักษาพยาบาลระยะไกล เช่น Telemedicine เป็ นต้ น อํานาจของอินเทอร์ เน็ตและสือดิจิทลอยู่ทีการปฏิสมพันธ์ ระหว่างผู้ใช้ โดยผู้ใช้ สามารถเป็ นผู้ผลิต ั ั สือไปพร้ อมๆกัน ทําให้ ผ้ ูใช้ ร่ วมแลกเปลียนทัศนคติในเรื องต่างๆได้ และจัดทํ าเว็บไซต์ เว็บบล็อกในการ เผยแพร่ ข้อมูลทางอินเทอร์ เน็ตด้ วยค่าใช้ จ่ายทีตํา รวมถึงการใช้ เครื อข่ายสังคม เช่น เฟสบุ๊ค ทวิตเตอร์ และ อืนๆ ปั จจุบนการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ล้ วนใช้ สอใหม่เป็ นเครื องมือสําคัญในการสือสาร ั ื ให้ เข้ าถึงประชาชน การใช้ สือใหม่จึงเป็ นทังโอกาสและภัยคุกคามของผู้ใช้ หรื อผู้บริ โภค อยู่ทีความสามารถ ในการเลือกใช้ และเลือกทีจะเข้ าใจในเนือหาสาระอย่างชาญฉลาด การทําให้ ประชาชนมีความรู้ เท่าทันสือ จึงเกียวข้ องกับความอยู่รอดของประชาชน ทีจะไม่ตกเป็ นเหยือของข้ อมูลข่าวสารและสือ
  • 2. ตัวอย่ างสือใหม่ 1) Twitter เพือการสือสารในวงกว้ าง 2) Facebook เพือการสือสารในกลุมเพือน ่
  • 3. 3) หนังสือพิมพ์ออนไลน์ 4) Youtube การเผยแพร่ และแลกเปลียนวิดีโอ
  • 4. 5) การสืบค้ นข้ อมูลออนไลน์ สือออนไลน์ ปั จจุบันการใช้ สือออนไลน์ ผ่านทางเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตได้ ขยายวงกว้ างออกไปมากขึน โดยได้ ก้ าวล่วงเข้ าไปในทุกสาขาอาชีพ ไม่ได้ จํากัดอยู่เฉพาะด้ านการศึกษาหรื อการวิจัยเหมือนเมือเริ มมีการใช้ อินเทอร์ เน็ตใหม่ๆ ด้ วยคุณสมบัติการเข้ าถึงกลุมเปาหมายจํานวนมากๆ ได้ ในเวลาอันรวดเร็ ว และใช้ ต้นทุน ่ ้ ในการลงทุน ตํ า ทํ าให้ อิ นเทอร์ เ น็ ต เป็ นสิ งที พึง ปรารถนาขององค์ ก รต่า งๆ หลายหน่ว ยงานได้ มีค วาม พยายามนํ า อิ น เทอร์ เน็ ต มาใช้ เพื อประโยชน์ สํ า หรั บ หน่ ว ยงานของตนในรู ป แบบต่ า งๆ อาทิ การ ประชาสัมพันธ์ อ งค์ กร การโฆษณาสินค้ า การค้ าขาย การติดต่อสือสาร ฯลฯ นอกจากนีอินเทอร์ เน็ตยัง กลายเป็ นอีก สือหนึ งของความบัน เทิง ภายในครอบครั ว ไม่ว่ าจะเป็ นการฟั งวิ ท ยุ ดูโทรทัศ น์ หรื อ อ่า น หนังสือพิมพ์ ล้ วนแล้ วแต่สามารถกระทําผ่านอินเทอร์ เน็ตได้ ทงสินc]tขณะทีสือออนไลน์อย่างอินเทอร์ เน็ตมี ั ประโยชน์หลากหลาย แต่ในทางตรงกันข้ าม หากผู้ใช้ ขาดการรู้เท่าทัน คุณอนันต์ทีเห็นอาจกลับกลายเป็ น โทษมหันต์ได้ เช่นเดียวกัน ความเสียงของสืออินเทอร์ เน็ต 1) เนือหาทีไม่ เหมาะสมกับบางช่ วงอายุ เนืองจากอินเทอร์ เน็ต เป็ นสือทีคนทุกกลุ่มสามารถเข้ าถึงได้ ง่า ย และประโยชน์หลักของ อินเทอร์ เน็ตยังอยู่ทีปริ มาณของตัวเนือหาทีมีให้ เลือกอย่างมากมายมหาศาล แต่ก็ไม่ใช่เนือหาทังหมดทีเด็ก และเยาวชนจะสามารถเข้ าถึงได้ ดัง นันการลงข้ อ มูลต่า งๆจึงเป็ นเรื องที พึง ระวัง เพื อให้ ข้ อมูลนันๆ เหมาะสมกับแต่ละวัย และอายุ เนื อหาที ไม่เหมาะสมกับ บางช่ วงอายุ เช่น ภาพลามกอนาจารสําหรั บ
  • 5. ผู้ใหญ่ ทีอาจทําร้ ายเยาวชนได้ หากเยาวชนบริ โภคสือลามกนันโดยไม่เจตนาและขาดวิจารณญาณ เนือหา ทีไม่เหมาะสมในทุกกลุ่มอายุ อาจมีการให้ คําอธิ บายเชิงพาณิ ชย์ แต่ยังสามารถสร้ างขึนจากผู้ใช้ เอง ใน อดีต การเข้ าถึงข้ อมูลนันอาจจะมีข้อจํากัดให้ กลุ่มสมาชิกผู้ใช้ ภายในเท่านัน ในขณะทีเนือหาทีผู้ใช้ สร้ างขึน เป็ นส่วนใหญ่จะทีเปิ ดเผยต่อสาธารณชนและต้ องการความสนใจเป็ นพิเ ศษ เนื องจากปั จ จุบันเด็กและ เยาวชนมีโทรศัพท์มือถือระบบมัลติมีเดียทีมีฟังก์ ชันซึงมีความสามารถในการเข้ าถึงระบบอินเทอร์ เน็ตแค่ เพี ยงปลายนิว ทังนี ตัวเด็กและเยาวชนเองจะต้ องใช้ วิจ ารณญาณว่าพวกเขาควรจะเข้ าถึง เนื อหาที ไม่ เหมาะสมกับวัยด้ วยตัวเองและควรมีผ้ ูใหญ่ให้ คาแนะนําด้ วย ํ 2) เนือหาทีผิดกฎหมาย ลัทธิ การเหยี ยดผิ ว การทํ าอนาจารเด็ก จัดเป็ นประเภทของเนื อหาทีผิดกฎหมาย แต่ก็ ขึนอยู่กับ กฎหมายของแต่ละประเทศ แม้ ว่าประเภทของเนือหาบางอย่างจะผิดกฎหมายในประเทศส่วน ใหญ่ แต่เนือหาทีผิดกฎหมายเหล่านีสามารถเข้ าถึงได้ โดยไม่ได้ ตงใจ และเจตนาโดยกลุมเด็กและเยาวชน ั ่ ดังนันผู้ใหญ่ ควรให้ ความสนใจกับ เด็ก และเยาวชนที เป็ นเหยื อโดยระงับ เนือหาที ผิ ดกฎหมาย เช่น การ เผยแพร่ภาพการล่วงละเมิดเด็ก หรือวิดีโอ 3) ขาดการตรวจสอบเนือหา เนือหาทีเผยแพร่ ทางอินเทอร์ เน็ต มักจะไม่ผ่านการตรวจสอบแต่อย่างใด ดังนันควรเรี ยนรู้ ทีจะอ่านเนือหาต่างๆอย่างมีวิจารณญาณ และไม่เชือในทุกสิงทีปรากฏบนอินเทอร์ เน็ต โดยเฉพาะเนือหา ลักษณะ Web 2.0 ทีมักจะมีบางส่วนทีลําเอียงหรื อไม่ถูกต้ อง ผู้ใช้ ในวัยเยาว์จะต้ องตระหนักถึงอันตราย จากสิงทีอ่านออนไลน์ 4) การยัวยุทก่ อให้ เกิดอันตราย ี มีเว็บไซด์มากมายทีส่งเสริ ม หรื อยัวยุให้ ผ้ ูใช้ ทําร้ ายตัวเอง เช่น เว็บไซด์ที ส่งเสริ มให้ ฆ่าตัว ตายม อดอาหารเพือรักษารู ปร่ าง หรื อการแบ่งแยกนิกาย และมีความเป็ นไปได้ ทีเพิมขึนในการเผยแพร่ เนือหาของผู้ใช้ ความเสียงของการบริ โภคเนือหาทีเป็ นการยัวยุให้ เกิดอันตราย โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กและ เยาวชนในหลายๆกรณีทีไม่สามารถทําการประเมินความเสียงทีเกิดจากการปฏิบัติตามคําแนะนําทีให้ ไว้ ใน เว็บไซต์ 5) การละเมิดสิทธิมนุษยชน/ หมินประมาท การโฆษณาชวนเชือกับคนบางกลุม หรื อบุคคล เพือให้ เป็ นทีนิยม ต้ องสามารถเข้ าใจได้ ว่า ่ บุคคลนันๆได้ ทําหน้ าทีแตกต่างกันในระบบออนไลน์ โดยที พวกเขาไม่ต้อ งเผชิ ญกับปฏิ กิริ ยาของผู้ทีทํ า หน้ าทีคล้ ายๆกัน หรื อผู้ทีตกเป็ นเหยือของพวกเขาโดยตรง อีกทังยังไม่ต้องเผชิญกับผลกระทบในทันทีจาก การปฏิบติของพวกเขา ดังนันความเสียงของการกระทําการละเมิดสิทธิมนุษยชน และตกเป็ นเหยือของการ ั ถูกหมินประมาทนันมีแนวโน้ มสูงทีจะเกิดขึนในระบบออนไลน์ มากกว่าในความเป็ นจริ ง นอกจากนียังมี เนือหาหมินประมาทเป็ นอันตรายต่อเด็กและเยาวชน อาจจะมีการรับอิทธิพลจากข้ อมูลชักจูงทีเป็ นอันตราย
  • 6. 6) โฆษณาทีไม่ เหมาะสม และการตลาดเพือเด็ก โฆษณาทีไม่เหมาะสม หมายถึง โฆษณาทีมีความเสียงต่อการรั บ หรื อบริ โภคสือโฆษณา สําหรับผลิตภัณฑ์ หรื อบริ การทีไม่เหมาะสมให้ กับเด็กและเยาวชน เช่น การทําศัลยกรรม ผู้ใช้ จํานวนมาก ยิ นดี ทีจะให้ ข้ อ มูล ส่ว นตัว เช่ น ชื อ อายุ หรื อ เพศ ฯ และมี แนวโน้ มมากขึนที พวกเขากํ าลังจะได้ รับ สื อ โฆษณา โดยในกลุมเด็กและเยาวชนนัน มักจะมีหลายกรณีด้วยกันทีตัวเด็กเองไม่ได้ ตระหนักถึงผลกระทบ ่ หรื อความเสียงจากการพิมพ์ ชือและรายละเอียดต่างๆลงในแบบฟอร์ มบนเว็บไซต์ และเมือพิจารณาจาก อัตราการแทรกซึมอันสูงลิวของโทรศัพท์มือถือต่อความสนใจของของเด็ก เยาวชนและวัยรุ่ น การเผยแพร่ โฆษณานันก็ค้ มค่าทีจะจ่ายกับช่องทางนี ุ 7) ข้ อมูลส่ วนตัว เนือหาทีถูกเผยแพร่ บนเว็บไซต์จะสามารถแพร่กระจายอย่างรวดเร็ วไปทัวโลกและสามารถ ดํารงอยู่อย่างไม่มีกําหนด โดยกลุ่มเด็กและเยาวชนนันมักจะไม่ตระหนักถึงผลกระทบ ระยะสัน และระยะ ยาวของการเผยแพร่ ข้อความและรูปภาพทีไม่เหมาะสม ทีจะเผยแพร่ บนพืนทีสาธารณะ ข้ อมูลทีเก็บไว้ บน เซิร์ฟเวอร์ หรื อแพลตฟอร์ มนัน สามารถเข้ าถึงได้ ง่ายโดยคนอืนๆ และคนทัวไปอาจไม่ตระหนักถึงความไม่ ปลอดภัยของข้ อมูลส่วนบุคคลทีสามารถเข้ าถึงได้ ง่ายนี 8) การละเมิดลิขสิทธิ การละเมิ ดลิ ข สิ ท ธิ เป็ นความเสี ยงที เกี ยวข้ อ งกับ การดํ า เนิ น การของผู้ใ ช้ เ อง โดยไม่ คํานึงถึงความเป็ นจริ ง ไม่ว่าจะเป็ นลิขสิทธิ ของผู้อืนทีถูกละเมิดโดยจงใจ หรื อไม่ได้ เจตนา การละเมิดจึง ถือว่าเป็ นการหลอกลวงผู้ครอบครอง และเป็ นการฝ่ าฝื นทีนําพาความเสียงในการถูกลงโทษ