SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 16
"พลังงานแสงอาทิตย์" นับเป็นพลังงานหนึ่ง ที่ได้รับความนิยม ในการนามา แปลงให้
เป็น "พลังงานไฟฟ้ า" โดยมองว่าเป็นพลังงานทดแทนที่สะอาด ใช้แล้วไม่หมดไป จึงไม่แปลกที
พลังงานแสงอาทิตย์ จะเป็นที่นิยม ให้บริษัทต่าง ๆ ด้านพลังงาน หันมาลงทุนก่อสร้างโรงไฟฟ้ า
พลังงานแสงอาทิตย์
โรงผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์สามารถแบ่งประเภทได้เป็น 2 ประเภทหลักๆ
คือ
- โรงผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ประเภทนี้การผลิตไฟฟ้า ใช้เซลล์แสงอาทิตย์เป็น
อุปกรณ์หลักในการผลิตไฟฟ้า
- โรงผลิตไฟฟ้าความร้อนแสงอาทิตย์ ประเภทนี้การผลิตไฟฟ้า ใช้การรวบรวมความ
ร้อนจากแสงอาทิตย์ มาบนตัวกลาง เช่น น้าหรือน้ามัน แล้วนาน้าหรือน้ามันที่ร้อน ไปหมุน
กังหันของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ในการผลิตไฟฟ้า
1. เมื่อแสงอาทิตย์ ตกกระทบบนแผงเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Panel) จะทาให้เกิดการผลิตไฟฟ้ า
ออกจากแผงเซลล์แสงอาทิตย์ โดยไฟฟ้ าที่ออกมาเป็นไฟฟ้ ากระแสตรงแรงดันไฟฟ้ าต่า
2. ไฟฟ้ ากระแสตรงดังกล่าว ถูกส่งผ่านอุปกรณ์ อินเวอร์เตอร์ (Inverter) จะเกิดการแปลง
กระแสไฟฟ้ าจาก ไฟฟ้ ากระแสตรงแรงดันไฟฟ้ าต่า เป็น ไฟฟ้ ากระแสสลับแรงดันไฟฟ้ าต่า
3. ไฟฟ้ ากระแสสลับดังกล่าว ถูกส่งผ่านหม้อแปลงไฟฟ้ า เพื่อเพิ่มแรงดันไฟฟ้ า เป็นแรงดันไฟฟ้ า
สูง เพื่อให้สามารถ ส่งผ่านสายส่งไฟฟ้ าของการไฟฟ้ าไปยังผู้ใช้ไฟฟ้ าต่อไป
แผงโซลาร์เชลล์ อินเวอร์เตอร์ หม้อแปลงไฟฟ้ า สายส่งไฟฟ้ า
แรงเคลื่อนไฟฟ้ าที่ผลิตขึ้นจากเซลล์
แสงอาทิตย์เพียงเซลล์เดียว จะมีค่าต่ามาก การ
นามาใช้งานจะต้องนาเซลล์หลาย ๆ เซลล์ มาต่อ
กันแบบอนุกรมเพื่อเพิ่มค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้ าให้
สูงขึ้น เซลล์ที่นามาต่อกันในจานวนและขนาด
ที่เหมาะสมเรียกว่า แผงเซลล์แสงอาทิตย์
(Solar Module หรือ Solar Panel)
1. เมื่อเซลล์แสงอาทิตย์ได้รับแสงอาทิตย์ อนุภาคโปรตอนในแสงอาทิตย์ ทาให้เกิด
-การเคลื่อนไหวของ“อิเล็กตรอน” ขึ้นที่ ชั้น N-type Silicon
-การเคลื่อนไหวของ“โฮล” (อะตอมสูญเสียอิเล็กตรอน)ขึ้นที่ชั้น P-type Silicon
-เมื่อพลังงานสูงพอทั้งอิเล็กตรอนและโฮลจะวิ่งเข้าหาเพื่อจับคู่กัน โดยไม่ผ่านทาง
Junction แต่ผ่านทางวงจรไฟฟ้าที่ต่อกับขั้วไฟฟ้าของเซลล์แสงอาทิตย์
2. การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนดังกล่าว จะทาให้เกิดไฟฟ้ ากระแสตรงขึ้น
เซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell) เป็นสิ่งประดิษฐ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ที่สร้างจากสารกึ่งตัว
นา (Semiconductor) เมื่อได้รับแสงจากดวงอาทิตย์หรือแสงจากหลอดไฟเซลล์แสงอาทิตย์จะ
เปลี่ยนพลังงานแสงเป็นพลังงานไฟฟ้ ากระแสตรง (Direct Current : DC) ตัวอย่างเช่น เครื่อง
คิดเลข นาฬิกา สัญญาณจราจร สถานีถ่ายทอดวิทยุ ประภาคาร โคมไฟถนน เรือมอเตอร์
เครื่องบิน ระบบสูบน้าเพื่อการชลประทานและดาวเทียมเป็นต้น
1. กลุ่มที่เป็นรูปผลึก (Crystal, Crystalline) แบ่งออกเป็น
- ชนิดผลึกเดี่ยวซิลิคอน (Single Crystalline Silicon)
- ชนิดผลึกรวมซิลิคอน (Poly Crystalline Silicon)
2. กลุ่มที่ไม่เป็นรูปผลึก (Amorphous)
-ชนิดฟิล์มบาง อะมอร์ฟัสซิลิคอน (Amorphous Silicon, Thin Film)
1. กลุ่มที่ทาจากสารประกอบที่ไม่ใช่ซิลิคอน
- มีประสิทธิภาพสูงถึง 25% ขึ้นไป
- มีราคาสูงมาก
- ใช้งานสาหรับดาวเทียมและระบบรวมแสงเป็นส่วนใหญ่
- เช่น Gallium Arsenide (GaAs)
2. การพัฒนาขบวนการผลิตสมัยใหม่จากสารประกอบประเภทอื่นๆ จะทาให้มีราคาถูกลง และนา
มาใช้มากขึ้นในอนาคต
- เช่น Cadmium telluride (CdTe), Copper-Indium Selenide(CIGS), Light-absorbing
dyes (DSSC), Organic/polymer solar cells เป็นต้น
1. แสงอาทิตย์ สะท้อนกระจกยังจุด
รวบรวมแสงของแต่ละชนิด เช่น ท่อน้า
ยอดหอคอย เป็นต้น
2. แสงอาทิตย์ สร้างให้เกิดความร้อนกับ
ตัวกลาง และตัวกลางดังกล่าวที่สะสม
ความร้อนไว้ เคลื่อนที่ไปหมุนกังหันของ
เครื่องกาเนิดไฟฟ้ า ในการผลิตไฟฟ้ า
1. ระบบรางพาราโบลา (Parabolic Trough)
เป็นตัวรับรังสีดวงอาทิตย์ (Solar Collector) ซึ่งทงานโดยใช้หลักการรวมรังสีดวงอาทิตย์ด้วย
การสะท้อนจากผิวโค้งรูปพาราโบลาที่เป็นรางยาว โดยตัวรับรังสีประกอบด้วยตัวสะท้อนรังสี
(Reflector) และท่อรับรังสี (Receiver) ซึ่งท่อรับรังสีจะเป็นท่อโลหะอยู่ภายในท่อแก้ว โดยช่องว่าง
ระหว่างท่อเป็นสุญญากาศเพื่อลดการสูญเสียความร้อน ภายในจะมีของเหลวประเภทน้ามันจุดเดือดสูง
ไหลในท่อโลหะ เพื่อพาความร้อนไปถ่ายเทให้กับหม้อไอน้า (Boiler) สาหรับผลิตไอน้าเพื่อขับเคลื่อน
เครื่องยนต์กังหันไอน้า ซึ่งทางานด้วย วัฏจักร Rankine โดยงานเพลาที่ได้จากเครื่องยนต์ดังกล่าวจะน้า
ไปใช้ขับเคลื่อนเครื่องกาเนิดไฟฟ้ า สาหรับในช่วงที่ไม่มีแสงอาทิตย์จะใช้พลังงานจากก๊าซช่วยในการ
กาเนิดไอน้า
2. ระบบจานพาราโบลา (Parabolic Dish)
ร่วมกับเครื่องยนต์สเตอร์ลิง ระบบผลิตไฟฟ้ าแบบนี้จะใช้หลักการแปลงพลังงานจาก
รังสีดวงอาทิตย์ให้เป็นความร้อน แล้วแปลงพลังงานความร้อนให้เป็นพลังงานกลเพื่อนาไปผลิต
ไฟฟ้า โดยระบบจะประกอบด้วยจานรวมแสงแบบพาราโบลาและเครื่องยนต์สเตอร์ลิง (Stirling
Engine) กับเครื่องกาเนิดไฟฟ้ า โดยตัวรวมแสงแบบจานพาราโบลาอาจมีผิวสะท้อนเป็นผิว
ต่อเนื่องหรือประกอบด้วยแผ่นสะท้อนแสงหลายชิ้นซึ่งประกอบกันเป็นผิวโครงพาราโบลา และ
มีเครื่องยนต์สเตอร์ลิงกับเครื่องกาเนิดไฟฟ้ าวางอยู่ที่จุดโฟกัสของจานพาราโบลาและจาน
ดังกล่าวต้องมีระบบขับเคลื่อนแบบ 2 แกน ตามดวงอาทิตย์ตลอดทั้งวัน โดยทั่วไประบบจาน
พาราโบลาร่วมกับเครื่องยนต์สเตอร์ลิง 1 ชุด จะมีกาลังการผลิต25-40 kW แต่ละชุดสามารถทา
งานโดยอิสระ ถ้าต้องการกาลังไฟฟ้ ามากก็ติดตั้งจานวนหลายชุดคล้ายกับระบบผลิตไฟฟ้ าด้วย
โซลาร์เซลล์
3. ระบบหอคอย (Solar Tower)
จะประกอบไปด้วยหอคอย (Tower) และระบบกระจกสะท้อนแสงแผ่นราบ (Heliostat)
โดยกระจกแต่ละแผ่นจะสะท้อนแสงอาทิตย์ไปรวมกันที่หอคอย ซึ่งมีตัวรับรังสีดวงอาทิตย์ที่มี
ของไหลไหลผ่าน เพื่อพาพลังงานความร้อนที่ได้ไปใช้ขับเคลื่อนเครื่องยนต์สาหรับผลิตไฟฟ้ า
ของไหลที่ใช้มีทั้งเกลือหลอมละลาย (Molten Salt) น้าและอากาศ
4. ระบบความร้อนร่วม (Combined Cycle)
เป็นการใช้หลักการทางานของการผลิตไฟฟ้าโดยใช้ความร้อนจากดวงอาทิตย์หรือใช้
ระบบการผลิตไฟฟ้ า โดยใช้ความร้อนจากดวงอาทิตย์แบบใดแบบหนึ่งที่เน้นการสะท้อน
แสงอาทิตย์ไปรวมยังจุดรวมเพื่อให้ความร้อนแก่ตัวกลางที่ประกอบอยู่ โดยมีการเพิ่มเติมการใช้
ความร้อนจากแหล่งพลังงานอื่นๆ ในการให้ความร้อนกับตัวกลางควบคู่ไปพร้อมๆ ในเวลา
เดียวกันด้วย
ในการใช้งานระบบไฟฟ้ าแสงอาทิตย์มี 2 รูปแบบ คือ
1. ระบบผลิตไฟฟ้าเพื่อใช้เอง (Stand-Alone) คือ จะมีการเก็บไฟฟ้ากระแสตรงที่ผลิตได้จาก
แสงอาทิตย์ในเวลากลางวัน เพื่อไปใช้ในเวลากลางคืน โดยการนาไปเพิ่มประจุของชุดแบตเตอรี่
หลังจากนั้นจึงจะนาไฟฟ้าไปใช้งานตามความต้องการ โดยอาจนาไฟฟ้าที่เก็บไว้ไปใช้ใน
ลักษณะกระแสตรงเหมือนเดิม หรืออาจจะแปลงให้เป็นไฟฟ้าสลับ (AC) โดยติดอุปกรณ์เพิ่ม
ก่อนนาไปใช้งานก็ได้ ระบบนี้จะพบมากในบริเวณ ตะรุเตา ภูกระดึง และห้วยขาแข้ง หรือใน
พื้นที่ที่ระบบสายส่งไฟฟ้าหลักไปไม่ถึง
2. ระบบผลิตไฟฟ้าเพื่อจาหน่าย (Utility Grid)โดยจะนาไฟฟ้ากระแสตรงที่ผลิตได้จากเซลล์
แสงอาทิตย์มาแปลงให้เป็นกระแสสลับ และจาหน่ายเข้าสู่ระบบสายส่งไฟฟ้าของการไฟฟ้าทันที
ซึ่งระบบนี้จะไม่มีการเก็บไฟฟ้าในแบตเตอรี่แต่อย่างใด
นาย. พงศธร แซ่เฮง เลขที่ 21 EN 3/1
นาย. ยรรยง พนมเขตต์ เลขที่ 12 EN 3/1
นาย. อนุชา คล้ายนก เลขที่ 20 EN 3/1
นาย. อภินันท์ สีแก้วน้าใส เลขที่ 14 EN 3/1
นาย. วิโรจน์ มาลีหวล เลขที่ 7 EN 3/1

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจพัน พัน
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemkasidid20309
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน Thitaree Samphao
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจPinutchaya Nakchumroon
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
คลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfคลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfssuser920267
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติWichai Likitponrak
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชพัน พัน
 

La actualidad más candente (20)

สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
คลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfคลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdf
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
ติวสอบเตรียมประสาทฮอร์โมนพฤติ
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
เรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆเรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืช
 

Destacado

งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์mintra_duangsamorn
 
09.แสงอาทิตย์
09.แสงอาทิตย์09.แสงอาทิตย์
09.แสงอาทิตย์Kobwit Piriyawat
 
RMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.Prompt
RMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.PromptRMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.Prompt
RMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.PromptRMUTThanyaburi
 
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์Nattanan Thammakhankhang
 
Solar Energy Assessment Using Remote Sensing Technologies
Solar Energy Assessment Using Remote Sensing TechnologiesSolar Energy Assessment Using Remote Sensing Technologies
Solar Energy Assessment Using Remote Sensing Technologiesoznilzo
 
โคมไฟ recycle จากถุงพลาสติกเเละกระดาษลัง DIY SMILE BY NU
โคมไฟ recycle จากถุงพลาสติกเเละกระดาษลัง DIY SMILE BY NUโคมไฟ recycle จากถุงพลาสติกเเละกระดาษลัง DIY SMILE BY NU
โคมไฟ recycle จากถุงพลาสติกเเละกระดาษลัง DIY SMILE BY NUployangkana
 
ใบความรู้+พลังงานหมุนเวียน+3+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f06-1page
ใบความรู้+พลังงานหมุนเวียน+3+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f06-1pageใบความรู้+พลังงานหมุนเวียน+3+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f06-1page
ใบความรู้+พลังงานหมุนเวียน+3+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f06-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+แหล่งพลังงานที่มีจำกัด+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f05-1page
ใบความรู้+แหล่งพลังงานที่มีจำกัด+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f05-1pageใบความรู้+แหล่งพลังงานที่มีจำกัด+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f05-1page
ใบความรู้+แหล่งพลังงานที่มีจำกัด+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f05-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20mintra_duangsamorn
 
Solar Thermal Trough 2004, Thailand
Solar Thermal Trough 2004, ThailandSolar Thermal Trough 2004, Thailand
Solar Thermal Trough 2004, ThailandJack Wong
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าpranpriya08320
 
The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...
The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...
The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...guest1f2d6d
 
ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์ ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์ Rawinnipa Manee
 
Industrial foresight china & india[1]....thai summit
Industrial foresight china & india[1]....thai summitIndustrial foresight china & india[1]....thai summit
Industrial foresight china & india[1]....thai summitSara Sararyman
 
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนพลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนnuchida suwapaet
 

Destacado (20)

งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
 
09.แสงอาทิตย์
09.แสงอาทิตย์09.แสงอาทิตย์
09.แสงอาทิตย์
 
RMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.Prompt
RMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.PromptRMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.Prompt
RMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.Prompt
 
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
 
Solar Energy Assessment Using Remote Sensing Technologies
Solar Energy Assessment Using Remote Sensing TechnologiesSolar Energy Assessment Using Remote Sensing Technologies
Solar Energy Assessment Using Remote Sensing Technologies
 
recycle
recyclerecycle
recycle
 
โคมไฟ recycle จากถุงพลาสติกเเละกระดาษลัง DIY SMILE BY NU
โคมไฟ recycle จากถุงพลาสติกเเละกระดาษลัง DIY SMILE BY NUโคมไฟ recycle จากถุงพลาสติกเเละกระดาษลัง DIY SMILE BY NU
โคมไฟ recycle จากถุงพลาสติกเเละกระดาษลัง DIY SMILE BY NU
 
ใบความรู้+พลังงานหมุนเวียน+3+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f06-1page
ใบความรู้+พลังงานหมุนเวียน+3+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f06-1pageใบความรู้+พลังงานหมุนเวียน+3+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f06-1page
ใบความรู้+พลังงานหมุนเวียน+3+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f06-1page
 
ใบความรู้+แหล่งพลังงานที่มีจำกัด+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f05-1page
ใบความรู้+แหล่งพลังงานที่มีจำกัด+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f05-1pageใบความรู้+แหล่งพลังงานที่มีจำกัด+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f05-1page
ใบความรู้+แหล่งพลังงานที่มีจำกัด+ป.3+245+dltvscip3+55t2sci p03 f05-1page
 
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
 
Iel
IelIel
Iel
 
Solar Thermal Trough 2004, Thailand
Solar Thermal Trough 2004, ThailandSolar Thermal Trough 2004, Thailand
Solar Thermal Trough 2004, Thailand
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
Electricity Systems
Electricity SystemsElectricity Systems
Electricity Systems
 
The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...
The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...
The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...
 
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าไม่จ่ายไฟ
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าไม่จ่ายไฟเครื่องกำเนิดไฟฟ้าไม่จ่ายไฟ
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าไม่จ่ายไฟ
 
ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์ ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์
 
Electricity lecture 2012 Week01
Electricity lecture 2012  Week01Electricity lecture 2012  Week01
Electricity lecture 2012 Week01
 
Industrial foresight china & india[1]....thai summit
Industrial foresight china & india[1]....thai summitIndustrial foresight china & india[1]....thai summit
Industrial foresight china & india[1]....thai summit
 
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนพลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
 

Similar a งานพลังงานและสิ่งแวดล้อม

10k w+hotwater
10k w+hotwater10k w+hotwater
10k w+hotwaterJack Wong
 
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้างานไฟฟ้า
งานไฟฟ้าNatdanai Kumpao
 
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้างานไฟฟ้า
งานไฟฟ้าNatdanai Kumpao
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
งานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdfงานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.PdfPanatsaya
 
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้างานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้าPhachakorn Khrueapuk
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าthanawan302
 

Similar a งานพลังงานและสิ่งแวดล้อม (9)

10k w+hotwater
10k w+hotwater10k w+hotwater
10k w+hotwater
 
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้างานไฟฟ้า
งานไฟฟ้า
 
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้างานไฟฟ้า
งานไฟฟ้า
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
งานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdfงานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdf
 
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้างานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
งานนำเสนอ1 ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 

งานพลังงานและสิ่งแวดล้อม

  • 1.
  • 2. "พลังงานแสงอาทิตย์" นับเป็นพลังงานหนึ่ง ที่ได้รับความนิยม ในการนามา แปลงให้ เป็น "พลังงานไฟฟ้ า" โดยมองว่าเป็นพลังงานทดแทนที่สะอาด ใช้แล้วไม่หมดไป จึงไม่แปลกที พลังงานแสงอาทิตย์ จะเป็นที่นิยม ให้บริษัทต่าง ๆ ด้านพลังงาน หันมาลงทุนก่อสร้างโรงไฟฟ้ า พลังงานแสงอาทิตย์
  • 3. โรงผลิตไฟฟ้ าจากพลังงานแสงอาทิตย์สามารถแบ่งประเภทได้เป็น 2 ประเภทหลักๆ คือ - โรงผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ประเภทนี้การผลิตไฟฟ้า ใช้เซลล์แสงอาทิตย์เป็น อุปกรณ์หลักในการผลิตไฟฟ้า - โรงผลิตไฟฟ้าความร้อนแสงอาทิตย์ ประเภทนี้การผลิตไฟฟ้า ใช้การรวบรวมความ ร้อนจากแสงอาทิตย์ มาบนตัวกลาง เช่น น้าหรือน้ามัน แล้วนาน้าหรือน้ามันที่ร้อน ไปหมุน กังหันของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า ในการผลิตไฟฟ้า
  • 4. 1. เมื่อแสงอาทิตย์ ตกกระทบบนแผงเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Panel) จะทาให้เกิดการผลิตไฟฟ้ า ออกจากแผงเซลล์แสงอาทิตย์ โดยไฟฟ้ าที่ออกมาเป็นไฟฟ้ ากระแสตรงแรงดันไฟฟ้ าต่า 2. ไฟฟ้ ากระแสตรงดังกล่าว ถูกส่งผ่านอุปกรณ์ อินเวอร์เตอร์ (Inverter) จะเกิดการแปลง กระแสไฟฟ้ าจาก ไฟฟ้ ากระแสตรงแรงดันไฟฟ้ าต่า เป็น ไฟฟ้ ากระแสสลับแรงดันไฟฟ้ าต่า 3. ไฟฟ้ ากระแสสลับดังกล่าว ถูกส่งผ่านหม้อแปลงไฟฟ้ า เพื่อเพิ่มแรงดันไฟฟ้ า เป็นแรงดันไฟฟ้ า สูง เพื่อให้สามารถ ส่งผ่านสายส่งไฟฟ้ าของการไฟฟ้ าไปยังผู้ใช้ไฟฟ้ าต่อไป แผงโซลาร์เชลล์ อินเวอร์เตอร์ หม้อแปลงไฟฟ้ า สายส่งไฟฟ้ า
  • 5. แรงเคลื่อนไฟฟ้ าที่ผลิตขึ้นจากเซลล์ แสงอาทิตย์เพียงเซลล์เดียว จะมีค่าต่ามาก การ นามาใช้งานจะต้องนาเซลล์หลาย ๆ เซลล์ มาต่อ กันแบบอนุกรมเพื่อเพิ่มค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้ าให้ สูงขึ้น เซลล์ที่นามาต่อกันในจานวนและขนาด ที่เหมาะสมเรียกว่า แผงเซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Module หรือ Solar Panel)
  • 6. 1. เมื่อเซลล์แสงอาทิตย์ได้รับแสงอาทิตย์ อนุภาคโปรตอนในแสงอาทิตย์ ทาให้เกิด -การเคลื่อนไหวของ“อิเล็กตรอน” ขึ้นที่ ชั้น N-type Silicon -การเคลื่อนไหวของ“โฮล” (อะตอมสูญเสียอิเล็กตรอน)ขึ้นที่ชั้น P-type Silicon -เมื่อพลังงานสูงพอทั้งอิเล็กตรอนและโฮลจะวิ่งเข้าหาเพื่อจับคู่กัน โดยไม่ผ่านทาง Junction แต่ผ่านทางวงจรไฟฟ้าที่ต่อกับขั้วไฟฟ้าของเซลล์แสงอาทิตย์ 2. การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนดังกล่าว จะทาให้เกิดไฟฟ้ ากระแสตรงขึ้น
  • 7. เซลล์แสงอาทิตย์ (Solar Cell) เป็นสิ่งประดิษฐ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ที่สร้างจากสารกึ่งตัว นา (Semiconductor) เมื่อได้รับแสงจากดวงอาทิตย์หรือแสงจากหลอดไฟเซลล์แสงอาทิตย์จะ เปลี่ยนพลังงานแสงเป็นพลังงานไฟฟ้ ากระแสตรง (Direct Current : DC) ตัวอย่างเช่น เครื่อง คิดเลข นาฬิกา สัญญาณจราจร สถานีถ่ายทอดวิทยุ ประภาคาร โคมไฟถนน เรือมอเตอร์ เครื่องบิน ระบบสูบน้าเพื่อการชลประทานและดาวเทียมเป็นต้น
  • 8. 1. กลุ่มที่เป็นรูปผลึก (Crystal, Crystalline) แบ่งออกเป็น - ชนิดผลึกเดี่ยวซิลิคอน (Single Crystalline Silicon) - ชนิดผลึกรวมซิลิคอน (Poly Crystalline Silicon) 2. กลุ่มที่ไม่เป็นรูปผลึก (Amorphous) -ชนิดฟิล์มบาง อะมอร์ฟัสซิลิคอน (Amorphous Silicon, Thin Film)
  • 9. 1. กลุ่มที่ทาจากสารประกอบที่ไม่ใช่ซิลิคอน - มีประสิทธิภาพสูงถึง 25% ขึ้นไป - มีราคาสูงมาก - ใช้งานสาหรับดาวเทียมและระบบรวมแสงเป็นส่วนใหญ่ - เช่น Gallium Arsenide (GaAs) 2. การพัฒนาขบวนการผลิตสมัยใหม่จากสารประกอบประเภทอื่นๆ จะทาให้มีราคาถูกลง และนา มาใช้มากขึ้นในอนาคต - เช่น Cadmium telluride (CdTe), Copper-Indium Selenide(CIGS), Light-absorbing dyes (DSSC), Organic/polymer solar cells เป็นต้น
  • 10. 1. แสงอาทิตย์ สะท้อนกระจกยังจุด รวบรวมแสงของแต่ละชนิด เช่น ท่อน้า ยอดหอคอย เป็นต้น 2. แสงอาทิตย์ สร้างให้เกิดความร้อนกับ ตัวกลาง และตัวกลางดังกล่าวที่สะสม ความร้อนไว้ เคลื่อนที่ไปหมุนกังหันของ เครื่องกาเนิดไฟฟ้ า ในการผลิตไฟฟ้ า
  • 11. 1. ระบบรางพาราโบลา (Parabolic Trough) เป็นตัวรับรังสีดวงอาทิตย์ (Solar Collector) ซึ่งทงานโดยใช้หลักการรวมรังสีดวงอาทิตย์ด้วย การสะท้อนจากผิวโค้งรูปพาราโบลาที่เป็นรางยาว โดยตัวรับรังสีประกอบด้วยตัวสะท้อนรังสี (Reflector) และท่อรับรังสี (Receiver) ซึ่งท่อรับรังสีจะเป็นท่อโลหะอยู่ภายในท่อแก้ว โดยช่องว่าง ระหว่างท่อเป็นสุญญากาศเพื่อลดการสูญเสียความร้อน ภายในจะมีของเหลวประเภทน้ามันจุดเดือดสูง ไหลในท่อโลหะ เพื่อพาความร้อนไปถ่ายเทให้กับหม้อไอน้า (Boiler) สาหรับผลิตไอน้าเพื่อขับเคลื่อน เครื่องยนต์กังหันไอน้า ซึ่งทางานด้วย วัฏจักร Rankine โดยงานเพลาที่ได้จากเครื่องยนต์ดังกล่าวจะน้า ไปใช้ขับเคลื่อนเครื่องกาเนิดไฟฟ้ า สาหรับในช่วงที่ไม่มีแสงอาทิตย์จะใช้พลังงานจากก๊าซช่วยในการ กาเนิดไอน้า
  • 12. 2. ระบบจานพาราโบลา (Parabolic Dish) ร่วมกับเครื่องยนต์สเตอร์ลิง ระบบผลิตไฟฟ้ าแบบนี้จะใช้หลักการแปลงพลังงานจาก รังสีดวงอาทิตย์ให้เป็นความร้อน แล้วแปลงพลังงานความร้อนให้เป็นพลังงานกลเพื่อนาไปผลิต ไฟฟ้า โดยระบบจะประกอบด้วยจานรวมแสงแบบพาราโบลาและเครื่องยนต์สเตอร์ลิง (Stirling Engine) กับเครื่องกาเนิดไฟฟ้ า โดยตัวรวมแสงแบบจานพาราโบลาอาจมีผิวสะท้อนเป็นผิว ต่อเนื่องหรือประกอบด้วยแผ่นสะท้อนแสงหลายชิ้นซึ่งประกอบกันเป็นผิวโครงพาราโบลา และ มีเครื่องยนต์สเตอร์ลิงกับเครื่องกาเนิดไฟฟ้ าวางอยู่ที่จุดโฟกัสของจานพาราโบลาและจาน ดังกล่าวต้องมีระบบขับเคลื่อนแบบ 2 แกน ตามดวงอาทิตย์ตลอดทั้งวัน โดยทั่วไประบบจาน พาราโบลาร่วมกับเครื่องยนต์สเตอร์ลิง 1 ชุด จะมีกาลังการผลิต25-40 kW แต่ละชุดสามารถทา งานโดยอิสระ ถ้าต้องการกาลังไฟฟ้ ามากก็ติดตั้งจานวนหลายชุดคล้ายกับระบบผลิตไฟฟ้ าด้วย โซลาร์เซลล์
  • 13. 3. ระบบหอคอย (Solar Tower) จะประกอบไปด้วยหอคอย (Tower) และระบบกระจกสะท้อนแสงแผ่นราบ (Heliostat) โดยกระจกแต่ละแผ่นจะสะท้อนแสงอาทิตย์ไปรวมกันที่หอคอย ซึ่งมีตัวรับรังสีดวงอาทิตย์ที่มี ของไหลไหลผ่าน เพื่อพาพลังงานความร้อนที่ได้ไปใช้ขับเคลื่อนเครื่องยนต์สาหรับผลิตไฟฟ้ า ของไหลที่ใช้มีทั้งเกลือหลอมละลาย (Molten Salt) น้าและอากาศ 4. ระบบความร้อนร่วม (Combined Cycle) เป็นการใช้หลักการทางานของการผลิตไฟฟ้าโดยใช้ความร้อนจากดวงอาทิตย์หรือใช้ ระบบการผลิตไฟฟ้ า โดยใช้ความร้อนจากดวงอาทิตย์แบบใดแบบหนึ่งที่เน้นการสะท้อน แสงอาทิตย์ไปรวมยังจุดรวมเพื่อให้ความร้อนแก่ตัวกลางที่ประกอบอยู่ โดยมีการเพิ่มเติมการใช้ ความร้อนจากแหล่งพลังงานอื่นๆ ในการให้ความร้อนกับตัวกลางควบคู่ไปพร้อมๆ ในเวลา เดียวกันด้วย
  • 14. ในการใช้งานระบบไฟฟ้ าแสงอาทิตย์มี 2 รูปแบบ คือ 1. ระบบผลิตไฟฟ้าเพื่อใช้เอง (Stand-Alone) คือ จะมีการเก็บไฟฟ้ากระแสตรงที่ผลิตได้จาก แสงอาทิตย์ในเวลากลางวัน เพื่อไปใช้ในเวลากลางคืน โดยการนาไปเพิ่มประจุของชุดแบตเตอรี่ หลังจากนั้นจึงจะนาไฟฟ้าไปใช้งานตามความต้องการ โดยอาจนาไฟฟ้าที่เก็บไว้ไปใช้ใน ลักษณะกระแสตรงเหมือนเดิม หรืออาจจะแปลงให้เป็นไฟฟ้าสลับ (AC) โดยติดอุปกรณ์เพิ่ม ก่อนนาไปใช้งานก็ได้ ระบบนี้จะพบมากในบริเวณ ตะรุเตา ภูกระดึง และห้วยขาแข้ง หรือใน พื้นที่ที่ระบบสายส่งไฟฟ้าหลักไปไม่ถึง 2. ระบบผลิตไฟฟ้าเพื่อจาหน่าย (Utility Grid)โดยจะนาไฟฟ้ากระแสตรงที่ผลิตได้จากเซลล์ แสงอาทิตย์มาแปลงให้เป็นกระแสสลับ และจาหน่ายเข้าสู่ระบบสายส่งไฟฟ้าของการไฟฟ้าทันที ซึ่งระบบนี้จะไม่มีการเก็บไฟฟ้าในแบตเตอรี่แต่อย่างใด
  • 15.
  • 16. นาย. พงศธร แซ่เฮง เลขที่ 21 EN 3/1 นาย. ยรรยง พนมเขตต์ เลขที่ 12 EN 3/1 นาย. อนุชา คล้ายนก เลขที่ 20 EN 3/1 นาย. อภินันท์ สีแก้วน้าใส เลขที่ 14 EN 3/1 นาย. วิโรจน์ มาลีหวล เลขที่ 7 EN 3/1