SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 10
อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม .5  โดย ... นางจันทร์เพ็ญ  เมืองสง   ครู โรงเรียนราชดำริ รายวิชา คณิตศาสตร์  รหัสชา ค  32101
อัตราส่วนตรีโกณมิติ   (Trigonometric Ratio) จากการที่นักเรียนเคยศึกษาเรื่องสามเหลี่ยมที่คล้ายกันมาแล้ว   จะพบว่า 2.   ถ้าสามเหลี่ยมสองรูปคล้ายกันแล้ว   อัตราส่วนของด้าน ที่อยู่ตรงข้ามมุมเท่าจะเท่ากัน 1.  สามเหลี่ยมสองรูป   ถ้ามีมุมที่เท่ากัน   3  มุมแล้ว   สามเหลี่ยมสองรูปนั้นจะคล้ายกัน
B x C X Z Y c b a z A y จากรูป  ถ้า  และ แล้ว   สามเหลี่ยม   ABC  คล้ายกับ   สามเหลี่ยม   XYZ ดังนั้นจะได้  หรือ
และจาก จะได้ หรือจาก จะได้ จะได้ หรือจาก และจากสมบัติดังกล่าวเราสามารถนำไปหาความยาวของด้านของสามเหลี่ยมได้
ในทำนองเดียวกันถ้าสามเหลี่ยม   2  รูปที่คล้ายกันเป็นสามเหลี่ยมมุมฉากดังรูป C A B Z X Y a c b x z y ก็จะได้   ,  ,  เช่นเดียวกัน อัตราส่วนของความยาวของด้านคู่ใดคู่หนึ่งของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากนี้   เรียกว่า   อัตราส่วนตรีโกณมิติ
ดังนั้น   จากรูป   เมื่อสามเหลี่ยม   ABC  เป็นสามเหลี่ยมมุมฉาก   มี   และยึดมุม   A  เป็นหลัก   C A b c a B เรียก   AB  ว่า   ด้านตรงข้ามมุมฉาก   ให้ยาว   c  หน่วย   เรียก   BC  ว่า   ด้านตรงข้ามมุม   A  ให้ยาว   a  หน่วย เรียก   AC   ว่า   ด้านประชิดมุม   A  ให้ยาว   b  หน่วย หรือในทำนองเดียวกันจากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก   ABC  เมื่อ   ยึดมุม   B  เป็นหลัก เรียก   AB  ว่า   ด้านตรงข้ามมุมฉาก   ให้ยาว   c  หน่วย   เรียก   AC  ว่า   ด้านตรงข้ามมุม   B  ให้ยาว   b  หน่วย เรียก   BC   ว่า   ด้านประชิดมุม   B  ให้ยาว   a  หน่วย
และจากรูป   สามเหลี่ยม   ABC ,  เมื่อยึด   มุม   A  เป็นหลัก   จะได้อัตราส่วนตรีโกณมิติ   ของมุม   A  ดังนี้ C A b c a B 1.  ความยาวของด้านตรงข้ามมุม   A  เรียกว่า   ไซน์ของมุม   A   เขียนแทนด้วย   sinA ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก 2.  ความยาวของด้านประชิดมุม   A  เรียกว่า   โคไซน์ของมุม   A   เขียนแทนด้วย   cosA ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก 3.  ความยาวของด้านตรงข้ามมุม   A  เรียกว่า   แทนเจนต์ของ   A   เขียนแทนด้วย   tanA ความยาวของด้านประชิดมุม   A หมายเหตุ   อัตราส่วนข้างต้นใช้ได้เฉพาะ   กรณีมุม   A  เป็นมุมแหลมเท่านั้น  
จากอัตราส่วนไซน์   โคไซน์   และแทนเจนต์   ยังมีอัตราส่วนตรีโกณมิติอีก   3  อัตราส่วน   ซึ่งกำหนดด้วยบทนิยามดังนี้ 4.  โคเซแคนท์ของมุม   A  หรือ   cosecant  A   ซึ่งเขียนแทนด้วย   cosecA   ( อ่านว่า   โคเซค   เอ ) หมายถึง   ส่วนกลับของ   sinA  ;  sinA     0   นั่นคือ   นั่นแสดงว่า ดังนั้น 5.  เซแคนท์ของมุม   A  หรือ   secant  A   ซึ่งเขียนแทนด้วย   secA  ( อ่านว่า   เซค   เอ )  หมายถึง   ส่วนกลับของ   cosA  ;  cosA    0   นั่นคือ   นั่นแสดงว่า ดังนั้น 6.  โคแทนเจนต์ของมุม   A  หรือ   cotangent  A   ซึ่งเขียนแทนด้วย   cotA  ( อ่านว่า   คอตท์เอ )   หมายถึง   ส่วนกลับของ   tanA  ; tanA     0   นั่นคือ   ดังนั้น นั่นแสดงว่า
ตัวอย่าง   จากรูปจงหาค่าของ   sinA,  cosA,  tanA, sinC, cosC, tanC,  cosecA,  cotA, cosecC, secC,  C A 5 4 B วิธีทำ   จากทฤษฎีบทพิธาโกรัส   จะได้   ดังนั้น
สรุป   จากรายละเอียดข้างต้น อัตราส่วนตรีโกณมิติ   หมายถึง   อัตราส่วนของความยาวของด้านคู่ใดคู่หนึ่ง ของสามเหลี่ยมมุมฉากเมื่อยึดมุมใดมุมหนึ่งเป็นหลัก ( มีขนาดมุมระหว่าง   0  –  90  องศา ) โดยที่   sinA  =  ข้าม   ดังนั้น   cosecA  =  ฉาก   ฉาก   ข้าม cosA  =  ชิด   ดังนั้น   secA  =  ฉาก ฉาก   ชิด tanA  =  ข้าม   ดังนั้น   cot A  =  ชิด ชิด   ข้าม   ข้อตกลง   ข้าม   ในที่นี้หมายถึง   ด้านตรงข้ามมุม   A  ฉาก   ในที่นี้หมายถึง  ด้านตรงข้ามมุมฉาก ชิด   ในที่นี้หมายถึง  ด้านประชิดมุม   A

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นsawed kodnara
 
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส ratiporn-hk
 
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ทฤษฎีบทพีทาโกรัสทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ทฤษฎีบทพีทาโกรัสmoohhack
 
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2lekho
 
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2lekho
 
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติโจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติsawed kodnara
 
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)ทับทิม เจริญตา
 
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1 สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1 ทับทิม เจริญตา
 
ปีทาโกรัส
ปีทาโกรัสปีทาโกรัส
ปีทาโกรัสyingsinee
 
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWANฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWANNan's Tippawan
 
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7Laongphan Phan
 

La actualidad más candente (19)

บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
E-Book: Let's learn พีทาโกรัส
 
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ทฤษฎีบทพีทาโกรัสทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
 
สอบ
สอบ สอบ
สอบ
 
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
 
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติโจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
โจทย์ฝึกทักษะอัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
 
นิทาน
นิทานนิทาน
นิทาน
 
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1 สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
 
ปีทาโกรัส
ปีทาโกรัสปีทาโกรัส
ปีทาโกรัส
 
แผนที่ 8 การนำไปใช้ 1
แผนที่ 8 การนำไปใช้ 1 แผนที่ 8 การนำไปใช้ 1
แผนที่ 8 การนำไปใช้ 1
 
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWANฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
 
Satit tue133747
Satit tue133747Satit tue133747
Satit tue133747
 
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
 

Similar a อัตราส่วนตรีโกณมิติ

บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)sawed kodnara
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณguestf22633
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณguestf22633
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณguestf22633
 
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกลการประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกลCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ sawed kodnara
 
คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 krookay2012
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตkruyafkk
 

Similar a อัตราส่วนตรีโกณมิติ (20)

123456789
123456789123456789
123456789
 
Treekon
TreekonTreekon
Treekon
 
Trigon12
Trigon12Trigon12
Trigon12
 
Math2
Math2Math2
Math2
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
 
Chap5 1
Chap5 1Chap5 1
Chap5 1
 
02
0202
02
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณ
 
ทา
ทาทา
ทา
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณ
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณ
 
03
0303
03
 
Chap5 3
Chap5 3Chap5 3
Chap5 3
 
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกลการประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
การประยุกต์ใช้ในงานทางเครื่องกล
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
Ans_TME54_jh3
Ans_TME54_jh3Ans_TME54_jh3
Ans_TME54_jh3
 
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
 
คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
3
33
3
 

อัตราส่วนตรีโกณมิติ

  • 1. อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม .5 โดย ... นางจันทร์เพ็ญ เมืองสง ครู โรงเรียนราชดำริ รายวิชา คณิตศาสตร์ รหัสชา ค 32101
  • 2. อัตราส่วนตรีโกณมิติ (Trigonometric Ratio) จากการที่นักเรียนเคยศึกษาเรื่องสามเหลี่ยมที่คล้ายกันมาแล้ว จะพบว่า 2. ถ้าสามเหลี่ยมสองรูปคล้ายกันแล้ว อัตราส่วนของด้าน ที่อยู่ตรงข้ามมุมเท่าจะเท่ากัน 1. สามเหลี่ยมสองรูป ถ้ามีมุมที่เท่ากัน 3 มุมแล้ว สามเหลี่ยมสองรูปนั้นจะคล้ายกัน
  • 3. B x C X Z Y c b a z A y จากรูป ถ้า และ แล้ว สามเหลี่ยม ABC คล้ายกับ สามเหลี่ยม XYZ ดังนั้นจะได้ หรือ
  • 4. และจาก จะได้ หรือจาก จะได้ จะได้ หรือจาก และจากสมบัติดังกล่าวเราสามารถนำไปหาความยาวของด้านของสามเหลี่ยมได้
  • 5. ในทำนองเดียวกันถ้าสามเหลี่ยม 2 รูปที่คล้ายกันเป็นสามเหลี่ยมมุมฉากดังรูป C A B Z X Y a c b x z y ก็จะได้ , , เช่นเดียวกัน อัตราส่วนของความยาวของด้านคู่ใดคู่หนึ่งของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากนี้ เรียกว่า อัตราส่วนตรีโกณมิติ
  • 6. ดังนั้น จากรูป เมื่อสามเหลี่ยม ABC เป็นสามเหลี่ยมมุมฉาก มี และยึดมุม A เป็นหลัก C A b c a B เรียก AB ว่า ด้านตรงข้ามมุมฉาก ให้ยาว c หน่วย เรียก BC ว่า ด้านตรงข้ามมุม A ให้ยาว a หน่วย เรียก AC ว่า ด้านประชิดมุม A ให้ยาว b หน่วย หรือในทำนองเดียวกันจากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC เมื่อ ยึดมุม B เป็นหลัก เรียก AB ว่า ด้านตรงข้ามมุมฉาก ให้ยาว c หน่วย เรียก AC ว่า ด้านตรงข้ามมุม B ให้ยาว b หน่วย เรียก BC ว่า ด้านประชิดมุม B ให้ยาว a หน่วย
  • 7. และจากรูป สามเหลี่ยม ABC , เมื่อยึด มุม A เป็นหลัก จะได้อัตราส่วนตรีโกณมิติ ของมุม A ดังนี้ C A b c a B 1. ความยาวของด้านตรงข้ามมุม A เรียกว่า ไซน์ของมุม A เขียนแทนด้วย sinA ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก 2. ความยาวของด้านประชิดมุม A เรียกว่า โคไซน์ของมุม A เขียนแทนด้วย cosA ความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก 3. ความยาวของด้านตรงข้ามมุม A เรียกว่า แทนเจนต์ของ A เขียนแทนด้วย tanA ความยาวของด้านประชิดมุม A หมายเหตุ อัตราส่วนข้างต้นใช้ได้เฉพาะ กรณีมุม A เป็นมุมแหลมเท่านั้น  
  • 8. จากอัตราส่วนไซน์ โคไซน์ และแทนเจนต์ ยังมีอัตราส่วนตรีโกณมิติอีก 3 อัตราส่วน ซึ่งกำหนดด้วยบทนิยามดังนี้ 4. โคเซแคนท์ของมุม A หรือ cosecant A ซึ่งเขียนแทนด้วย cosecA ( อ่านว่า โคเซค เอ ) หมายถึง ส่วนกลับของ sinA ; sinA  0 นั่นคือ นั่นแสดงว่า ดังนั้น 5. เซแคนท์ของมุม A หรือ secant A ซึ่งเขียนแทนด้วย secA ( อ่านว่า เซค เอ ) หมายถึง ส่วนกลับของ cosA ; cosA  0 นั่นคือ นั่นแสดงว่า ดังนั้น 6. โคแทนเจนต์ของมุม A หรือ cotangent A ซึ่งเขียนแทนด้วย cotA ( อ่านว่า คอตท์เอ ) หมายถึง ส่วนกลับของ tanA ; tanA  0 นั่นคือ ดังนั้น นั่นแสดงว่า
  • 9. ตัวอย่าง จากรูปจงหาค่าของ sinA, cosA, tanA, sinC, cosC, tanC, cosecA, cotA, cosecC, secC, C A 5 4 B วิธีทำ จากทฤษฎีบทพิธาโกรัส จะได้ ดังนั้น
  • 10. สรุป จากรายละเอียดข้างต้น อัตราส่วนตรีโกณมิติ หมายถึง อัตราส่วนของความยาวของด้านคู่ใดคู่หนึ่ง ของสามเหลี่ยมมุมฉากเมื่อยึดมุมใดมุมหนึ่งเป็นหลัก ( มีขนาดมุมระหว่าง 0 – 90 องศา ) โดยที่ sinA = ข้าม ดังนั้น cosecA = ฉาก ฉาก ข้าม cosA = ชิด ดังนั้น secA = ฉาก ฉาก ชิด tanA = ข้าม ดังนั้น cot A = ชิด ชิด ข้าม   ข้อตกลง ข้าม ในที่นี้หมายถึง ด้านตรงข้ามมุม A ฉาก ในที่นี้หมายถึง ด้านตรงข้ามมุมฉาก ชิด ในที่นี้หมายถึง ด้านประชิดมุม A