SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
PDCA
PDCA หรือที่เรียกว่าวงจรเดมมิง (อังกฤษ: Deming Cycle)
หรือวงจรชูฮาร์ต (Shewhart Cycle) คือวงจรการควบคุมคุณภาพ
ความหมายของ PDCA
PDCA คือ วงจรที่พัฒนามาจากวงจรที่คิดค้นโดยวอล์ทเตอร์ ซิวฮาร์ท(Walter
Shewhart)ผู้บุกเบิกการใช้สถิติสาหรับวงการอุตสาหกรรมและต่อมาวงจรนี้เริ่มเป็นที่รู้จักกัน
มากขึ้นเมื่อ เอดวาร์ด เดมมิ่ง (W.Edwards Deming) ปรมาจารย์ด้านการบริหารคุณภาพ
เผยแพร่ให้เป็นเครื่องมือสาหรับการปรับปรุงกระบวนการทางานของพนักงานภายในโรงงาน
ให้ดียิ่งขึ้น และช่วยค้นหาปัญหาอุปสรรคในแต่ละขั้นตอนการผลิตโดยพนักงานเอง จนวงจร
นี้เป็นที่รู้จักกันในอีกชื่อว่า “วงจรเด็มมิ่ง” ต่อมาพบว่า แนวคิดในการใช้วงจร PDCA นั้น
สามารถนามาใช้ได้กับทุกกิจกรรม จึงทาให้เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายมากขึ้นทั่วโลก
PDCA เป็นอักษรนาของศัพท์ภาษาอังกฤษ 4 คาคือ
P : Plan = การวางแผน
D : Do = การปฏิบัติตามแผน
C : Check = การตรวจสอบ / ประเมินผลและนาผลประเมิน
มาวิเคราะห์
A : Action = การปรับปรุงแก้ไขดาเนินการให้เหมาะสมตามผล
การประเมิน
Plan (วางแผน)
หมายถึง การวางแผนการดาเนินงานอย่างรอบคอบ ครอบคลุมถึงการ
กาหนดหัวข้อที่ต้องการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ซึ่งรวมถึงการพัฒนาสิ่งใหม่ๆ การ
แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน อาจประกอบด้วย การกาหนดเป้ าหมาย
หรือวัตถุประสงค์ของการดาเนินงาน Plan การจัดอันดับความสาคัญของ
เป้ าหมาย กาหนดการดาเนินงาน กาหนดระยะเวลาการดาเนินงาน กาหนด
ผู้รับผิดชอบหรือผู้ดาเนินการและกาหนดงบประมาณที่จะใช้ การเขียนแผน
ดังกล่าวอาจปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสมของลักษณะ การดาเนินงาน การ
วางแผนยังช่วยให้เราสามารถคาดการณ์สิ่งที่เกิดขึ้นในอนาคต และช่วยลดความ
สูญเสียต่างๆที่อาจเกิดขึ้นได้
ฉะนั้น P จะต้องมีแผน
1.วัตถุประสงค์เหมาะสม และสอดคล้องกับแผนขององค์กร/
พันธกิจหรือไม่
2.มีการกาหนดผู้รับผิดชอบหรือไม่ (รายบุคคล/คณะบุคคล)
3.ระยะเวลาดาเนินการที่กาหนดไว้เหมาะสมหรือไม่
4.งบประมาณที่กาหนดเหมาะสมหรือไม่
5.มีการเสนอเพื่อขออนุมัติก่อนดาเนินการหรือไม่
Do (ปฏิบัติตามแผน)
หมายถึง การดาเนินการตามแผน อาจประกอบด้วย การมี
โครงสร้างรองรับ การดาเนินการ เช่น คณะกรรมการหรือหน่วยงาน
จะต้องมีวิธีการ ดาเนินการ
D ต้องมีผลการดาเนินการตามแผน
1. มีการกาหนดขั้นตอนหรือวิธีการดาเนินการหรือไม่
2. มีผู้รับผิดชอบดาเนินการได้ตามกาหนดไว้หรือไม่
3.มีการประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้องมากน้อยเพียงไร
4.สามารถดาเนินการตามระยะเวลาที่กาหนดได้หรือไม่
5.สามารถดาเนินการได้ตามงบประมาณที่กาหนดไว้หรือไม่
Check (ตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน)
หมายถึง การประเมินแผน อาจประกอบด้วย การประเมินโครงสร้างที่
รองรับ การดาเนินการ การประเมินขั้นตอนการดาเนินงาน และการประเมินผลของ
การดาเนินงานตามแผนที่ได้ตั้งไว้ โดยในการประเมินดังกล่าวสามารถ ทาได้เอง
โดยคณะกรรมการที่รับผิดชอบแผนการดาเนินงานนั้น ๆ ซึ่งเป็นลักษณะของการ
ประเมินตนเอง โดยไม่จาเป็นต้องตั้งคณะกรรมการ อีกชุดมาประเมินแผน หรือไม่
จาเป็นต้องคิดเครื่องมือหรือแบบประเมิน ที่ยุ่งยากซับซ้อน
C ต้องมีการประเมินการดาเนินการ
1.ได้มีการกาหนดวิธี/รูปแบบการประเมินหรือไม่
2.มีรูปแบบของการประเมินเหมาะสมหรือไม่
3. ผลของการประเมินตรงกับวัตถุประสงค์ที่วางไว้หรือไม่
4.ปัญหา/จุดอ่อนที่พบในการดาเนินการมีหรือไม่
5.ข้อดี/จุดแข็ง ของการดาเนินการมีหรือไม่
Act (ปรับปรุงแก้ไข)
Act หมายถึง การนาผลการประเมินมาพัฒนาแผน อาจ
ประกอบด้วย การนาผลการ ประเมินมาวิเคราะห์ว่ามีโครงสร้าง หรือ
ขั้นตอนการปฏิบัติงานใดที่ควร ปรับปรุงหรือพัฒนาสิ่งที่ดีอยู่แล้วให้ดี
ยิ่งขึ้นไปอีก และสังเคราะห์รูปแบบ การดาเนินการใหม่ที่เหมาะสม
สาหรับการดาเนินการ ในปีต่อไป
A ต้องมีการปรับปรุงตามผลการประเมิน
1.มีการระดมสมองเพื่อหาทางแก้ไขปัญหา/จุดอ่อนที่ค้นพบ
2.มีการระดมสมองเพื่อหาทางเสริมข้อดี/จุดแข็งเพิ่มขึ้น
3.มีการนาผลที่ได้จากการระดมสมอง เสนอคณะกรรมการเพื่อ
พิจารณาสาหรับใช้วางแผนครั้งต่อไป
4.กาหนดกลยุทธ์ในการจัดทาแผนครั้งต่อไป
5.กาหนดผู้รับผิดชอบไปดาเนินจัดทาแผนครั้งต่อไป
ประโยชน์ของ PDCA มีดังนี้
1. การวางแผนงานก่อนการปฎิบัติงาน จะทาให้เกิดความพร้อมเมื่อได้
ปฏิบัติงานจริงการวางแผนงานควรวางให้ครบ 4 ขั้นดังนี้
(1) ขั้นการศึกษา คือ การวางแผนศึกษาข้อมูล วิธีการ ความต้องการของ
ตลาด ข้อมูลด้านวัตถุดิบ ด้านทรัพยากรที่มีอยู่หรือเงินทุน
(2) ขั้นเตรียมงาน คือ การวางแผนการเตรียมงานด้านสถานที่ การ
ออกแบบผลิตภัณฑ์ ความพร้อมของพนักงาน อุปกรณ์ เครื่องจักร วัตถุดิบ
(3) ขั้นดาเนินงาน คือ การวางแนวทางการปฏิบัติงานของแต่ละส่วนแต่ละ
ฝ่าย เช่น ฝ่ายผลิต ฝ่ายขาย
(4) ขั้นการประเมินผล คือ การวางแผนหรือเตรียมการประเมินผลงาน
อย่างเป็นระบบ เช่น ประเมินจากยอดการจาหน่าย ประเมินจากการติชม
ของลูกค้า เพื่อให้ผลที่ได้จากการประเมินเกิดการเที่ยงตรง
2. การปฏิบัติตามแผนงาน ทาให้ทราบขั้นตอน วิธีการ และสามารถ
เตรียมงานล่วงหน้าหรือทราบอุปสรรคล่วงหน้าด้วย ดังนั้น การ
ปฏิบัติงานก็จะเกิดความราบรื่น และเรียนร้อย นาไปสู่เป้ าหมายที่ได้
กาหนดไว้
3. การตรวจสอบ ให้ได้ผลที่เที่ยงตรงเชื่อถือได้ ประกอบด้วย
3.1 ตรวจสอบจากเป้ าหมายที่ได้กาหนดไว้
3.2 มีเครื่องมือที่เชื่อถือได้
3.3 มีเกณฑ์การตรวจสอบที่ชัดเจน
3.4 มีกาหนดเวลาการตรวจที่แน่นอน
3.5 บุคลากรที่ทาการตรวจสอบต้องได้รับการยอมรับจากทุกหน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง เมื่อการตรวจสอบได้รับการยอมรับ การปฏิบัติงานขั้นต่อไปก็
ดาเนินงานต่อไปได้
4. การปรับปรุงแก้ไข ข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นขั้นตอนใดก็ตาม
เมื่อมีการปรับปรุงแก้ไขคุณภาพก็จะเกิดขึ้น
การจัดการคุณภาพ (Quality Management)
จากความหมายของคาว่าคุณภาพมาสู่แนวทางการดาเนินการเพื่อคุณภาพที่ดี
นั้นได้มีคาหลายคาที่ใช้ในการบ่งบอกถึงการปฏิบัติการเกี่ยวกับคุณภาพ เช่น ระบบ
คุณภาพ การควบคุมคุณภาพ การประกันคุณภาพ หรือ การบริหารงานคุณภาพ ฯลฯ ซึง
มีความหมายแตกต่างกันดังต่อไปนี้
1 การควบคุมคุณภาพ (Quality Control หรือ QC) หมายถึง กิจกรรมและ
กลวิธีการปฏิบัติเพื่อสนองความต้องการด้านคุณภาพภายในธุรกิจ โดยการตรวจสอบ
การวัด และการทดสอบที่มุ่งจะควบคุมวัตถุดิบ กระบวนการ และการกาจัดสาเหตุของ
ข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการทั้งหมด เช่น การสุ่มตัวอย่างน้าผลไม้กระป๋ องมา
ตรวจสอบรสชาติ
การควบคุมคุณภาพเน้นการตรวจสอบและแยกแยะของดีและของเสียออกจาก
กัน โดยระบุเป็นร้อยละของของเสียที่พบจากล็อตการผลิต เพื่อควบคุมมิให้ของเสียมีมาก
เกินกว่าที่กาหนดและในปัจจุบันการควบคุมคุณภาพมุ่งเน้นที่ของเสียต้องเป็นศูนย์ (Zero
Defect)
2.การประกันคุณภาพ (Quality Assurance หรือ QA) หมายถึง การ
ดาเนินการเพื่อคุณภาพตามระบบและแผนงานที่วางไว้อย่างเคร่งครัด เพื่อที่จะมั่นใจ
ได้ว่าผลิตภัณฑ์หรือบริการมีคุณภาพตามที่ลูกค้าต้องการ เช่น การดาเนินงานตาม
มาตรฐานคุณภาพสากล ISO 9000
3 การบริหารคุณภาพ (Quality Management หรือ QM)
หมายถึง การจัดการระบบคุณภาพโดยทุกคนที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอก
องค์การรับผิดชอบต่องานที่ตนเองกระทาอย่างเต็มที่เพื่อให้สินค้าและบริการเป็นไป
ตามต้องการของลูกค้า เช่น การใช้ระบบการบริหารคุณภาพสมบูรณ์แบบ (Total
Quality Management หรือ TQM)
วัตถุประสงค์หลักของการบริการคุณภาพ คือ การผลิตสินค้าหรือบริการที่
ตอบสนองความต้องการของลูกค้า ซึ่งความต้องการของลูกค้าจะเป็นกรอบกาหนด
ระบบคุณภาพขององค์การทั้งทางตรงและทางอ้อม ดังนั้นการบริหารคุณภาพจะมุ่ง
สร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้าเป็นสาคัญ
แหล่งที่มา
http://th.wikipedia.org/wiki/PDCA
http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=13c6e42e1a74243d
http://www.olrepublic.com/
https://sites.google.com/a/ttc.ac.th/tuktang/xngkhkar-
wichachiph/pdca
http://www.gembapantarei.com/PDCA.png
http://www.logisticafe.com/2010/01/pdca/
http://www.bestwitted.com/?tag=quality-management

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
Nattakorn Sunkdon
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
tassanee chaicharoen
 
แบบสอบถาม พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน
แบบสอบถาม  พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบันแบบสอบถาม  พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน
แบบสอบถาม พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน
สำเร็จ นางสีคุณ
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
Chantana Papattha
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
Nattakorn Sunkdon
 
002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories
wiraja
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
panupong
 

What's hot (20)

วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์
วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์
วิวัฒนาการ การสื่อสารของมนุษย์
 
Swot
 Swot Swot
Swot
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakeryตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านBakery
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrixการวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
 
บทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศบทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศ
 
Script vdo สพก
Script vdo สพกScript vdo สพก
Script vdo สพก
 
แบบสอบถาม พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน
แบบสอบถาม  พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบันแบบสอบถาม  พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน
แบบสอบถาม พฤติกรรมของวัยรุ่นไทยในปัจจุบัน
 
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไรลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
ลักษณะนโยบายสาธารณะที่ดีควรเป็นอย่างไร
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 
002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories
 
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยีหน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
 
คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
 
การทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
การทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.การทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
การทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่ 2 มิติ
แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่ 2 มิติแบบฝึกหัดการเคลื่อนที่ 2 มิติ
แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่ 2 มิติ
 

Viewers also liked

Chapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพ
Chapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพChapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพ
Chapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพ
Ronnarit Junsiri
 
Building highly scalable process and rule-driven applications with JBoss Ente...
Building highly scalable process and rule-driven applications with JBoss Ente...Building highly scalable process and rule-driven applications with JBoss Ente...
Building highly scalable process and rule-driven applications with JBoss Ente...
Eric D. Schabell
 
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรมChapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Ronnarit Junsiri
 

Viewers also liked (20)

การจัดการคุณภาพ(Quality management)
การจัดการคุณภาพ(Quality management)การจัดการคุณภาพ(Quality management)
การจัดการคุณภาพ(Quality management)
 
การบริหารงานคุณภาพ Tqm
การบริหารงานคุณภาพ Tqmการบริหารงานคุณภาพ Tqm
การบริหารงานคุณภาพ Tqm
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
 
Chapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพ
Chapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพChapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพ
Chapter 2 ความหมายของการควบคุมคุณภาพ
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
 
Decision services for soa platforms
Decision services for soa platformsDecision services for soa platforms
Decision services for soa platforms
 
Business Rules - Design and Modeling Guidelines
Business Rules - Design and Modeling GuidelinesBusiness Rules - Design and Modeling Guidelines
Business Rules - Design and Modeling Guidelines
 
2007 11-09 mm (costa rica - incae cit omg) modeling with bpmn and xpdl
2007 11-09 mm (costa rica - incae cit omg) modeling with bpmn and xpdl2007 11-09 mm (costa rica - incae cit omg) modeling with bpmn and xpdl
2007 11-09 mm (costa rica - incae cit omg) modeling with bpmn and xpdl
 
Qwr iso20000 auditor m04 implementing audit and tooling us 06 apr14
Qwr iso20000 auditor m04 implementing audit and tooling us 06 apr14Qwr iso20000 auditor m04 implementing audit and tooling us 06 apr14
Qwr iso20000 auditor m04 implementing audit and tooling us 06 apr14
 
L4
L4L4
L4
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
 
Business rules management system
Business rules management systemBusiness rules management system
Business rules management system
 
Business rule and decision engine
Business rule and decision engineBusiness rule and decision engine
Business rule and decision engine
 
Semantically-Enabled Business Process Management
Semantically-Enabled Business Process ManagementSemantically-Enabled Business Process Management
Semantically-Enabled Business Process Management
 
Building highly scalable process and rule-driven applications with JBoss Ente...
Building highly scalable process and rule-driven applications with JBoss Ente...Building highly scalable process and rule-driven applications with JBoss Ente...
Building highly scalable process and rule-driven applications with JBoss Ente...
 
101ch6
101ch6101ch6
101ch6
 
Marketo LaunchPoint
Marketo LaunchPoint Marketo LaunchPoint
Marketo LaunchPoint
 
BRMS6.2 2016版
BRMS6.2 2016版BRMS6.2 2016版
BRMS6.2 2016版
 
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรมChapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
Chapter 4 บทบาทของการควบคุมคุณภาพกับงานอุตสาหกรรม
 

More from Thida Noodaeng

คุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียน
คุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียนคุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียน
คุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียน
Thida Noodaeng
 
ข้อมูลทั่วไปของอำเภอวัฒนานคร (อ้างอิงจากนายวิฑูรย์)
ข้อมูลทั่วไปของอำเภอวัฒนานคร (อ้างอิงจากนายวิฑูรย์)ข้อมูลทั่วไปของอำเภอวัฒนานคร (อ้างอิงจากนายวิฑูรย์)
ข้อมูลทั่วไปของอำเภอวัฒนานคร (อ้างอิงจากนายวิฑูรย์)
Thida Noodaeng
 
พลังงานนิวเคลียร์
พลังงานนิวเคลียร์พลังงานนิวเคลียร์
พลังงานนิวเคลียร์
Thida Noodaeng
 
โครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
โครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาโครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
โครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
Thida Noodaeng
 
แรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงานแรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงาน
Thida Noodaeng
 
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรองความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
Thida Noodaeng
 
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรองลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
Thida Noodaeng
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
Thida Noodaeng
 
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองกระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
Thida Noodaeng
 
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
Thida Noodaeng
 
รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์
Thida Noodaeng
 
บทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาคบทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาค
Thida Noodaeng
 
การใช้พลังงานนิวเคลียร์
การใช้พลังงานนิวเคลียร์การใช้พลังงานนิวเคลียร์
การใช้พลังงานนิวเคลียร์
Thida Noodaeng
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
Thida Noodaeng
 

More from Thida Noodaeng (14)

คุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียน
คุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียนคุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียน
คุณภาพการให้บริการของสำนักทะเบียน
 
ข้อมูลทั่วไปของอำเภอวัฒนานคร (อ้างอิงจากนายวิฑูรย์)
ข้อมูลทั่วไปของอำเภอวัฒนานคร (อ้างอิงจากนายวิฑูรย์)ข้อมูลทั่วไปของอำเภอวัฒนานคร (อ้างอิงจากนายวิฑูรย์)
ข้อมูลทั่วไปของอำเภอวัฒนานคร (อ้างอิงจากนายวิฑูรย์)
 
พลังงานนิวเคลียร์
พลังงานนิวเคลียร์พลังงานนิวเคลียร์
พลังงานนิวเคลียร์
 
โครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
โครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาโครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
โครงการกองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
 
แรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงานแรงจูงใจในการทำงาน
แรงจูงใจในการทำงาน
 
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรองความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
 
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรองลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองกระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
 
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
ผู้นำ ลีดเดอร์ชิฟ
 
รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์
 
บทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาคบทที่ 5 นโยบายมหาภาค
บทที่ 5 นโยบายมหาภาค
 
การใช้พลังงานนิวเคลียร์
การใช้พลังงานนิวเคลียร์การใช้พลังงานนิวเคลียร์
การใช้พลังงานนิวเคลียร์
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 

การจัดการคุณภาพ 1

  • 1.
  • 2.
  • 3. PDCA PDCA หรือที่เรียกว่าวงจรเดมมิง (อังกฤษ: Deming Cycle) หรือวงจรชูฮาร์ต (Shewhart Cycle) คือวงจรการควบคุมคุณภาพ ความหมายของ PDCA PDCA คือ วงจรที่พัฒนามาจากวงจรที่คิดค้นโดยวอล์ทเตอร์ ซิวฮาร์ท(Walter Shewhart)ผู้บุกเบิกการใช้สถิติสาหรับวงการอุตสาหกรรมและต่อมาวงจรนี้เริ่มเป็นที่รู้จักกัน มากขึ้นเมื่อ เอดวาร์ด เดมมิ่ง (W.Edwards Deming) ปรมาจารย์ด้านการบริหารคุณภาพ เผยแพร่ให้เป็นเครื่องมือสาหรับการปรับปรุงกระบวนการทางานของพนักงานภายในโรงงาน ให้ดียิ่งขึ้น และช่วยค้นหาปัญหาอุปสรรคในแต่ละขั้นตอนการผลิตโดยพนักงานเอง จนวงจร นี้เป็นที่รู้จักกันในอีกชื่อว่า “วงจรเด็มมิ่ง” ต่อมาพบว่า แนวคิดในการใช้วงจร PDCA นั้น สามารถนามาใช้ได้กับทุกกิจกรรม จึงทาให้เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายมากขึ้นทั่วโลก
  • 4. PDCA เป็นอักษรนาของศัพท์ภาษาอังกฤษ 4 คาคือ P : Plan = การวางแผน D : Do = การปฏิบัติตามแผน C : Check = การตรวจสอบ / ประเมินผลและนาผลประเมิน มาวิเคราะห์ A : Action = การปรับปรุงแก้ไขดาเนินการให้เหมาะสมตามผล การประเมิน
  • 5.
  • 6. Plan (วางแผน) หมายถึง การวางแผนการดาเนินงานอย่างรอบคอบ ครอบคลุมถึงการ กาหนดหัวข้อที่ต้องการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ซึ่งรวมถึงการพัฒนาสิ่งใหม่ๆ การ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน อาจประกอบด้วย การกาหนดเป้ าหมาย หรือวัตถุประสงค์ของการดาเนินงาน Plan การจัดอันดับความสาคัญของ เป้ าหมาย กาหนดการดาเนินงาน กาหนดระยะเวลาการดาเนินงาน กาหนด ผู้รับผิดชอบหรือผู้ดาเนินการและกาหนดงบประมาณที่จะใช้ การเขียนแผน ดังกล่าวอาจปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสมของลักษณะ การดาเนินงาน การ วางแผนยังช่วยให้เราสามารถคาดการณ์สิ่งที่เกิดขึ้นในอนาคต และช่วยลดความ สูญเสียต่างๆที่อาจเกิดขึ้นได้
  • 7. ฉะนั้น P จะต้องมีแผน 1.วัตถุประสงค์เหมาะสม และสอดคล้องกับแผนขององค์กร/ พันธกิจหรือไม่ 2.มีการกาหนดผู้รับผิดชอบหรือไม่ (รายบุคคล/คณะบุคคล) 3.ระยะเวลาดาเนินการที่กาหนดไว้เหมาะสมหรือไม่ 4.งบประมาณที่กาหนดเหมาะสมหรือไม่ 5.มีการเสนอเพื่อขออนุมัติก่อนดาเนินการหรือไม่
  • 8. Do (ปฏิบัติตามแผน) หมายถึง การดาเนินการตามแผน อาจประกอบด้วย การมี โครงสร้างรองรับ การดาเนินการ เช่น คณะกรรมการหรือหน่วยงาน จะต้องมีวิธีการ ดาเนินการ D ต้องมีผลการดาเนินการตามแผน 1. มีการกาหนดขั้นตอนหรือวิธีการดาเนินการหรือไม่ 2. มีผู้รับผิดชอบดาเนินการได้ตามกาหนดไว้หรือไม่ 3.มีการประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้องมากน้อยเพียงไร 4.สามารถดาเนินการตามระยะเวลาที่กาหนดได้หรือไม่ 5.สามารถดาเนินการได้ตามงบประมาณที่กาหนดไว้หรือไม่
  • 9. Check (ตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน) หมายถึง การประเมินแผน อาจประกอบด้วย การประเมินโครงสร้างที่ รองรับ การดาเนินการ การประเมินขั้นตอนการดาเนินงาน และการประเมินผลของ การดาเนินงานตามแผนที่ได้ตั้งไว้ โดยในการประเมินดังกล่าวสามารถ ทาได้เอง โดยคณะกรรมการที่รับผิดชอบแผนการดาเนินงานนั้น ๆ ซึ่งเป็นลักษณะของการ ประเมินตนเอง โดยไม่จาเป็นต้องตั้งคณะกรรมการ อีกชุดมาประเมินแผน หรือไม่ จาเป็นต้องคิดเครื่องมือหรือแบบประเมิน ที่ยุ่งยากซับซ้อน C ต้องมีการประเมินการดาเนินการ 1.ได้มีการกาหนดวิธี/รูปแบบการประเมินหรือไม่ 2.มีรูปแบบของการประเมินเหมาะสมหรือไม่ 3. ผลของการประเมินตรงกับวัตถุประสงค์ที่วางไว้หรือไม่ 4.ปัญหา/จุดอ่อนที่พบในการดาเนินการมีหรือไม่ 5.ข้อดี/จุดแข็ง ของการดาเนินการมีหรือไม่
  • 10. Act (ปรับปรุงแก้ไข) Act หมายถึง การนาผลการประเมินมาพัฒนาแผน อาจ ประกอบด้วย การนาผลการ ประเมินมาวิเคราะห์ว่ามีโครงสร้าง หรือ ขั้นตอนการปฏิบัติงานใดที่ควร ปรับปรุงหรือพัฒนาสิ่งที่ดีอยู่แล้วให้ดี ยิ่งขึ้นไปอีก และสังเคราะห์รูปแบบ การดาเนินการใหม่ที่เหมาะสม สาหรับการดาเนินการ ในปีต่อไป A ต้องมีการปรับปรุงตามผลการประเมิน 1.มีการระดมสมองเพื่อหาทางแก้ไขปัญหา/จุดอ่อนที่ค้นพบ 2.มีการระดมสมองเพื่อหาทางเสริมข้อดี/จุดแข็งเพิ่มขึ้น 3.มีการนาผลที่ได้จากการระดมสมอง เสนอคณะกรรมการเพื่อ พิจารณาสาหรับใช้วางแผนครั้งต่อไป 4.กาหนดกลยุทธ์ในการจัดทาแผนครั้งต่อไป 5.กาหนดผู้รับผิดชอบไปดาเนินจัดทาแผนครั้งต่อไป
  • 11. ประโยชน์ของ PDCA มีดังนี้ 1. การวางแผนงานก่อนการปฎิบัติงาน จะทาให้เกิดความพร้อมเมื่อได้ ปฏิบัติงานจริงการวางแผนงานควรวางให้ครบ 4 ขั้นดังนี้ (1) ขั้นการศึกษา คือ การวางแผนศึกษาข้อมูล วิธีการ ความต้องการของ ตลาด ข้อมูลด้านวัตถุดิบ ด้านทรัพยากรที่มีอยู่หรือเงินทุน (2) ขั้นเตรียมงาน คือ การวางแผนการเตรียมงานด้านสถานที่ การ ออกแบบผลิตภัณฑ์ ความพร้อมของพนักงาน อุปกรณ์ เครื่องจักร วัตถุดิบ (3) ขั้นดาเนินงาน คือ การวางแนวทางการปฏิบัติงานของแต่ละส่วนแต่ละ ฝ่าย เช่น ฝ่ายผลิต ฝ่ายขาย (4) ขั้นการประเมินผล คือ การวางแผนหรือเตรียมการประเมินผลงาน อย่างเป็นระบบ เช่น ประเมินจากยอดการจาหน่าย ประเมินจากการติชม ของลูกค้า เพื่อให้ผลที่ได้จากการประเมินเกิดการเที่ยงตรง
  • 12. 2. การปฏิบัติตามแผนงาน ทาให้ทราบขั้นตอน วิธีการ และสามารถ เตรียมงานล่วงหน้าหรือทราบอุปสรรคล่วงหน้าด้วย ดังนั้น การ ปฏิบัติงานก็จะเกิดความราบรื่น และเรียนร้อย นาไปสู่เป้ าหมายที่ได้ กาหนดไว้ 3. การตรวจสอบ ให้ได้ผลที่เที่ยงตรงเชื่อถือได้ ประกอบด้วย 3.1 ตรวจสอบจากเป้ าหมายที่ได้กาหนดไว้ 3.2 มีเครื่องมือที่เชื่อถือได้ 3.3 มีเกณฑ์การตรวจสอบที่ชัดเจน 3.4 มีกาหนดเวลาการตรวจที่แน่นอน 3.5 บุคลากรที่ทาการตรวจสอบต้องได้รับการยอมรับจากทุกหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง เมื่อการตรวจสอบได้รับการยอมรับ การปฏิบัติงานขั้นต่อไปก็ ดาเนินงานต่อไปได้ 4. การปรับปรุงแก้ไข ข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นขั้นตอนใดก็ตาม เมื่อมีการปรับปรุงแก้ไขคุณภาพก็จะเกิดขึ้น
  • 13. การจัดการคุณภาพ (Quality Management) จากความหมายของคาว่าคุณภาพมาสู่แนวทางการดาเนินการเพื่อคุณภาพที่ดี นั้นได้มีคาหลายคาที่ใช้ในการบ่งบอกถึงการปฏิบัติการเกี่ยวกับคุณภาพ เช่น ระบบ คุณภาพ การควบคุมคุณภาพ การประกันคุณภาพ หรือ การบริหารงานคุณภาพ ฯลฯ ซึง มีความหมายแตกต่างกันดังต่อไปนี้ 1 การควบคุมคุณภาพ (Quality Control หรือ QC) หมายถึง กิจกรรมและ กลวิธีการปฏิบัติเพื่อสนองความต้องการด้านคุณภาพภายในธุรกิจ โดยการตรวจสอบ การวัด และการทดสอบที่มุ่งจะควบคุมวัตถุดิบ กระบวนการ และการกาจัดสาเหตุของ ข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการทั้งหมด เช่น การสุ่มตัวอย่างน้าผลไม้กระป๋ องมา ตรวจสอบรสชาติ การควบคุมคุณภาพเน้นการตรวจสอบและแยกแยะของดีและของเสียออกจาก กัน โดยระบุเป็นร้อยละของของเสียที่พบจากล็อตการผลิต เพื่อควบคุมมิให้ของเสียมีมาก เกินกว่าที่กาหนดและในปัจจุบันการควบคุมคุณภาพมุ่งเน้นที่ของเสียต้องเป็นศูนย์ (Zero Defect)
  • 14. 2.การประกันคุณภาพ (Quality Assurance หรือ QA) หมายถึง การ ดาเนินการเพื่อคุณภาพตามระบบและแผนงานที่วางไว้อย่างเคร่งครัด เพื่อที่จะมั่นใจ ได้ว่าผลิตภัณฑ์หรือบริการมีคุณภาพตามที่ลูกค้าต้องการ เช่น การดาเนินงานตาม มาตรฐานคุณภาพสากล ISO 9000 3 การบริหารคุณภาพ (Quality Management หรือ QM) หมายถึง การจัดการระบบคุณภาพโดยทุกคนที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอก องค์การรับผิดชอบต่องานที่ตนเองกระทาอย่างเต็มที่เพื่อให้สินค้าและบริการเป็นไป ตามต้องการของลูกค้า เช่น การใช้ระบบการบริหารคุณภาพสมบูรณ์แบบ (Total Quality Management หรือ TQM) วัตถุประสงค์หลักของการบริการคุณภาพ คือ การผลิตสินค้าหรือบริการที่ ตอบสนองความต้องการของลูกค้า ซึ่งความต้องการของลูกค้าจะเป็นกรอบกาหนด ระบบคุณภาพขององค์การทั้งทางตรงและทางอ้อม ดังนั้นการบริหารคุณภาพจะมุ่ง สร้างความพึงพอใจให้แก่ลูกค้าเป็นสาคัญ