SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 156
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 1
   ประมวลรายวิช ากลุ่ม สาระการเรีย นรู้
             ภาษาไทย

  1. ภ า ษ า ศ า ส ต ร์ ว่ า ด้ ว ยลั ก ษณะเฉพาะ
   ของภาษาไทย ข้อสอบประกอบด้ วย ระบบ
   เ สี ย ง ใ น ภ า ษ า ไ ท ย พ ยั ญ ช น ะ ส ร ะ
   วรรณยุกต์
   พ ยัญ ชน ะ มักถามเรื่อง พยัญชนะต้นเดี่ยว
   พยัญชนะควบกลำ้า พยัญชนะท้าย มาตราตัว
   สะกดแม่ต่างๆ พยางค์เปิด พยางค์ปิด
   สระ มักถามเรื่องสระเสียงสั้น สระเสียงยาว
   สระประสม โดยมีตัวลวงคือรูปสระที่ไม่ตรง
   กับเสียงสระ
   ว ร ร ณ ยุ ก ต์ มั ก ใ ห้ ผั น ว ร ร ณ ยุ ก ต์ ต า ม
   ข้อความที่กำา หนด ข้อควรระวังคือการตอบ
   ให้ตรงคำาถาม
   โ ค ร ง ส ร้ า ง ข อ ง พ ย า ง ค์ ความเหมื อ น
   ความแตกต่างของพยางค์ คำาเป็น - คำาตาย
ธรรมชาติของภาษา การเปลี่ยนแปลงของภาษา
ลักษณะเฉพาะของภาษาไทย


    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 2
คำา ไทยแท้ – คำา ยืม (คำา บาลี คำา สั นสกฤต คำา
เขมร คำาต่างประเทศตระกูลยุโรป)
  การสร้างคำาการเพิ่มคำา คำาประสม คำาซ้อน คำา
    ซำ้า คำา สมาสทั้ ง คำา สมาสที่ ไ ม่ มี ส นธิ แ ละคำา
    สมาสแบบมีสนธิ
2 ห ลั ก ภ า ษ า ข้ อ สอบมั ก ออกเรื่ อ งความถู ก
ต้ อ งตาม ห ลั ก ภ าษ าไท ย ประ โ ย ค ก ลุ่ ม คำา
ประโยคสมบูรณ์ การเน้นประโยค(รูปประโยค)
เจตนาของประโยค โครงสร้ า งของประโยค
ชนิดของประโยค (ความเดียว                           ความ
รวม ความซ้อน) ข้อบกพร่องของประโยค
        1. การใช้คำาฟุ่มเฟือย / กะทัดรัด
        2. การใช้ภาษากำากวม / ชัดเจน
        3. การวางส่วนขยายผิดที่
        4. การใช้สำานวนต่างประเทศ
        5. ความสัมพันธ์ของประโยค
        6. ประโยคไม่ครบกระแสความ
        7. การใช้ คำา ผิ ด หน้ า ที่ ห รื อ ความหมาย
         ในประโยค
  3.          ก า ร ใ ช้ ค ำา – สำา น ว น แ ล ะ ก า ร
              ใช้โ วหาร
การใช้คำาให้ตรงกับความหมาย
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 3
การใช้คำาราชาศัพท์
ระดับของภาษา
หน้าที่และชนิดของคำา
การใช้คำาเชื่อม
การใช้สำานวน
การใช้โวหาร


  4. วรรณคดีแ ละความงามของภาษา
การสรรคำา การเล่นเสียง ลักษณะเด่นและศิลปะ
ในการแต่งคำาประพันธ์
ฉั น ทลั ก ษณ์ และลั ก ษณเด่ น ของฉั น ทลั ก ษณ์
(คำาเอก คำาโท คำาครุ คำาลหุ)
การใช้ภาพพจน์ในวรรณคดีหรือวรรณกรรม
จินตภาพ
แนวคิด ค่านิยม ความเชื่อที่ปรากฏในวรรณคดี
หรือวรรณกรรม
ประเพณี สังคม วัฒนธรรมที่ปรากฏในวรรณคดี
หรือวรรณกรรม
  5. ก า ร ใ ช้ ภ า ษ า เ พื่ อ ก า ร แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด
  และการแสดงออก
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 4
ภาษาและเหตุผ ล โครงสร้างของเหตุ ผล การ
อนุมาน การแสดงทรรศนะ การโต้แย้ง การโน้ม
น้าวใจ
  6. การใช้ภ าษาไทย
การพู ด ทั้ ง ระหว่ า งบุ ค คลและการพู ด ในที่
ประชุมชน การสัมภาษณ์
การฟัง
การอ่ า น เน้ น การอ่ า นจั บ ใจความและการ
ตีความ
ก า ร เ ขี ย น เ รี ย ง ค ว า ม ย่ อ ค ว า ม จ ด ห ม า ย
ประกาศ
การประชุม
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
กลวิ ธี ก ารเขี ย นอธิ บ าย การบรรยาย การ
พรรณนา เทศนาโวหาร สาธกโวหาร อุ ป มา
โวหาร
  7. เบ็ด เตล็ด
    เครื่ องหมายวรรคตอน การเขี ยนตั วสะกด
  การันต์ การอ่านคำา การใช้ลักษณนาม การ
  ใช้พจนานุกรม ฯลฯ


    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 5




                        บทที่ 1
                 ระบบเสีย งในภาษาไทย

   ระบบเสียงในภาษาไทยมีอยู่ 3 ชนิด ได้แก่
1. รูป สระ - เสีย งสระ
   รูป สระ




    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 6
  ะ        เรีย     วิ ส ร ร ช นี เ             เรีย     ไม้หน้า
           กว่า     ย์                          กว่า
  า        เรีย     ลากข้าง       ไ             เรีย     ไม้มลาย
           กว่า                                 กว่า
   ิ       เรีย     พินทุ์อิ             ใ      เรีย     ไม้ม้วน
           กว่า                                 กว่า
  |        เรีย     ฝนทอง                โ      เรีย     ไม้โอ
           กว่า                                 กว่า
  ||       เรีย     ฟันหนู               อ      เรีย     ตัว ออ
           กว่า                                 กว่า
  ๐
           เรีย นิคหิต,      ย                  เรีย     ตัว ยอ
           กว่า    หยาด                         กว่า
                   นำ้าค้าง
          เรีย ตี         น ว                  เรีย     ตัว วอ
           กว่า เหยียด                          กว่า
          เรีย ตีนคู้       ฤ                  เรีย     ตัว รึ
           กว่า                                 กว่า
   ั       เรีย ไม้ผัด       ฤๅ                 เรีย     ตัว รือ
           กว่า                                 กว่า
   ็       เรีย ไม้ไต่คู้    ฦ                  เรีย     ตัว ลึ
           กว่า                                 กว่า
       กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                            ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 7
                                    ฦๅ เรีย ตัว ลือ
                                       กว่า
ประเภทของสระ
  1. เสียงสระ (สระเดี่ยว มี 18 เสียง)
   สระเสียงสั้น         สระเสียงยาว (ทีฆสระ)
     (รัสสระ)
          / อะ/                    /อา/
        /อิ/                        /อี/
        /อึ/                       /อือ /
        /อุ/                        /อู/
       /เอะ/                       /เอ/
       /แอะ/                       /แอ/
     /เออะ/                      /เออ/
     /เอาะ/                        /ออ/
       /โอะ/                       /โอ/
  2. สระประสม (สระเลื่อน) คือ การนำา เสีย ง
สระเดี่ยว 2 เสียงมาประสมกัน ได้แก่
   /อิ/ + /อะ/ = / /อี/ + /อา/ = /
           เอีย ะ/                  เอีย /
   /อึ/ + /อะ/ = / /อือ / + /อา/ = /
           เอือ ะ/                  เอือ /
   /อุ/ + /อะ/ = / /อู/ + /อา/ = /
            อัว ะ/                   อัว /
หมายเหตุ ท า ง ภ า ษ า ศ า ส ต ร์ ถื อ ว่ า ส ร ะ
       ประสมเสี ย งสั้ น เป็ น หน่ ว ยเสี ย งเดี ย วกั บ
       เสียงยาว
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย

      จึงถือว่าสระประสม มี 3 เสียง คือ /เอีย/
หน้า ที่ 8

      /เอือ/ /อัว/
ข้อ ควรจำา
   อำา ไอ ใอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ

2. รูป พยัญ ชนะ - เสีย งพยัญ ชนะ
        รูปพยัญชนะ มี 44 รูป คือ
  อัก ษร     อัก ษร อัก ษรคู่ อัก ษร
  กลาง         สูง                   เดี่ย ว
     ก        ข ฃ         คฅ ฆ          ง
     จ          ฉ         ช ฌ          ญ
    ฎฏ          ฐ         ฑ ฒ          ณ
    ดต          ถ          ท ธ          น
    บป         ผฝ         พฟ ภ          ม
     อ       ศษส ห         ซ ฮ       ยรลวฬ
เ สีย ง พ ยัญ ช น ะ ป ร า ก ฏ ไ ด้ 2 ตำา แ ห น่ง ใ น
พยางค์ คือ
    1. เสีย งพยัญ ชนะต้น
        1.1 เสียงพยัญชนะต้นเดี่ยว มี 21 เสียง
    คือ
1. /                    1 /
     ก/                 2. บ/
2. /                    1 /
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 9
   ค/                               3. ป/
3. /                                1 /
   ง/                               4. พ
                                       /
4. /                                1 /
   จ/                               5. ฟ
                                       /
5. /                                1 /
   ช                                6. ม/
   /
6. /                                1 /
   ซ                                7. ร/
   /
7. /                                1    /
   ย/                               8.   ล/
8. /                                1    /
   ด/                               9.   ว/
9. /                                2    /
   ต/                               0.   ฮ/
1 /                                 2    /
0. ท                                1.   อ/
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้           โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 10
     /
1 /
1. น
     /
    1.2 เสี ย งพยั ญ ชนะต้ น ประสม (เสี ย งควบ
กลำ้า ) คื อ พยางค์ ที่ มี เสี ย งพยั ญ ชนะต้ น สองตั ว
ออกเสีย งควบกัน ในระบบเสียงภาษาไทย มี 5
ชุด คือ
             ร ล ว                  ข้อ ควรระวัง
                                    คำา ควบไม่แ ท้จ ัด
       ก / / /                      เป็น เสีย งพยัญ ชนะ
                                    ต้น เสีย งเดี่ย ว
       ค / / /                      เช่น จริง(จิง)
       ป / / ×                      สร้าง(ส้าง)


      พ / / ×
       ต / × ×
    2. เ สี ย ง พ ยั ญ ช น ะ ท้ า ย คื อ เ สี ย ง
พยัญชนะที่ทำาหน้าทีเป็นตัวสะกดมี 9 เสียง คือ
                         ่
    1. /ก/              เช่น เลข โรค เมฆ ครก
นาก ฯลฯ
    2. /บ/ หรือ /ป/               เช่ น พบ ลาภ กบ
จับ กราฟ ฯลฯ

    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 11
    3. /ด/ หรือ /ต/      เช่ น มด กาจ คช
กฎ พุทธ ฯลฯ
    4. /ง/         เช่ น โมง หาง สู ง แกง
กิ่ง ฯลฯ
    5. /ม/         เช่น กรรม หาม ชิม ทำา
สัมมนา ฯลฯ
    6. /น/         เ ช่ น ก า ร ณ์ ก ล อ น
สัญญาณ เขิน ฯลฯ
    7. /ย/         เช่ น ชาย หน่ อ ย รวย
ได้ ใน ฯลฯ
    8. /ว/         เช่น ขาว เลว แน่ว ชาย
หิว ฯลฯ
    9. /?/         หมายถึ ง พยางค์ ที่ เ ป็ น เสี ย ง
สั้น ลงเสียงหนักท้ายพยางค์ เช่น ชะ กะปิ สมาธิ
3. ว ร ร ณ ยุ ก ต์ คื อ ระดั บ เสี ย งสู ง ตำ่า ของ
พยางค์ (tone) มี 4 รูป 5 เสียง คือ
รูป             ่                  
เสีย สามัญ เอก                      โท       ตรี       จัตว
 ง                                                       า
พยางค์ป ิด - พยางค์เ ปิด

    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้           โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 12
พยางค์ป ิด           คือ พยางค์ที่มีเสียงพยัญชนะ
ท้ า ย เ ช่ น กิ น ข้ า ว ไ ห ม ชิ ช ะ จ ะ น ะ
ชัยชนะ (มีเ สีย ง /?/)
พยางค์เ ปิด คื อ พ ย า ง ค์ ที่ ไ ม่ มี เ สี ย ง
พยัญชนะท้าย เช่น มา หรือ หนู
โ ค ร ง ส ร้ า ง ข อ ง พ ย า ง ค์ หมายถึ ง ส่ ว น
ประกอบของแต่ละพยางค์ โดยพิจารณาจาก
    เสีย งของพยัญ ชนะท้า ย พ ย า ง ค์ ปิ ด
    หรือพยางค์เปิด
    เสีย งของพยัญ ชนะต้น             เดี่ ย วหรื อ ควบ
    กลำ้า
    เสีย งของสระ              สระสัน สระยาว
                                   ้
    เสีย งของวรรณยุก ต์ เสี ย งสามั ญ เอก
    โท ตรี จัตวา
คำา เป็น คำา ตาย
    1. คำาเป็น หมายถึง คำาที่ประสมด้วยสระ
เสียงยาว หรือคำาที่มีเสียงสะกด แต่ยกเว้น แม่
กก กบ กด เช่น น้า ตี งู จง อาง ให้ เห็น
    2. คำาตาย หมายถึง คำาที่ประสมด้วยสระ
เสียงสันและไม่มเสียงสะกด รวมทั้งคำาที่อยู๋ใน
        ้          ี
แม่ กก กบ กด เช่น กระทะ มะระ ก็ บ่ ธ ณ เป็ด
กฎ ศพ
อ้า งอิง
กาญจนา นาคสกุล. 2541. ระบบเสียงภาษา
ไทย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย

วิชาการ,กรม กระทรวงศึกษาธิการ. 2541.
หน้า ที่ 13

วรรณลักษณ์วิจารณ์ เล่มที่ 1. กรุงเทพฯ : คุรุ
สภาลาดพร้าว.


                ตัว อย่า งข้อ สอบบทที่ 1
         เรื่อ งระบบเสีย งในภาษาไทย
1. ข้อใดมีเสียงสระสัน ทุกพยางค์
                           ้
   1.       นำ้า แ ข็ ง 2. นมข้ น นมผง
นำ้า ใ จ นำ้า เ ชื่ อ ม นมกล่อง นมสด
นำ้ามัน
   3.        น ง นุ ช 4.        น พ เ ก้ า
นงเยาว์ นงคราญ น พ คุ ณ                 น พ
นงลักษณ์                  เคราะห์ นพรัต น์
2. ข้อใดมีจำานวนพยางค์ที่ประกอบด้วยสระลด
   รูปมากที่สุด
   1. กวนขนม ทุ่มทุน ทางขนาน 2.
      ปลดปลง ปกปอ ง ครบครัน
   3. ตกใจ สิ้นเคราะห์ กราบกราน             4.
      เกรียวกราด กลบเกลื่อน เกรงกริ่ง
          ้
3. ข้อใดไม่มีเสียงสระประสม
   1. มโนมอบพระผู้               เสวยสวรรค์
   2. พูดมากเปล่าเปลืองปน          ปดเหล้น
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 14
   3. สิ่งใดในโลกล้วน           เปลี่ยนแปลง
         4. คำาแสลงเสียดแทงระคน คำา ห ย า บ
หยอกฤา
4. ข้อใดมีคำาที่ประกอบด้วยเสียงสระประสมทุก
      คำา (2/2546)
    1. เฟื้อ งฟา       2. มัวหมอง เชื่อ
      รำ่า รวย เสีย      ใจ เลิศลำ้า
      หน้า
    3. เปรี้ยวปาก 4. เรื่องราว
      เกรอะกรัง          เพลียงพลำ้า
                              ่
      พรำ่าเพรื่อ        แท่นพิมพ์
5. ข้อใดไม่มีสระประสม (O-NET 50)
   1. ใครดูถ ูก ผู้ช ำา นาญในการช่า ง
   2. ความคิดขวางเฉไฉไม่เข้าเรื่อง
   3. เหมือนคนป่าคนไพรไม่รุ่งเรือง
   4. จะพูดด้วยนั้นก็เปลืองซึ่งวาจา
6.พยางค์ท้ายข้อใดมีเสียงสระตรงกับพยางค์ที่
      ขีดเส้นใต้ “จราจร จลาจล” (A-NET 50)
      1. ถนน ถนอม 2. ขนอน โขนง
 3. ฉลอง ฉงน 4. สนม                  สนน
7. ข้อใดมีเสียงพยัญชนะต้นเดี่ยวซำ้ากันมาก
ที่สุด (2/2546)
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 15
  1. นุ่งยกนอก      2. โจงกระเบน
    ดอกวิเศษ           ประคดคาดไม่
    เกล็ดพิมเสน        หวาดไหว
  3. บ้า งใส่เ สื้อ 4. ข้างนอกใส่
    ส้า ระบับ เข้ม ครุยกรองทอง
    ขาบใน              สำาริด
8. ข้อใดมีจำานวนเสียงพยัญชนะต้นเดี่ยวน้อย
    ที่สุดโดยไม่นับเสียงซำ้า(A-NET 50)
    1. สุดสายตาข้าเห็นเป็นทุกเวิ้ง
  2. ในโลกนี้มีอะไรเป็นไทยแท้
    3. ของไทยแน่น ั้น หรือ คือ ภาษา
  4. ชลล้นเจิ่งแผ่นดินหมองร้องครวญครำ่า
9. ข้อใดมีทั้งอักษรควบและอักษรนำา         (A-
Net 49)
  1. สงครามครานี้ห นัก             ใจเจ็บ
   ใจมา
  2. เรียมเร่งแหนงหนาวเหน็บ อกโอ้
  3. ลูกตายฤๅใครเก็บ            ผีฝาก พระเอย

   4. ผีจักเท้งที่โพล้        ที่เพล้ใครเผา
10. คำาขวัญต่อไปนี้มีเสียงพยัญชนะสะกดกี่
เสียง (ไม่นับเสียงซำ้า)
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 16
  “รักในหลวง ห่วงลูกหลาน ช่วยกันต้านยา
เสพติด”
  1. 5 เสียง 2. 6 เสีย ง         3. 7 เสียง
               4. 8 เสียง
11. ข้อใดมีเสียงพยัญชนะสะกดมากที่สุด (ไม่
    นับเสียงซำ้า)
  1.                 จงรู้จักรักษาคุณค่าหญิง
                     2. อย่าทอดทิ้งทางงาม
    ทุกความหมาย
  3.                 แม้นราคีมีหมองต้อง
    เสียดาย          4. จะอับ อายออกนาม
    คนหยามเรา
12. ข้อใดมีเสียงพยัญชนะท้ายพยางค์ทุกคำา
(A-Net 49)
   1. เขาทำา งานจนภารโรงปิด ห้อ ง

  2. คุณยายเป็นลมเมื่ออ่านจดหมายจบ
  3. ต้นกล้วยริมรั้วลวดหนามออกเครือแล้ว
  4. ภาคใต้ได้รับความเสียหายจากคลื่นยักษ์
13.ข้อใดมีเสียงพยัญชนะท้ายน้อยที่สุดโดยไม่
   นับเสียงซำ้า(A-NET 50)
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 17
   1.จงจำาไว้ว่าอนาคตที่สดใสต้องเริ่มต้น
   เดี๋ยวนี้
   2. จงมองหาโอกาสทีซ่อนอยู่ในอุปสรรคที่
                             ่
   เผชิญ
   3.จงจำา ไว้ว ่า คำา พูด ที่อ ่อ นหวานช่ว ย
   สมานใจได้ด ี
   4. จงวางดินสอกับกระดาษโน้ตไว้ข้าง
   โทรศัพท์ทกเครื่อง
                  ุ
14. ข้อใดมีคำาที่สะกดด้วยแม่กดมากทีสุด      ่
(O-Net 49)
  1.     อุบ ัต ิเ หตุอ าจเกิด ขึ้น เป็น นิต ย์ใ น
  โอกาสวัน สุด สัป ดาห์
  2.     งานเฉลิมฉลองพระเกียรติในวโรกาส
  การประสูติพระโอรส
  3.     ขอตั้งสัจจะอธิษฐานยึดมันในชาติ
                                      ่
  ศาสน์ กษัตริย์ชั่วนิรนดร์ั
  4.     ยศถาบรรดาศักดิ์ไม่สามารถสกัดกั้น
  ให้แคล้วคลาดปราศจากอุปัทวันตรายได้
15. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบห้าเสียง
(O-Net 49)
  1.     โง่ไม่เป็นใหญ่ยากฝากให้คิด
  2.     ทางชีว ิต จะรุ่ง โรจน์โ สตถิผ ล
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 18
   3.         ต้องรู้โง่ฉลาดปราดเปรื่องตน
   4.         โง่สิบหนดีกว่าเบ่งเก่งเดี๋ยวเดียว

16. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบ 5 เสียง (O-
NET 50)
  1. เจ้า คุม แค้น แสนโกรธพิโ รธพี่ 2. แต่
    เดือนยีย่างเข้าเดือนสาม
            ่
  3. จนพระหน่อสุริยวงศ์ทรงพระนาม 4. จาก
    อารามแรมร้างทางกันดาร
17. เสียงวรรณยุกต์ข้อใดต่างกับข้ออื่น(A-
    NET 50)
    1. ทรงธรรมลำ้ามะนุษ- 2. ฤทธิรุทมหา
    ศาล
    3. บำาเพ็ญพะลีการ 4. ทุก อย่า งงาม
    ตามวิส ัย
18. คำาคู่ใดต่างกันเฉพาะเสียงสระเท่านั้น
(A-Net 49)
  1. ทรัพย์ - ทราบ               2. เนิบ
  - นับ
  3. หมั้น -           ม่า น     4. โชค
  - ชัก
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย

19. เสียงของพยางค์ในข้อใดมีโครงสร้างต่าง
หน้า ที่ 19

กับข้ออื่น (ข้อสอบ O NET 2551)
    1. ข ว า น                       2. ห ล า ม
3. เผย                   4. ฝูง
20. คำา ในข้อใดมีโครงสร้างพยางค์เหมือนกัน
ทั้งสองคำา
    1. ตั้งร้าน 2. ข้างขึ้น                  3.
คล่อ งแคล่ว           4. ทรุดโทรม
21. ข้อใดมีคำาตายมากที่สุด          (A-Net
49)
    1. ประดุจทรงวราภรณ์สุนทรสวัสดิ์
    2. เรืองจรัสยิ่งมกุฎสุดสง่า
    3. ประดับ พระวรเดชวิเ ศษฤทธิ์
    4. ที่สถิตอานุภาพสโมสร
22. ข้อใดมีคำาตายน้อยที่สุด (1/2546)
    1. ทั้ง ไพร่น ายรายเรีย งกัน เรีย ดไป
    ตัด ใบไม้ม ุง เหมือ นหลัง คาบัง
    2. พระเปรมปรีดิ์ดีใจอยู่ในพักตร์      มิให้
 ประจักษ์คนทั้งหลาย
    3. คำาโบราณท่านผูกถูกทุกสิ่ง       เขาว่า
 ลิงจองหองมันพองขน
    4. เสพอาหารหวานคาวเมื่อคราวยาก ล้วน
 ของฝากเฟื่องฟูค่อยชูชื่น
23. ทุกพยางค์ในข้อใดเป็นคำาเป็น (O-NET
     50)
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 20
  1. พระเสด็จโดยแดนชล 2. ทรงเรือต้นงาม
    เฉิดฉาย
  3. เรือ ชัย ไวว่อ งวิ่ง 4. รวดเร็วจริงยิ่ง
    อย่างลม




                             บทที่ 2
                            การใช้ค ำา

คำา และความหมาย
   คำา ในภาษาไทยมี ค ว า ม ห ม า ย ก ว้ า ง แ ล ะ
แคบไม่เท่ากัน เช่น ดอกไม้ มีความหมายกว้าง
แต่ ดอกกุหลาบ มีความหมายแคบ นอกจากนี้
ความหมายของคำา แบ่ ง ออกเป็ น 3 ลั ก ษณะ
ดังนี้
1.คำา ที่ ม ี ค ว า ม ห ม า ย ต ร ง คื อ แปลความ
  หมายตามพจนานุกรม มี 2 ลักษณะ คือ
   1.1 คำาที่มีความหมายเดียว เช่น
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 21
       ตกลง   หมายถึง ยิ น ยอมพร้ อ มใจ
                       กัน
     ผลัด     หมายถึง เปลียน
                           ่
     แกน      หมายถึง วัตถุแข็งที่อยู่ส่วน
                       กลาง
     โก่ง     หมายถึง ทำาให้โค้ง
   1.2 คำาที่มีหลายความหมาย เช่น
     ขัน      หมายถึง ภาชนะตักนำ้า
       ผลัด
                    ”    ทำาให้ตึง
                    ”    แข็งแรง
      ขึ้น      หมายถึง เน่าพอง (ศพขึน)  ้
                    ”    อ่ อ น น้ อ ม สั ง กั ด
                         (เมืองขึ้น)
                    ”    ผุดโผล่ (ตะวันขึ้น)
                    ”    งอก (ต้นไม้ขึ้น)
                    ”    เพิ่ม (ขึ้นราคา)
2. คำา ที่ม ีค วาม หม ายนัย ประ ห วัด คือ คำา ที่
มีความหมายไม่ตรงตามศัพท์ แต่มีนัยให้เข้าใจ
เป็นอย่างอื่น
3. คำา ที่ม ีค วามหมายเปรีย บเทีย บ (อุป มา)
หรือ การใช้ส ำา นวนโวหารเช่น
   เสือ หมา ความ ปลา หมา ค ว า ม
          ยถึง ดุร้าย ซิว ยถึง ใจเสาะ
   ลิง หมา ความ ฤาษี หมา ค ว า ม
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 22
       ยถึง ซน        ยถึง สงบเสงียม
                                   ่
   ค ว หมา ความ แก้ ว หมา เป็นที่รัก
   าย ยถึง โง่  ตา ยถึง
                    ข้อ ควรจำา
               การใช้ค ำา ต้อ งให้
              ตรงกับ ความหมาย
                    และบริบ ท
     การใช้ภาษาในชีวิตประจำาวันนัน การใช้คำา
                                       ้
ที่ถูกต้องเหมาะสม ตามหลักไวยากรณ์และ
ความหมายเป็นสิ่งทีสำาคัญที่จะสื่อความหมาย
                      ่
ได้ตรงประเด็นตามจุดมุ่งหมายของผู้ส่งสาร
หลักสำาคัญในการใช้คำาโดยสรุปมีดังนี้
      1.                 ใช้คำาให้ถูกตาม
        ตำาแหน่ง และหน้าที่ เช่น คำานาม คำา
        สรรพนาม ใช้ทำาหน้าที่เป็นประธาน
        กรรมของประโยค คำากริยา แสดงอาการ
        กระทำา ผู้เรียนต้องรู้จักว่าคำาใดควรอยู่
        ในตำาแหน่งใดของประโยค
      2.                 การเรียงลำาดับคำาหรือ
        พยางค์ให้ถูกต้อง ถ้าเรียงกลับกันความ
        หมายอาจเปลี่ยนไป เช่น            ใจชำ้า-
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 23
         ชำ้าใจ หนวกหู-หูหนวก กินอยู่-อยู่กน    ิ
         เป็นต้น
       3.                  ต้องรู้สึกเลือกใช้คำาให้
         เหมาะกับกาลเทศะ ถึงแม้บางคำาจะมี
         ความหมายคล้ายคลึงกัน แต่ไม่สามารถ
         แทนทีกันได้ เช่น ภายในโรงฆ่าสัตว์
                 ่
         ตลบอบอวล ไปด้วยกลิ่นซากสัตว์ ควร
         แก้ไขเป็นคละคลุ้ง
       4.                  ใช้คำาให้ตรงกับความ
         หมาย ภาษาไทยมีคำามากมายที่มีความ
         หมาย คล้ายกัน บางคำามีความหมายแฝง
         อยู่ จึงจำาเป็นต้องเลือกคำาให้เหมาะสม
         และตรงความหมายมากที่สุด เช่น แล่
         ฝาน ปอก ผ่า เฉือน เฉาะ สับ เป็นต้น
         สรุปง่าย ๆ คือ หลักของการใช้คำา ต้อง
         ใช้คำาให้ตรงความหมาย
                    ตรง : ตรงตามพจนานุกรม
       คำา = ความหมายนัย : ตีความตามปริ
บท
                        แฝง          : ซ่อนอารมณ์ และ
ความรู้สึก
                      แคบ                        กว้าง
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 24




      ตัว อย่า งข้อ สอบบทที่ 2 การใช้ค ำา
1. คำาในข้อใดสามารถใช้ได้ทั้งความหมาย
 โดยตรงและโดยนัยทุกคำา
   1. เข้าฌาน เข้าถึง เข้าเนื้อ     2.
แก้ลำา แก้เผ็ด แก้เกี้ยว
   3. ขึ้นหม้อ ขึ้นสาย ขึ้นชื่อ     4.
คอแข็ง คอตก คอสูง
2. คำาในข้อใดทุกคำาในข้อใดมีทั้งความหมาย
 โดยตรงและเชิงอุปมา

    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 25
   1. ตกเบ็ด ลอยแพ ไหว้ผี เอียงซ้าย
   2. จับตา ลอกคราบ นิ้วก้อย จับตาย
   3. ติด ตา ลายคราม ขึ้น หิ้ง จับ เข่า
   4. ปากนำ้า ตัดต่อ ร้อนตัว ตกข่าว
3. คำาว่า "ทิ้ง" ในข้อใดมีความหมายในตรง
  ทุกคำา
      1. ทิ้งจดหมาย ทิ้งท้าย ทิ้งไพ่          2.
ทิ้ง ทาน ทิ้ง กระจาด เททิ้ง
      3. ผ้าเนื้อทิ้ง ทิ้งทวน ทิ้งธุระ    4. ทิ้ง
เพือน ทิ้งขว้าง ทิ้งตา
    ่
4. ข้อใดใช้คำาแสดงความหมายแคบกว้าง
  ต่างกันได้อย่างเหมาะสม
      1. เขาสนใจทั้งกีฬาและมวย
      2. เขาชอบปลูกต้นไม้และไม้ผล
      3. ฤดูน ี้ม ีผ ลไม้ม ากทั้ง เงาะและทุเ รีย น
      4. ประชาชนและชาวนามาชุมนุมกัน
       มากมาย
5. ข้อใดไม่มีความหมายกว้างแคบอยู่ด้วยกัน
      1. กิจวัตรประจำาวันของสาวิตรี ได้แก่ การ
อ่านหนังพิมพ์ในเวลาเช้าและดูโทรทัศน์ใน
เวลากลางคืน
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 26
    2. การพกอาวุธ เช่น มีด ปืน ระเบิดขวด ใน
ที่สาธารณะเป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำา
    3. การสอบคัด เลือ กเข้า มหาวิท ยาลัย
เป็น โอกาสที่น ัก เรีย นจากโรงเรีย นต่า งๆ
ได้แ ข่ง ขัน กัน
    4. การเดินทางไปต่างจังหวัดในปัจจุบันนี้
เราสามารถเดินทางได้หลายวิธี เช่น โดยทาง
เครื่องบิน รถไฟ รถยนต์
6. ข้อใดใช้คำาถูกต้องตรงความหมาย
  1. ผมว่ากรณีนี้ยังมีอะไรเคลือบแคลงอยู่อีก
    มาก
  2. พนักงานคนใหม่พมพ์หนังสือตกหายไป
                          ิ
    หลายวรรค
  3. ระวัง กระเปา ให้ด ีๆ นะ อย่า ให้ใ คร
    ฉกชิง เอาไปได้
  4. อย่ามาพูดข่มขวัญคนอื่นเลย เธอน่ะชอบ
    บอกว่าตัวดีกว่าเพื่อนๆ อยู่เรื่อย
7. ข้อใดใช้ภาษาได้ถ ูก ต้อ ง
  1. แม่ค้าขายส้มตำาไก่ย่างเป็นอาชีพที่มีราย
    ได้ดีและไม่ตกงาน
  2. อาหารประเภทยำามีรสชาติเผ็ดร้อน
    กลมกล่อมถูกปากคนไทย
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 27
  3. แม้ฐ านะของเราจะไม่ค ่อ ยดี พ่อ แม่
   ก็ส ่ง เสีย ให้ล ูก ทุก คนได้เ รีย นจนจบ
   มหาวิท ยาลัย
  4. แม้ว่าชื่อเสียงของพ่อจะไม่เป็นที่ประจักษ์
   แก่สายตาผู้อื่น แต่ฉันก็ภูมิใจในตัวท่าน

8. ข้อใดใช้คำาไม่ตรงความหมาย
 1. อาจารย์ปฐมท่านเป็นพหูสูต คุณอ่าน
   เรื่องอะไรไม่เข้าใจก็ถามท่านได้ทุกเรื่อง
 2. คนสมถะอย่า งอาจารย์ช ัย นาท ใคร
   อย่า ไปขอร้อ งให้ท ำา อะไรเลย ท่า นไม่
   ช่ว ยหรอก
 3. บ้านเล็กๆ หลังนันอาจารย์พังงาอาศัยอยู่
                      ้
   กับครอบครัวอย่างสันโดษ ไม่ค่อยติดต่อกับ
   ใคร
 4. บ้านอาจารย์ประจวบเล็กและแทบจะไม่มี
   ของใช้ในบ้านเลย ท่านค่อนข้างอัตคัด
9. ข้อใดใช้คำาได้ถูกต้องตามความหมาย
 1. เธอปักผ้าผิดจึงต้องเราะออกแล้วปักใหม่
 2. คุณปู่ขลิบผมไฟหลานคนแรกเมื่ออายุ
   ครบเดือน
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 28
  3. เธอมีนำ้าตากลบตาเมื่อฟังข่าวเด็กถูกทิ้ง
    ถังขยะ
  4. แม่บ อกลูก ว่า อย่า ปล่อ ยผมยาว
    รุ่ย ร่า ยเวลาไปโรงเรีย น
10. ข้อใดใช้คำาถูกต้องตรงความหมาย
  1. วิชัยทำาผิดระเบียบของบริษัทเป็นครั้งแรก
    ผู้จัดการจึงยอมผ่อนผันให้ลงโทษเพียง
    ภาคทัณฑ์เท่านั้น
  2. บ้านของเขาถูกเวนคืน จึงโยกย้าย
    ครอบครัวไปอยู่กับน้องชายที่ต่างจังหวัด
  3. พอได้ฤกษ์ทำาพิธีเปิดร้านใหม่ ฝนก็ตก
    ประปรายลงมาพอดี
  4. คุณ แม่ค ัด เลือ กมะม่ว งผลงามๆ ไว้
    ทำา บุญ ตอนเช้า
11. คำาในข้อใดเหมาะสมที่จะใช้เติมในช่อง
  ว่างต่อไปนี้
    “เธอ…พวกเพื่อนๆ ที่พากัน…เสนอผลงาน
ให้เจ้านายโดยไม่รอเธอ เธอเสียใจมากแทบ
อยากจะ…เพือนๆ จนฉันต้องเป็นฝ่าย…
                ่
เหตุการณ์จึงค่อยสงบลง”
  1. ตัดรอน ตัดตอน ตัดทาง ตัดประเด็น
  2. ตัด พ้อ ตัด หน้า ตัด ขาด ตัด บท
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 29
 3. ตัดรอน ตัดหน้า ตัดญาติขาดมิตร ตัด
  ประเด็น
 4. ตัดพ้อ ตัดบท ตัดรอน ตัดตอน
12. ข้อใดไม่มีคำาพ้องความหมาย
 1. ไอยรา ราชสีห์ กุญชร       2. ลำาธาร
 ชลาสินธุ์ มัจฉา
 3. เทเวศร์ อัจฉรา สุรารักษ์  4. สิง ขร
 เวหาสน์ วนาดร




                               บทที่ 3
  คำา ไทยแท้แ ละคำา ยืม ภาษาต่า งประเทศ
คำา ไทยแท้
หลัก การสัง เกตคำา ไทยแท้
1. คำาไทยแท้ส่วนมากมีพยางค์เดียว
เช่น กิน นอน วิ่ง ผัด จิก เคียว ไล่ ตี
                             ้
ฉัน ข้า เขา เจ้า ท่าน มัน แก พ่อ แม่ พี่
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 30
น้อง ลูก ดิน นำ้า ไฟ ตา หู ปาก ดี ขาว
สูง หอม กลม หนา แบน ใน นอก บน
อ่าง ริม และ กับ แต่ ต่อ ถ้า แม้ จึง ฯลฯ
2. คำาไทยแท้ส่วนใหญ่มักมีคำากร่อนเสียง
คำากร่อนเสียงเหล่านี้เป็นคำาไทยแท้ เช่น
       ฉะนัน กร่อนมา ฉันนัน
            ้                  ้
               จาก
       ตะขบ กร่อนมา ต้นขบ
               จาก
       ตะเคียน กร่อนมา ต้นเคียน
               จาก
       ตะขาบ กร่อนมา ต้นขาบ
               จาก
       มะพร้าว กร่อนมา หมากพร้าว
               จาก
       มะตูม   กร่อนมา หมากตูม
               จาก
       มะปราง กร่อนมา หมากปราง
               จาก
       ตะวัน   กร่อนมา ตาวัน
               จาก
       ตะปู    กร่อนมา ตาปู
               จาก
       สะดือ   กร่อนมา สายดือ
               จาก
       สะใภ้   กร่อนมา สาวใภ้
               จาก
3. คำาไทยแท้มีตัวสะกดตรงตามมาตรา
       แม่กก ใช้ เช่น ผัก รัก
       “ก” สะกด มาก ลาก จาก
                 ฯลฯ
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 31
          แม่กบ ใช้         เช่น ดับ ตับ สูบ
          “บ” สะกด          ทุบ ยุบ พบ ฯลฯ
          แม่กด ใช้         เช่น มัด รัด ฟัด
          “ด” สะกด          จุด สุด ชุด ฯลฯ
          แม่กง ใช้         เช่น วัง มุง ลุง
          “ง” สะกด          ชั่ง นาง ฯลฯ
          แม่กน ใช้         เช่น เรือน ลาน
          “น”               ฟัน ปาน ฯลฯ
          สะกด
          แม่กม ใช้         เช่น ผม ลม สม
          “ม” สะกด          ปูม เข็ม งม
                            ฯลฯ
          แม่เกย            เช่น หาย ควาย
          ใช้ “ย”           ลาย นาย สวย
          สะกด              ฯลฯ
          แม่เกอว           เช่น ผิว ดาว
          ใช้ “ว”           แมว ข้าว เหว
          สะกด              ฯลฯ


ข้อ ควรระวัง
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 32
บางคำาสะกดตรงตามมาตราก็ไม่ใช่ไทยแท้
เช่น
         โลก       มาจาก บาลี
                            สันสกฤต
         กาย       มาจาก บาลี
                            สันสกฤต
         ยาน       มาจาก บาลี
                            สันสกฤต
         พน        มาจาก บาลี
                            สันสกฤต
         ชน        มาจาก บาลี
                            สันสกฤต
         มน        มาจาก บาลี
คำาเขมร มีดังนี้ จมูก เดิน จะบันหมาก ทะเลสาบ
ละออง บายศรี เลอโฉม ดินสอ ปล้นสะดม เขลา
ฯลฯ
4. คำาไทยแท้ไม่มการันต์
                    ี
คำาที่มีตัวการันต์มาจากภาษาอื่น ยกเว้น 4 คำานี้
(แม้มีตัวการันต์ก็เป็นไทยแท้) ผีว์ บ่าห์ เยียร์
อาว์
5. คำาไทยแท้มกปรากฏรูปวรรณยุกต์
                 ั
แต่มีอีกมากมายที่ไม่ปรากฏรูปวรรณยุกต์ เช่น
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 33
        พอ         พ่อ         พ้อ
        แม         แม่         แม้
        เสือ       เสื่อ       เสื้อ
        ปา         ป่า         ปา
6. คำาไทยแท้มกไม่ปรากฏพยัญชนะต่อไปนี้
                 ั
      ฆ ณ ญ ฏ ฑ ฒ ฎ ธ ศ ษ ฬ
ยกเว้นบางคำาเป็นไทยแท้ เช่น หญิงใหญ่ ณ
      ระฆัง ฆ่า เฆี่ยน ศอก เศิก ศึก ธ เธอ
7. คำาไทยแท้ใช้ “ใ ” 20 ตัว คือ
           ผู้ใหญ่หาผ้าใหม่ ให้สะใภ้ใช้คล้อง
คอ
     ใฝ่ใจเอาใส่ห่อ           มิหลงใหลใครขอดู
     จะใคร่ลงเรือใบ           ดูนำ้าใสและปลาปู
     สิ่งใดอยู่ในตู้       มิใช่อยู่ใต้ตั่งเตียง
     บ้าใบ้ถือใยบัว หูตามัวมาใกล้เคียง
     เล่าท่องอย่าละเลียง ่         ยี่สิบม้วนจำาจงดี




    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 34




คำา บาลี – สัน สกฤต
ภาษาบาลี         มีพยัญชนะ 33 ตัว สระ 8 ตัว
คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ
ภาษาสันสกฤต มีพยัญชนะ 35 ตัว (เพิ่ม ศ,ษ)
สระ 18 ตัว (เพิ่ม ไอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ)
      1 2 3 4               5
ฐาน ก ข ค ฆ                 ง
คอ
ฐาน จ ฉ ช ฌ ญ
เพดา
น
ฐาน ฏ ฐ ฑ ฒ ณ
ปุ่ม
เหงือ
ก
ฐาน ต ถ ท ธ                 น
ฟัน
ฐาน ป ผ พ ภ                 ม
ริม
ฝีปา
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 35
ก
เศษ ย ร ล ว ส ห ฬ o
วรรค
สู ต ร ยายเราเล่าว่าเสือหิวฬา
      กตากลม
      า
      ร
      จ
      ำำ


หลัก การสัง เกตคำา บาลี - สัน สกฤต
1. สัง เกตสระ     คำาใดประสมด้วย ไอ เอา ฤ
 ฤา ฦ ฦา เป็นคำาสันสกฤต (เพราะบาลีไม่มสระ
                                        ี
 เหล่านี้)
เช่น ไวทย ฤษี เอารส ไมตรี เสาร์ เยาวชน
 นฤมล พฤศจิกายน ไอศูรย์ ฤดู ไปรษณีย์ ฯลฯ
2. สัง เกตพยัญ ชนะ คำาใดประสมด้วย ศ ษ
 เป็นคำาสันสกฤต
เช่น ภิกษุ ศาสนา พิษณุ กษัย พฤษภาคม
 ราษฎร รัศมี เกษตร มหัศจรรย์ ศักดิ์ ฯลฯ

    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 36
3. สัง เกตคำา ควบกลำ้า คำาใดมีคำาควบกลำ้า
 เป็นคำาสันสกฤต (เพราะบาลีไม่นิยมควบกลำ้า)
เช่น ประถม จักร ปราชญ์ อัคร อินทร์ บุตร
 เนตร สตรี ราตรี จันทรา นิทรา กษัตริย์ ฯลฯ
4. สัง เกต “รร” คำาใดที่มี “รร” เป็นคำา
 สันสกฤต (เพราะบาลีไม่มี “รร”)
เช่น ธรรม จรรยา พรรษา สรรพ กรรม
 สวรรค์ วิเคราะห์ ฯลฯ
5. สัง เกต “เคราะห์” คำาใดที่มี “เคราะห์”
 เป็นคำาสันสกฤต เช่น อนุเคราะห์ สังเคราะห์
 สงเคราะห์ ฯลฯ
6. สัง เกต ตัว สะกด ตัว ตาม
 คำาใดมีตัวสะกด แล้วมีอักษรตามมา 1 ตัว
 (เบิ้ล) มาจาก บาลี
 ตัวสะกดตัวตามต้องเป็นพยัญชนะวรรค
 เดียวกันจะเป็นไปตามกฎนี้
 6.1 พยัญชนะแถวที่ 1 เป็นตัวสะกด
    พยัญชนะวรรคแถวที่ 1 หรือ 2 ในวรรค
    เดียวกันตาม
    เช่น สัจจะ สัตตะ อัตตะ สักกะ รุกข ปัจฉิม
    ทุกข์ บุปผา ฯลฯ
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 37
 6.2 พยัญชนะแถวที่ 3 เป็นตัวสะกด
    พยัญชนะวรรคแถวที่ 3 หรือ 4 ในวรรค
    เดียวกันตาม
    เช่น วิชชา อัคคี พยัคฆ์ พุทธ วัทฒน
    อัชฌาศัย ฯลน
 6.3 พยัญชนะแถวที่ 5 เป็นตัวสะกด
    พยัญชนะวรรคแถวไหนก็ได้ในวรรค
    เดียวกันตาม
    เช่น สังกร องค์ สงฆ์ กัณฑ์ จันทนา
    บัญญัติ ฯลฯ
 6.4 เศษวรรคสะกดตามตัวเอง
    เช่น เวสสันดร วัลลภ อัยยิกา ฯลฯ
                   หมายเหตุ
ภาษาสันสกฤตมีตัวสะกดตัวตามก็จริง แต่ไม่
    เป็นไปตาม 6.1 – 6.3
เช่น อัคนี มุกดา รักษา วิทยา สัตว์ อาชญา
    ฯลฯ
                   คำา เขมร
หลัก การสัง เกตคำา เขมร
1. คำาเขมรมักสะกดด้วย จ ญ ล ร ส ย และมัก
 จะไม่มีตัวตาม
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 38
สูต รการจำา      จาน หญิง ลิง เรือ เสือ
 จ สะกด เช่น อำานาจ เสร็จ สมเด็จ ตำารวจ
 ฯลฯ
 ญ สะกด เช่น เพ็ญ เผอิญ สำาราญ ผจญ
 ครวญ ชำานาญ ฯลฯ
 ล สะกด เช่น กังวล ถกล ถวิล ดล ดาล
 จรัล กำานัล ฯลฯ
 รสะกด        เช่น ขจร อร กำาธร ควร ฯลฯ
 ส สะกด          เช่น ดำารัส จรัส ตรัส ฯลฯ
2. คำาที่มาจากเขมรมักเป็นคำาควบกลำ้า
เช่น กรวด กระบือ เกลือ ขลาด กระแส ไพร
 ตระกอง โปรด กราน กรม กระทรวง
 กระเพาะ โขลน ฯลฯ
3. คำาที่มาจากเขมรมักใช้อักษรนำา
เช่น โฉนด เขม่า ขนอง ขลาด เขลา จมูก
 ถวาย ฉนำา เฉลียง ถวาย ขนุน ขยำา ฉลู ฯลฯ
4. คำาที่มาจากเขมร มักขึ้นต้นด้วย บัง บัน บำา
 (เพราะมาจาก บ เติมคำาหน้า)
เช่น บัง บังควร บังอาจ บังคม บังคับ บังเกิด
   บัน     บันทึก บันเทิง บันดาล บันได
   บำา บำาเพ็ญ บำานาญ บำาเหน็จ บำาบัด
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 39
5. คำาที่มากจากเขมรมักขึ้นต้นด้วย กำา คำา จำา
 ชำา ดำา ตำา ทำา สำา อำา
เช่น กำาหนด คำารบ จำาแนก ชำานาญ ชำารุด
 ดำาเนิน ดำารัส ตำารวจ ตำารา ทำานบ สำาราญ
 อำานวย ฯลฯ
ข้อสังเกต ภาษาบาลี, สันสกฤต และเขมร มัก
 ไม่มีวรรณยุกต์กำากับ


คำา ยื ม จ า ก ภ า ษ า จี น แ ล ะ ภ า ษ า ช ว า
การเขียนคำาที่มาจากภาษาจีน และภาษาชวา
ใช้หลักง่าย ๆ
คือ เขียนรูปตามเสียงที่ออก หรือได้ยินโดยใช้
ตัวสะกดตรงตามมาตรา และมักใช้รูป
วรรณยุกต์กำากับเสียง

       คำา ยืม จากภาษาตระกูล ยุโ รป
1. ใช้ศ ัพ ท์บ ัญ ญัต ิ คือ การกำาหนดคำาไทย
บาลี สันสกฤต หรือเขมร ที่มีความหมาย หรือ
สื่อความหมาย
              เหมือนศัพท์คำาเดิม อาจใช้ในการ
แปลคำาศัพท์ หรือสร้างคำาศัพท์ก็ได้
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 40
                       เช่น vision - วิสยทัศน์
                                        ั
                       bus - รถโดยสารประจำาทาง

               stamp - ดวงตราไปรษณียากร
2. การทับ ศัพ ท์ คือ การถอดรูปอักษรจาก
ต้นฉบับเป็นอักษรไทย
                      ยึดหลักตามราชบัณฑิต
สภา ดังนี้
            2.1 ถอดรูปอักษรตัวต่อตัวตาม
แนวเทียบ มักไม่ใช้รูปวรรณยุกต์
                 เช่น clinic – คลินก ิ
                    computer – คอมพิวเตอร์
                                   dollar –
ดอลลาร์
                              guitar – กีตาร์
            2.2 คำาบางคำาที่เคยใช้รูป
วรรณยุกต์อนุโลมให้ใช้ได้
                         เช่น แท็กซี่ ท็อฟฟี่
เค้ก เป็นต้น
3. ศัพ ท์เ ทคนิค หรือ ชื่อ เฉพาะ สามารถ
ใช้ทับศัพท์ได้ แต่ยึดหลักการใช้แนวเทียบตัว
อักษร
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 41



อ้า งอิง
ประสิทธิ์ กาพย์กลอน และไพบูลย์ ดวงจันทร์,
2527, ความรู้เกี่ยวกับภาษาไทย, กรุงเทพฯ:
ไทยวัฒนาพานิช
ราชบัณฑิตยสถาน, 2539, พจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525, กรุงเทพฯ:
อักษรเจริญทัศน์
อุปกิตศิลปสาร, 2531, หลักภาษาไทย,
กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช




    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 42
ตัว อย่า งข้อ สอบเรื่อ งคำา ไทยแท้แ ละคำา ยืม
                ภาษาต่า งประเทศ
1. ข้อใดเป็นคำาไทยแท้ทุกคำา            (O-Net
 49)
  1.      รู้กนเพิ่มพลังงาน
              ิ                  รู้อ่านเพิ่ม
  กำาลังปัญญา
   2.     นำ้ามันขาดแคลน คุยกับแฟนก็ต้อง
   ดับไฟ
   3.    รัก บ้า นต้อ งล้อ มรั้ว      รัก
   ครอบครัว ต้อ งล้อ มรัก
  4.       ภาษาบอกความเป็นชาติ เอกราช
  บอกความเป็นไทย
2. ข้อใดไม่มีคำาที่มาจากภาษาเขมร              (A-
 Net 49)
  1. โปรดเอื้อเฟื้อแก่เด็กและคนชรา 2.
  เราจะไปรับ หลานสาวที่ส ถานีบ างซื่อ
  3. นวนิยายเรื่องนี้ดำาเนินเรื่องได้กระชับดี
   4. เขาเป็นคนเจ้าสำาราญมาตั้งแต่ยังหนุม      ่
3. ข้อใดไม่มีคำาที่มาจากภาษาบาลีหรือภาษา
 สันสกฤต (ข้อสอบ O NET 2551)
 1. เราต้องใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง
2. อย่าเลี้ยงลูกให้เป็นเทวดา
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 43
 3. ชื่อ ของเขาอยู่ใ นทำา เนีย บรุ่น
4. ภรรยาของเขาทำางานอยู่ที่นี่
4. ข้อใดมีคำาที่มาจากภาษาต่างประเทศมาก
 ที่สุด (กข/2540)
   1.       จ ง เ จ 2. ปราชญ์ แ สดง
   ริ ญ ช เ ย ศ ด้ ว ย ดำาริด้วย ไตรยางศ์
   เดชะ
   3. อ้ า จ อ ม 4. บั ณ ฑิ ต วิ นิ จ
   จั ก ร พ ร ร ดิ ผู้ เลิศ แถลงสาร
   เพ็ญยศ
5. คำาประพันธ์ต่อไปนี้คำายืมมาจากภาษาต่าง
 ประเทศรวมกี่คำา (สามัญ 2/2539)
   “บำา รุง บิด ามา      ตุร ะด้ว ยหทัย ปรีย ์
   หากลูก และเมีย มี ก็ถ นอมประหนึ่ง ตน”
   1. 5 2.           6 3. 7 คำา 4. 8 คำา
   คำา      คำา
6. คำาซ้อนทุกคำาในข้อใดเกิดจากคำาไทย
 ทั้งหมด (สามัญ 1/2541)
 1. ภูเขา ข้าทาส 2. ข้าวของ มูลค่า 3.
แก่นสาร กาลเวลา 4. แก่เ ฒ่า หยาบช้า
7. ข้อใดใช้คำาภาษาต่างประเทศโดยไม่จำาเป็น
 (2/2543)
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 44
   1. เมื่อไฟดับควรตรวจดูว่าเป็น เพราะฟิ วส์
ขาดหรือปลั๊กหลุด
   2. เ ด็ ก ๆ ช อ บ รั บ ป ร ะ ท า น ไ อ ศ ก รี ม
ช็อกโกแลตมากกว่าไอศกรีมกะทิสด
   3. ก่ อ น เ ข้ า แ บ ง ก์ ผู้ ขั บ ขี่ ร ถ
จัก รยานย นต์ ต้อ งถ อดห ม วก กัน น็อ ก และ
แว่น ตาดำา ออก
   4. นักกอล์ ฟ หลายคน อยากเปลี่ยนวงสวิ ง
ให้ ค ล้ า ยกั บ ไทเกอร์ วู ด ส์ เพื่ อ ให้ ตี ลู ก ได้ แ ม่ น
และไกล
8. ข้อใดจำาเป็นต้องใช้คำาทับศัพท์ภาษาต่าง
  ประเทศ (1/2544)
   1. โรงพิ ม พ์ ส่ ง งานพิ ม พ์ ม าให้ ต รวจปรู๊ ฟ ที่
สองแล้ว
   2. ห้ า งสรรพสิ น ค้ า ที่ เ ปิ ด ใหม่ มั ก จะมี ข อง
แถมแจกฟรีแก่ลูกค้า
   3. นั ก ศึ ก ษาที่ เ รี ย นได้ เ กรดเอ ห้ า วิ ช าใน
เทอมใดจะได้ รั บ การยกเว้ น ค่ า หน่ ว ยกิ ต ใน
เทอมต่อไป
   4. นั ก กี ฬ า วี ล แ ช ร์ ข อ ง ไ ท ย ไ ด้ เ ห รี ย ญ
ท อ ง จ า ก ก า ร แ ข่ ง ขั น กี ฬ า ค น พิ ก า ร ที่
ประเทศออสเตรเลีย
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 45



9. ข้อใดใช้คำาภาษาต่างประเทศ โดยไม่จำาเป็น
  (2/2544)
    1. เวลาไปเที่ยวป่า ฉันชอบสวมกางเกงยีน
ส์และหมวดแก๊ป
    2. ขณะนี้ นำ้า มั น เบนซิ น ราคาแพงมาก อี ก
ทั้งแก๊สก็กำาลังขึ้นราคา
    3. พ อ ถึ ง ส น า ม ห ล ว ง ค น ขั บ ร ถ เ ม ล์
เหยีย บเบรกกะทัน หัน จนเราหัว คะมำา
    4. ที่ ทำา งานของฉั น กำา ลั ง ซ่ อ มลิ ฟ ต์ ที่ ห้ อ ง
ทำางานก็ต้องซ่อมสวิตช์ไฟด้วย
10. ข้อใดจำาเป็นต้องใช้คำาต่างประเทศ
  (O-Net 49)
    1.     ราคานำ้า มัน ดีเ ซลและเบนซิน ขึ้น
    ๆ ลง ๆ ตามกลไกการตลาด
    2.     รัฐบาลประกาศกำาจัดคอร์รัปชั่นให้
    หมดไปจากประเทศไทย
    3.     ยักษ์ใหญ่มือถือทุ่มโปรโมชั่นใหม่ ๆ
    เฉือนกันดุเดือน
    4.     เวลาขับรถต้องคาดเซฟตีเบลต์ทุกครั้ง
11. ข้อใดเขียนคำาทับศัพท์ภาษาอังกฤษได้
ถูกต้องทุกคำา (O-NET 50)
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 46
   1. เปอร์เซ็น พลาสติค คลินิก
   2. ซอส         เต็น ท์ เบนซิน
   3. กร๊าฟ ช้อค            สปริง
   4. สวิตซ์ เชิ้ต          ดีเปรสชั่น
12. ข้อใดไม่มีคำาภาษาไทยแทนคำาภาษาต่าง
ประเทศ (O-NET 50)
   1. วัยรุนส่วนใหญ่ชอบร้องเพลงฮิตติด
           ่
 อันดับ 2. รัฐบาลมีโปรเจ็กต์พัฒนาชนบท
 มากมาย
   3. พ่อค้ารับออร์เดอร์สั่งสินค้าจากอเมริกา
   4. ปัจ จุบ ัน อิน เทอร์เ น็ต มีค วามจำา เป็น
 อย่า งยิ่ง




    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 47




                            บทที่ 4
                          การสร้า งคำา

1. คำา ประสม หมายถึง การเอาคำามารวมกัน
ให้เกิดความหมายใหม่ (คำาประสม = คำาต้น +
คำาเติม)
  - คำาประสมจะมีความหมายโดยตรงหรือโดย
นัยก็ได้
  - คำาประสมเกิดจากคำาต่างชนิดรวมกันเมื่อปะ
สมกันแล้วอาจเป็นคำาชนิดเดิมหรือชนิดใหม่
ก็ได้
  เช่น แม่(นาม) + พริก(นาม) = นำ้าพริก
(นาม) ห่อ (กริยา) + หมก (กริยา) = ห่อหมก
(นาม)
  - ถ้าขึ้นต้นด้วย การ ของ เครื่อง ควา ช่าง
ชาว ผู้ ที่ นัก หมอ มักเป็นคำาประสม
2. คำา ซ้อ น มี 2 ประเภท
  2.1 คำาซ้อนเพื่อความหมาย มี 3 ลักษณะ
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 48
     (1) คำาซ้อนที่เกิดจากการนำาคำาที่ค วาม
หมายเหมือ นกัน มาซ้อนกัน เช่น ใหญ่โต
สวยงาม บ้านเรือน ทรัพย์สน ข้อ สอบชอบ
                           ิ
ออกคำา ซ้อ นภาษาไทยภาษาถิ่น เช่น พัดวี
ทองคำา เสื่อสาด เป็นต้น
     (2) คำาซ้อนที่เกิดจากการนำาคำาที่ค วาม
หมายคล้า ยกัน มาซ้อนกัน เช่น เงินทอง เพชร
พลอย หน้าตา แขนขา
     (3) คำาซ้อนที่เกิดจากการนำาคำาที่ค วาม
หมายตรงข้า มกัน มาซ้อนกัน เช่น เป็นตาย
ร้ายดี ถี่ห่าง
  2.2 คำาซ้อนเพื่อเสียง ต้องมีพยัญชนะต้นเป็น
เสียงเดียวกันโดยที่แต่ละคำาจะมีความหมายหรือ
ไม่มีก็ได้
  เช่น เกะกะ งอแง จอแจ เจียวจ๊าว เตาะแตะ
                             ๊
ฟูมฟาย อึดอัด ฯลฯ
  คำาซ้อนจะมีความหมาย กว้างขึ้นแคบลง คง
เดิม หรือเปลี่ยนไปก็ได้
3. คำา ซำ้า หมายถึง การใช้คำาเดิมซำ้ากันสอง
ครั้ง คำาที่ใช้ซำ้าสามาถแทนด้วยไม้ยมก (ๆ) ได้


    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 49
  ความหมายของคำาซำ้า ได้แก่ บอกลักษณะ
บอกพหูพจน์ เพิ่มจำานวน บอกความถี่(ความต่อ
เนือง) ไม่เจาะจง อ่อนลง เน้นยำ้า เปลียนความ
   ่                                 ่
หมาย
4. คำา สมาส เป็นการสร้างคำาแบบบาลีลันสก
ฤต โดยแบ่งเป็น 2 วิธี คือ สมาสแบบไม่มี
สนธิ(ชนคำา) และสมาแบบมีสนธิ (เชื่อมคำา)
  กฎของคำาสมาสมี 3 ข้อ
  1. คำาทีนำามาสมาสกันต้องเป็นคำาบาลีสัสนก
          ่
ฤตเท่านั้น
  2. แปลความหมายจากหลังไปหน้า
  3. อ่านออกเสียงต่อเนื่องระหว่างคำา
  4.1 คำา สมาสแบบไม่ม ีส นธิ (ชนคำา )
  เช่น คุณธรรม (คุณ+ธรรม) ราชการ (ราช
+การ) สัตวแพทย์(สัตว์ + แพทย์) ชีววิทยา
(ชีวะ+วิทยา)
  ถ้าเจอคำาใดที่ลงท้ายด้วย ธรรม ศาสตร์
สถาน ศึกษา กิจ กรรม วิทยา กร ภาพ ศิลป์
การ ภัย = มักเป็นคำาสมาสแบบไม่มีสนธิ

 4.2 คำา สมาสแบบมีส นธิ (เชื่อ มคำา )
***โจทย์เน้นเฉพาะ สระสนธิ เท่านัน
                                ้
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 50
  1. สระสนธิ เช่น ชลาลัย (ชล+อาลัย) ปรมิ
นทร์ (ปรม+อินทร์) ราชูปถัมภ์ (ราช+อุปถัมภ์)
จุฬาลงกรณ์ (จุฬา +อลงกรณ์) สุริยโยทัย
(สุริยะ+ อุทัย)
  2. พยัญชนะสนธิ จำาเป็นคำาไปเลยเพราะมีแค่
ไม่กี่คำา ได้แก่ พรหมชาติ อาตมภาพ รโหฐาน
มโนภาพ เตโชธาตุ นิรทุกข์ นิรภัย ทุรชน
ทรชน ฯลฯ
  3. นิคหิตสนธิ สังเกตคำาที่ขึ้นต้นด้วย สง สัง
สัม สัญ สัณ สมา สมุ สโม




    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 51




ตัว อย่า งข้อ สอบบทที่ 4 เรื่อ งการสร้า งคำา
1. คำาประสมทุกคำาในข้อใดมีโครงสร้างเหมือน
คำาว่า “เครื่องซักผ้า” (O-NET 50)
  1. ผ้าขาวม้า หม้อหุงข้าว 2. แปรงสีฟน ตู้
                                       ั
กับข้าว
  3. รถไถนา นำ้าพริกเผา 4. ยาหยอดตา
ไม้จ ิ้ม ฟัน
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 52
2. ข้อใดเป็นคำาประสมทุกคำา          (O-Net
49)
   1.     บ้านเรือน พ่อแม่               ลูก
 หลาน
   2.     ขาดเหลือ บ้านนอก อ้วนพี
   3.     ห่อหมก          ชั่วดี บ้านพัก
   4.     กล้ว ยไม้ เสื้อ คลุม แผ่น เสีย ง
3. ข้อความต่อไปนี้มีคำาประสมจำานวนเท่าใด
(ไม่นับคำาซำ้า)
    “ปัจจุบันสินค้าต่าง ๆ ที่ขายได้ ไม่ได้ขาย
  ด้วยคุณภาพอย่างเดียวแล้ว แต่ขายด้วยภาพ
  ลักษณ์ ที่ดีด้วย นันหมายความว่าห้างนัน
                      ่                     ้
  บริษัทนันมีชื่อเสียงดี มีสนค้าดี มีภมิหลังดี
          ้                  ิ        ู
  และสินค้านันเป็นทีน่าเชื่อถือในวงการค้า”
                ้       ่
  1. 4 คำา        2. 5 คำา      3. 6 คำา
       4. 7 คำา
4. ข้อความต่อไปนี้มีคำาซ้อนกี่คำา (O-Net
49)
       การระเบิดของภูเขาไฟทำาให้หินร้อน
   จากใต้พิภพดันตัวขึ้นมาเหนือผิวโลก ก่อ
   ให้เกิดคลื่นยักษ์ถาโถมเข้าทำาลายบ้านเรือน
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 53
  และชีวิต ท้องทะเลปั่นป่วน ท้องฟามืดมิด
  ทำาให้ผู้คนหวาดกลัวคิดว่าโลกจะแตก
  1.          4 คำา    2.       5 คำา
   3.         6 คำา    4.       7 คำา
5. ข้อใดไม่มีคำาซ้อน (ฉบับตุลาคม 2546)
  1. ธรรมดาเกิดมาเป็นสตรี ชั่วดีคงได้คู่มา
  สู่สม
  2. ตาปะขาวเฒ่าแก่แซ่กันมา พร้อมนั่ง
  ปรึกษาที่วัดนั้น
  3. ได้ถือนำ้าพระพิพัฒน์สัจจา จะหลบลี้หนี
  หน้าไปทำาไม
  4. แสนรโหโอฬาร์น ่า สบาย หญิง และ
  ชายต่า งกลุ้ม ประชุม กัน
6. ข้อใดไม่มีคำาซ้อน (๒/๒๕๔๕)
  1. หน้าตาของสลวยดูสดใสขึ้นเมื่อทราบ
     ข่าวคนรักของเธอ
  2. สาลินไม่รู้จกมักคุนกับอัศนีย์แต่เขาก็มา
                    ั   ้
     ชวนเธอทำางาน
  3. รจนาตกอยู่ใ นวัง วนของความทุก ข์
     ที่ด ูจ ะหาทางออกไม่ไ ด้
  4. กนกเรขาไม่เดือดร้อนที่คนเข้าใจผิด
     เรื่องการทำางานของเธอ
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 54
7.ข้อใดเป็นคำาซ้อนทุกคำา(A-NET 50)
    1. ลอดลายมังกร สิงห์สาราสัตว์ นำ้าท่า
2.โมโหโกรธา ดั้งเดิม ปางก่อน
    3.เสกสรร เก็บ งำา บาปบุญ คุณ โทษ
4.วิชาความรู้ ข้าวปลาอาหาร แม่ไม้
มวยไทย
8.ข้อใดมีคำาที่สลับคำาแล้วไม่เป็นคำาซ้อน(A-
NET 50)
    1. ปนปลอม ยียวน
2. ร่อนเร่ เลือนราง
    3. ทนทาน โลมเล้า
4. กลับ กลอก ลอกเลีย น
9. ข้อใดไม่มีคำาซ้อน (O-NET 50)
  1. กินข้าวเสร็จแล้วต้องช่วยกันเก็บถ้วยชาม
ให้เรียบร้อย
  2. ประชาชนกำาลังยื้อแย่งกันซื้อเสื้อเหลืองที่
เมืองทองธานี
  3. เด็กวัยรุ่นทุกวันนี้ชอบกินเหล้าเมายา
ประพฤติตนเหลวแหลก
  4. รัฐ บาลยอมให้ร าคานำ้า มัน ลอยตัว ได้
จึง ทำา ให้น ำ้า มัน มีร าคาแพง
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย
หน้า ที่ 55
10. ข้อใดมีทั้งคำาซ้อนและคำาประสม           (A-
Net 49)
  1. ของของใคร ของใครก็ห่วง ของใคร
  ใครก็ต้องหวง ห่วงใยรักใคร่ถนอม
  2. ชอบไหม ชอบไหม รูปร่างหน้าตา
  อย่างนี้ ถามหน่อยเถอะพี่ ชอบไหม
  ชอบไหม
   3. น้อ งเปิ้ล น่า รัก น้อ งเปิ้ล น่า รัก ผม
  เหงาอ้า งว้า งเปล่า เปลี่ย ว ผมอยู่ค น
  เดีย วในความมืด
  4. ไก่ไหมครับไก่ ซื้อไหมครับ จะกลับ
  แล้วไก่ ไก่ขายถูกถูกแถมกระดูกกับไม้
  เสียบไก่
11. ข้อใดไม่ใช้คำาซำ้า        (A-Net 49)
  1. มีความเหงาเยียบเย็นเป็นที่อยู่
   วันวันรับรู้การไหลผ่าน
  2. เยียมเยี่ยมมองมองแล้วร้องว่า
          ่
   อะไรนี่บ่นบ้าน่าหนวกหู
  3. สงสารใจใจเจ้า เอ๋ย ไม่เ คยว่า ง

    ทุก ก้า วย่า งหยุด ใจไม่ไ ด้ห นอ
   4. ปูน้อยน้อยวิ่งร่อยตามริมหาด
    กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย
                         ้          โรงเรีย นประชาบำา รุง
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

วิเคราะห์จ๊า
วิเคราะห์จ๊าวิเคราะห์จ๊า
วิเคราะห์จ๊าNok Yaowaluck
 
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลยแบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลยRuangrat Watthanasaowalak
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netWarissa'nan Wrs
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำkruying pornprasartwittaya
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netvanichar
 
จำแนก คำเป็น ตำตาย ครุ ลหุ ฯลฯ
จำแนก คำเป็น ตำตาย ครุ ลหุ ฯลฯจำแนก คำเป็น ตำตาย ครุ ลหุ ฯลฯ
จำแนก คำเป็น ตำตาย ครุ ลหุ ฯลฯพัน พัน
 
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51Prechaya Kham
 
เพลง อักษรนำ อ
เพลง อักษรนำ อเพลง อักษรนำ อ
เพลง อักษรนำ อzomyoop
 

La actualidad más candente (17)

วิเคราะห์จ๊า
วิเคราะห์จ๊าวิเคราะห์จ๊า
วิเคราะห์จ๊า
 
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลยแบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
แบบฝึกรวม ไม่มีเฉลย
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำ
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O net
 
จำแนก คำเป็น ตำตาย ครุ ลหุ ฯลฯ
จำแนก คำเป็น ตำตาย ครุ ลหุ ฯลฯจำแนก คำเป็น ตำตาย ครุ ลหุ ฯลฯ
จำแนก คำเป็น ตำตาย ครุ ลหุ ฯลฯ
 
01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทย01 ภาษาไทย
01 ภาษาไทย
 
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
ข้อสอบภาษาไทย โควต้า51
 
เพลง อักษรนำ อ
เพลง อักษรนำ อเพลง อักษรนำ อ
เพลง อักษรนำ อ
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
วรรคตอน1
วรรคตอน1วรรคตอน1
วรรคตอน1
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำ
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 

Destacado

Creativity and innovation training action
Creativity and innovation training actionCreativity and innovation training action
Creativity and innovation training actionmorenomarchal
 
Ricardo J. Rodríguez - Mejora en el Proceso de Desempacado usando Técnicas DB...
Ricardo J. Rodríguez - Mejora en el Proceso de Desempacado usando Técnicas DB...Ricardo J. Rodríguez - Mejora en el Proceso de Desempacado usando Técnicas DB...
Ricardo J. Rodríguez - Mejora en el Proceso de Desempacado usando Técnicas DB...RootedCON
 
Present simple indefinite tense
Present simple indefinite tensePresent simple indefinite tense
Present simple indefinite tenseKolevatovat
 
De la tiza y pizarrón a nuevas competencias (2)
De la tiza y pizarrón a nuevas competencias (2)De la tiza y pizarrón a nuevas competencias (2)
De la tiza y pizarrón a nuevas competencias (2)Ana Maria Schab
 

Destacado (20)

การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
แนวทางการจัดกิจกรรมลลดเวลาเรียน เร่งเวลารู้ เพิ่มภาระครู
แนวทางการจัดกิจกรรมลลดเวลาเรียน เร่งเวลารู้ เพิ่มภาระครูแนวทางการจัดกิจกรรมลลดเวลาเรียน เร่งเวลารู้ เพิ่มภาระครู
แนวทางการจัดกิจกรรมลลดเวลาเรียน เร่งเวลารู้ เพิ่มภาระครู
 
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมดโครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
 
Moo cs dr.jaitip
Moo cs dr.jaitipMoo cs dr.jaitip
Moo cs dr.jaitip
 
ข้อสอบ O net
ข้อสอบ O netข้อสอบ O net
ข้อสอบ O net
 
รายงานเชิงวิชาการสีย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
รายงานเชิงวิชาการสีย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดรายงานเชิงวิชาการสีย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
รายงานเชิงวิชาการสีย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
โครงงานครีมขัดรองเท้า
โครงงานครีมขัดรองเท้าโครงงานครีมขัดรองเท้า
โครงงานครีมขัดรองเท้า
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอนใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์กลอน
 
พฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสายพฤติกรรมการมาสาย
พฤติกรรมการมาสาย
 
Creativity and innovation training action
Creativity and innovation training actionCreativity and innovation training action
Creativity and innovation training action
 
ประกาศโรงเรียนประชาบำรุง
ประกาศโรงเรียนประชาบำรุงประกาศโรงเรียนประชาบำรุง
ประกาศโรงเรียนประชาบำรุง
 
สมุนไพรแก้คันกันยุง
สมุนไพรแก้คันกันยุงสมุนไพรแก้คันกันยุง
สมุนไพรแก้คันกันยุง
 
ระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทย
ระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทยระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทย
ระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทย
 
Presentacion proyecto lautaro (1)
Presentacion proyecto lautaro (1)Presentacion proyecto lautaro (1)
Presentacion proyecto lautaro (1)
 
Vhsnc guidlines
Vhsnc guidlinesVhsnc guidlines
Vhsnc guidlines
 
Ricardo J. Rodríguez - Mejora en el Proceso de Desempacado usando Técnicas DB...
Ricardo J. Rodríguez - Mejora en el Proceso de Desempacado usando Técnicas DB...Ricardo J. Rodríguez - Mejora en el Proceso de Desempacado usando Técnicas DB...
Ricardo J. Rodríguez - Mejora en el Proceso de Desempacado usando Técnicas DB...
 
Desigualdad
DesigualdadDesigualdad
Desigualdad
 
Present simple indefinite tense
Present simple indefinite tensePresent simple indefinite tense
Present simple indefinite tense
 
De la tiza y pizarrón a nuevas competencias (2)
De la tiza y pizarrón a nuevas competencias (2)De la tiza y pizarrón a nuevas competencias (2)
De la tiza y pizarrón a nuevas competencias (2)
 
Competencias tic docentes. cartilla generica13
Competencias tic docentes. cartilla generica13Competencias tic docentes. cartilla generica13
Competencias tic docentes. cartilla generica13
 

Similar a สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่นการสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่นkruthai40
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป...
แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป...แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป...
แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป...กชนุช คำเวียง
 
สื่อคำบาลี
สื่อคำบาลีสื่อคำบาลี
สื่อคำบาลีvorapong4
 
สื่อคำบาลี
สื่อคำบาลีสื่อคำบาลี
สื่อคำบาลีvorapong4
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์kruthai40
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗vp12052499
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยvp12052499
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรีเอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรีครูเย็นจิตร บุญศรี
 

Similar a สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย (20)

กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O netกวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
 
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O netกวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่นการสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
การสังเกตคำที่มาจากภาษาอื่น
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป...
แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป...แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป...
แนวทางการใช้หนังสือเรียนหลักสูตร 44 กับแผนการสอนหลักสุตรใหม่ 51 วิชาภาษาไทย ป...
 
สื่อคำบาลี
สื่อคำบาลีสื่อคำบาลี
สื่อคำบาลี
 
สื่อคำบาลี
สื่อคำบาลีสื่อคำบาลี
สื่อคำบาลี
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรีเอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
 

สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย

  • 1. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 1 ประมวลรายวิช ากลุ่ม สาระการเรีย นรู้ ภาษาไทย 1. ภ า ษ า ศ า ส ต ร์ ว่ า ด้ ว ยลั ก ษณะเฉพาะ ของภาษาไทย ข้อสอบประกอบด้ วย ระบบ เ สี ย ง ใ น ภ า ษ า ไ ท ย พ ยั ญ ช น ะ ส ร ะ วรรณยุกต์ พ ยัญ ชน ะ มักถามเรื่อง พยัญชนะต้นเดี่ยว พยัญชนะควบกลำ้า พยัญชนะท้าย มาตราตัว สะกดแม่ต่างๆ พยางค์เปิด พยางค์ปิด สระ มักถามเรื่องสระเสียงสั้น สระเสียงยาว สระประสม โดยมีตัวลวงคือรูปสระที่ไม่ตรง กับเสียงสระ ว ร ร ณ ยุ ก ต์ มั ก ใ ห้ ผั น ว ร ร ณ ยุ ก ต์ ต า ม ข้อความที่กำา หนด ข้อควรระวังคือการตอบ ให้ตรงคำาถาม โ ค ร ง ส ร้ า ง ข อ ง พ ย า ง ค์ ความเหมื อ น ความแตกต่างของพยางค์ คำาเป็น - คำาตาย ธรรมชาติของภาษา การเปลี่ยนแปลงของภาษา ลักษณะเฉพาะของภาษาไทย กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 2. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 2 คำา ไทยแท้ – คำา ยืม (คำา บาลี คำา สั นสกฤต คำา เขมร คำาต่างประเทศตระกูลยุโรป) การสร้างคำาการเพิ่มคำา คำาประสม คำาซ้อน คำา ซำ้า คำา สมาสทั้ ง คำา สมาสที่ ไ ม่ มี ส นธิ แ ละคำา สมาสแบบมีสนธิ 2 ห ลั ก ภ า ษ า ข้ อ สอบมั ก ออกเรื่ อ งความถู ก ต้ อ งตาม ห ลั ก ภ าษ าไท ย ประ โ ย ค ก ลุ่ ม คำา ประโยคสมบูรณ์ การเน้นประโยค(รูปประโยค) เจตนาของประโยค โครงสร้ า งของประโยค ชนิดของประโยค (ความเดียว ความ รวม ความซ้อน) ข้อบกพร่องของประโยค 1. การใช้คำาฟุ่มเฟือย / กะทัดรัด 2. การใช้ภาษากำากวม / ชัดเจน 3. การวางส่วนขยายผิดที่ 4. การใช้สำานวนต่างประเทศ 5. ความสัมพันธ์ของประโยค 6. ประโยคไม่ครบกระแสความ 7. การใช้ คำา ผิ ด หน้ า ที่ ห รื อ ความหมาย ในประโยค 3. ก า ร ใ ช้ ค ำา – สำา น ว น แ ล ะ ก า ร ใช้โ วหาร การใช้คำาให้ตรงกับความหมาย กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 3. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 3 การใช้คำาราชาศัพท์ ระดับของภาษา หน้าที่และชนิดของคำา การใช้คำาเชื่อม การใช้สำานวน การใช้โวหาร 4. วรรณคดีแ ละความงามของภาษา การสรรคำา การเล่นเสียง ลักษณะเด่นและศิลปะ ในการแต่งคำาประพันธ์ ฉั น ทลั ก ษณ์ และลั ก ษณเด่ น ของฉั น ทลั ก ษณ์ (คำาเอก คำาโท คำาครุ คำาลหุ) การใช้ภาพพจน์ในวรรณคดีหรือวรรณกรรม จินตภาพ แนวคิด ค่านิยม ความเชื่อที่ปรากฏในวรรณคดี หรือวรรณกรรม ประเพณี สังคม วัฒนธรรมที่ปรากฏในวรรณคดี หรือวรรณกรรม 5. ก า ร ใ ช้ ภ า ษ า เ พื่ อ ก า ร แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด และการแสดงออก กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 4. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 4 ภาษาและเหตุผ ล โครงสร้างของเหตุ ผล การ อนุมาน การแสดงทรรศนะ การโต้แย้ง การโน้ม น้าวใจ 6. การใช้ภ าษาไทย การพู ด ทั้ ง ระหว่ า งบุ ค คลและการพู ด ในที่ ประชุมชน การสัมภาษณ์ การฟัง การอ่ า น เน้ น การอ่ า นจั บ ใจความและการ ตีความ ก า ร เ ขี ย น เ รี ย ง ค ว า ม ย่ อ ค ว า ม จ ด ห ม า ย ประกาศ การประชุม คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร กลวิ ธี ก ารเขี ย นอธิ บ าย การบรรยาย การ พรรณนา เทศนาโวหาร สาธกโวหาร อุ ป มา โวหาร 7. เบ็ด เตล็ด เครื่ องหมายวรรคตอน การเขี ยนตั วสะกด การันต์ การอ่านคำา การใช้ลักษณนาม การ ใช้พจนานุกรม ฯลฯ กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 5. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 5 บทที่ 1 ระบบเสีย งในภาษาไทย ระบบเสียงในภาษาไทยมีอยู่ 3 ชนิด ได้แก่ 1. รูป สระ - เสีย งสระ รูป สระ กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 6. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 6 ะ เรีย วิ ส ร ร ช นี เ เรีย ไม้หน้า กว่า ย์ กว่า า เรีย ลากข้าง ไ เรีย ไม้มลาย กว่า กว่า ิ เรีย พินทุ์อิ ใ เรีย ไม้ม้วน กว่า กว่า | เรีย ฝนทอง โ เรีย ไม้โอ กว่า กว่า || เรีย ฟันหนู อ เรีย ตัว ออ กว่า กว่า ๐ เรีย นิคหิต, ย เรีย ตัว ยอ กว่า หยาด กว่า นำ้าค้าง  เรีย ตี น ว เรีย ตัว วอ กว่า เหยียด กว่า  เรีย ตีนคู้ ฤ เรีย ตัว รึ กว่า กว่า ั เรีย ไม้ผัด ฤๅ เรีย ตัว รือ กว่า กว่า ็ เรีย ไม้ไต่คู้ ฦ เรีย ตัว ลึ กว่า กว่า กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 7. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 7 ฦๅ เรีย ตัว ลือ กว่า ประเภทของสระ 1. เสียงสระ (สระเดี่ยว มี 18 เสียง) สระเสียงสั้น สระเสียงยาว (ทีฆสระ) (รัสสระ) / อะ/ /อา/ /อิ/ /อี/ /อึ/ /อือ / /อุ/ /อู/ /เอะ/ /เอ/ /แอะ/ /แอ/ /เออะ/ /เออ/ /เอาะ/ /ออ/ /โอะ/ /โอ/ 2. สระประสม (สระเลื่อน) คือ การนำา เสีย ง สระเดี่ยว 2 เสียงมาประสมกัน ได้แก่ /อิ/ + /อะ/ = / /อี/ + /อา/ = / เอีย ะ/ เอีย / /อึ/ + /อะ/ = / /อือ / + /อา/ = / เอือ ะ/ เอือ / /อุ/ + /อะ/ = / /อู/ + /อา/ = / อัว ะ/ อัว / หมายเหตุ ท า ง ภ า ษ า ศ า ส ต ร์ ถื อ ว่ า ส ร ะ ประสมเสี ย งสั้ น เป็ น หน่ ว ยเสี ย งเดี ย วกั บ เสียงยาว กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 8. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย จึงถือว่าสระประสม มี 3 เสียง คือ /เอีย/ หน้า ที่ 8 /เอือ/ /อัว/ ข้อ ควรจำา อำา ไอ ใอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ 2. รูป พยัญ ชนะ - เสีย งพยัญ ชนะ รูปพยัญชนะ มี 44 รูป คือ อัก ษร อัก ษร อัก ษรคู่ อัก ษร กลาง สูง เดี่ย ว ก ข ฃ คฅ ฆ ง จ ฉ ช ฌ ญ ฎฏ ฐ ฑ ฒ ณ ดต ถ ท ธ น บป ผฝ พฟ ภ ม อ ศษส ห ซ ฮ ยรลวฬ เ สีย ง พ ยัญ ช น ะ ป ร า ก ฏ ไ ด้ 2 ตำา แ ห น่ง ใ น พยางค์ คือ 1. เสีย งพยัญ ชนะต้น 1.1 เสียงพยัญชนะต้นเดี่ยว มี 21 เสียง คือ 1. / 1 / ก/ 2. บ/ 2. / 1 / กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 9. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 9 ค/ 3. ป/ 3. / 1 / ง/ 4. พ / 4. / 1 / จ/ 5. ฟ / 5. / 1 / ช 6. ม/ / 6. / 1 / ซ 7. ร/ / 7. / 1 / ย/ 8. ล/ 8. / 1 / ด/ 9. ว/ 9. / 2 / ต/ 0. ฮ/ 1 / 2 / 0. ท 1. อ/ กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 10. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 10 / 1 / 1. น / 1.2 เสี ย งพยั ญ ชนะต้ น ประสม (เสี ย งควบ กลำ้า ) คื อ พยางค์ ที่ มี เสี ย งพยั ญ ชนะต้ น สองตั ว ออกเสีย งควบกัน ในระบบเสียงภาษาไทย มี 5 ชุด คือ ร ล ว ข้อ ควรระวัง คำา ควบไม่แ ท้จ ัด ก / / / เป็น เสีย งพยัญ ชนะ ต้น เสีย งเดี่ย ว ค / / / เช่น จริง(จิง) ป / / × สร้าง(ส้าง) พ / / × ต / × × 2. เ สี ย ง พ ยั ญ ช น ะ ท้ า ย คื อ เ สี ย ง พยัญชนะที่ทำาหน้าทีเป็นตัวสะกดมี 9 เสียง คือ ่ 1. /ก/ เช่น เลข โรค เมฆ ครก นาก ฯลฯ 2. /บ/ หรือ /ป/ เช่ น พบ ลาภ กบ จับ กราฟ ฯลฯ กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 11. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 11 3. /ด/ หรือ /ต/ เช่ น มด กาจ คช กฎ พุทธ ฯลฯ 4. /ง/ เช่ น โมง หาง สู ง แกง กิ่ง ฯลฯ 5. /ม/ เช่น กรรม หาม ชิม ทำา สัมมนา ฯลฯ 6. /น/ เ ช่ น ก า ร ณ์ ก ล อ น สัญญาณ เขิน ฯลฯ 7. /ย/ เช่ น ชาย หน่ อ ย รวย ได้ ใน ฯลฯ 8. /ว/ เช่น ขาว เลว แน่ว ชาย หิว ฯลฯ 9. /?/ หมายถึ ง พยางค์ ที่ เ ป็ น เสี ย ง สั้น ลงเสียงหนักท้ายพยางค์ เช่น ชะ กะปิ สมาธิ 3. ว ร ร ณ ยุ ก ต์ คื อ ระดั บ เสี ย งสู ง ตำ่า ของ พยางค์ (tone) มี 4 รูป 5 เสียง คือ รูป ่    เสีย สามัญ เอก โท ตรี จัตว ง า พยางค์ป ิด - พยางค์เ ปิด กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 12. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 12 พยางค์ป ิด คือ พยางค์ที่มีเสียงพยัญชนะ ท้ า ย เ ช่ น กิ น ข้ า ว ไ ห ม ชิ ช ะ จ ะ น ะ ชัยชนะ (มีเ สีย ง /?/) พยางค์เ ปิด คื อ พ ย า ง ค์ ที่ ไ ม่ มี เ สี ย ง พยัญชนะท้าย เช่น มา หรือ หนู โ ค ร ง ส ร้ า ง ข อ ง พ ย า ง ค์ หมายถึ ง ส่ ว น ประกอบของแต่ละพยางค์ โดยพิจารณาจาก เสีย งของพยัญ ชนะท้า ย พ ย า ง ค์ ปิ ด หรือพยางค์เปิด เสีย งของพยัญ ชนะต้น เดี่ ย วหรื อ ควบ กลำ้า เสีย งของสระ สระสัน สระยาว ้ เสีย งของวรรณยุก ต์ เสี ย งสามั ญ เอก โท ตรี จัตวา คำา เป็น คำา ตาย 1. คำาเป็น หมายถึง คำาที่ประสมด้วยสระ เสียงยาว หรือคำาที่มีเสียงสะกด แต่ยกเว้น แม่ กก กบ กด เช่น น้า ตี งู จง อาง ให้ เห็น 2. คำาตาย หมายถึง คำาที่ประสมด้วยสระ เสียงสันและไม่มเสียงสะกด รวมทั้งคำาที่อยู๋ใน ้ ี แม่ กก กบ กด เช่น กระทะ มะระ ก็ บ่ ธ ณ เป็ด กฎ ศพ อ้า งอิง กาญจนา นาคสกุล. 2541. ระบบเสียงภาษา ไทย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 13. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย วิชาการ,กรม กระทรวงศึกษาธิการ. 2541. หน้า ที่ 13 วรรณลักษณ์วิจารณ์ เล่มที่ 1. กรุงเทพฯ : คุรุ สภาลาดพร้าว. ตัว อย่า งข้อ สอบบทที่ 1 เรื่อ งระบบเสีย งในภาษาไทย 1. ข้อใดมีเสียงสระสัน ทุกพยางค์ ้ 1. นำ้า แ ข็ ง 2. นมข้ น นมผง นำ้า ใ จ นำ้า เ ชื่ อ ม นมกล่อง นมสด นำ้ามัน 3. น ง นุ ช 4. น พ เ ก้ า นงเยาว์ นงคราญ น พ คุ ณ น พ นงลักษณ์ เคราะห์ นพรัต น์ 2. ข้อใดมีจำานวนพยางค์ที่ประกอบด้วยสระลด รูปมากที่สุด 1. กวนขนม ทุ่มทุน ทางขนาน 2. ปลดปลง ปกปอ ง ครบครัน 3. ตกใจ สิ้นเคราะห์ กราบกราน 4. เกรียวกราด กลบเกลื่อน เกรงกริ่ง ้ 3. ข้อใดไม่มีเสียงสระประสม 1. มโนมอบพระผู้ เสวยสวรรค์ 2. พูดมากเปล่าเปลืองปน ปดเหล้น กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 14. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 14 3. สิ่งใดในโลกล้วน เปลี่ยนแปลง 4. คำาแสลงเสียดแทงระคน คำา ห ย า บ หยอกฤา 4. ข้อใดมีคำาที่ประกอบด้วยเสียงสระประสมทุก คำา (2/2546) 1. เฟื้อ งฟา 2. มัวหมอง เชื่อ รำ่า รวย เสีย ใจ เลิศลำ้า หน้า 3. เปรี้ยวปาก 4. เรื่องราว เกรอะกรัง เพลียงพลำ้า ่ พรำ่าเพรื่อ แท่นพิมพ์ 5. ข้อใดไม่มีสระประสม (O-NET 50) 1. ใครดูถ ูก ผู้ช ำา นาญในการช่า ง 2. ความคิดขวางเฉไฉไม่เข้าเรื่อง 3. เหมือนคนป่าคนไพรไม่รุ่งเรือง 4. จะพูดด้วยนั้นก็เปลืองซึ่งวาจา 6.พยางค์ท้ายข้อใดมีเสียงสระตรงกับพยางค์ที่ ขีดเส้นใต้ “จราจร จลาจล” (A-NET 50) 1. ถนน ถนอม 2. ขนอน โขนง 3. ฉลอง ฉงน 4. สนม สนน 7. ข้อใดมีเสียงพยัญชนะต้นเดี่ยวซำ้ากันมาก ที่สุด (2/2546) กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 15. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 15 1. นุ่งยกนอก 2. โจงกระเบน ดอกวิเศษ ประคดคาดไม่ เกล็ดพิมเสน หวาดไหว 3. บ้า งใส่เ สื้อ 4. ข้างนอกใส่ ส้า ระบับ เข้ม ครุยกรองทอง ขาบใน สำาริด 8. ข้อใดมีจำานวนเสียงพยัญชนะต้นเดี่ยวน้อย ที่สุดโดยไม่นับเสียงซำ้า(A-NET 50) 1. สุดสายตาข้าเห็นเป็นทุกเวิ้ง 2. ในโลกนี้มีอะไรเป็นไทยแท้ 3. ของไทยแน่น ั้น หรือ คือ ภาษา 4. ชลล้นเจิ่งแผ่นดินหมองร้องครวญครำ่า 9. ข้อใดมีทั้งอักษรควบและอักษรนำา (A- Net 49) 1. สงครามครานี้ห นัก ใจเจ็บ ใจมา 2. เรียมเร่งแหนงหนาวเหน็บ อกโอ้ 3. ลูกตายฤๅใครเก็บ ผีฝาก พระเอย 4. ผีจักเท้งที่โพล้ ที่เพล้ใครเผา 10. คำาขวัญต่อไปนี้มีเสียงพยัญชนะสะกดกี่ เสียง (ไม่นับเสียงซำ้า) กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 16. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 16 “รักในหลวง ห่วงลูกหลาน ช่วยกันต้านยา เสพติด” 1. 5 เสียง 2. 6 เสีย ง 3. 7 เสียง 4. 8 เสียง 11. ข้อใดมีเสียงพยัญชนะสะกดมากที่สุด (ไม่ นับเสียงซำ้า) 1. จงรู้จักรักษาคุณค่าหญิง 2. อย่าทอดทิ้งทางงาม ทุกความหมาย 3. แม้นราคีมีหมองต้อง เสียดาย 4. จะอับ อายออกนาม คนหยามเรา 12. ข้อใดมีเสียงพยัญชนะท้ายพยางค์ทุกคำา (A-Net 49) 1. เขาทำา งานจนภารโรงปิด ห้อ ง 2. คุณยายเป็นลมเมื่ออ่านจดหมายจบ 3. ต้นกล้วยริมรั้วลวดหนามออกเครือแล้ว 4. ภาคใต้ได้รับความเสียหายจากคลื่นยักษ์ 13.ข้อใดมีเสียงพยัญชนะท้ายน้อยที่สุดโดยไม่ นับเสียงซำ้า(A-NET 50) กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 17. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 17 1.จงจำาไว้ว่าอนาคตที่สดใสต้องเริ่มต้น เดี๋ยวนี้ 2. จงมองหาโอกาสทีซ่อนอยู่ในอุปสรรคที่ ่ เผชิญ 3.จงจำา ไว้ว ่า คำา พูด ที่อ ่อ นหวานช่ว ย สมานใจได้ด ี 4. จงวางดินสอกับกระดาษโน้ตไว้ข้าง โทรศัพท์ทกเครื่อง ุ 14. ข้อใดมีคำาที่สะกดด้วยแม่กดมากทีสุด ่ (O-Net 49) 1. อุบ ัต ิเ หตุอ าจเกิด ขึ้น เป็น นิต ย์ใ น โอกาสวัน สุด สัป ดาห์ 2. งานเฉลิมฉลองพระเกียรติในวโรกาส การประสูติพระโอรส 3. ขอตั้งสัจจะอธิษฐานยึดมันในชาติ ่ ศาสน์ กษัตริย์ชั่วนิรนดร์ั 4. ยศถาบรรดาศักดิ์ไม่สามารถสกัดกั้น ให้แคล้วคลาดปราศจากอุปัทวันตรายได้ 15. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบห้าเสียง (O-Net 49) 1. โง่ไม่เป็นใหญ่ยากฝากให้คิด 2. ทางชีว ิต จะรุ่ง โรจน์โ สตถิผ ล กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 18. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 18 3. ต้องรู้โง่ฉลาดปราดเปรื่องตน 4. โง่สิบหนดีกว่าเบ่งเก่งเดี๋ยวเดียว 16. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบ 5 เสียง (O- NET 50) 1. เจ้า คุม แค้น แสนโกรธพิโ รธพี่ 2. แต่ เดือนยีย่างเข้าเดือนสาม ่ 3. จนพระหน่อสุริยวงศ์ทรงพระนาม 4. จาก อารามแรมร้างทางกันดาร 17. เสียงวรรณยุกต์ข้อใดต่างกับข้ออื่น(A- NET 50) 1. ทรงธรรมลำ้ามะนุษ- 2. ฤทธิรุทมหา ศาล 3. บำาเพ็ญพะลีการ 4. ทุก อย่า งงาม ตามวิส ัย 18. คำาคู่ใดต่างกันเฉพาะเสียงสระเท่านั้น (A-Net 49) 1. ทรัพย์ - ทราบ 2. เนิบ - นับ 3. หมั้น - ม่า น 4. โชค - ชัก กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 19. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย 19. เสียงของพยางค์ในข้อใดมีโครงสร้างต่าง หน้า ที่ 19 กับข้ออื่น (ข้อสอบ O NET 2551) 1. ข ว า น 2. ห ล า ม 3. เผย 4. ฝูง 20. คำา ในข้อใดมีโครงสร้างพยางค์เหมือนกัน ทั้งสองคำา 1. ตั้งร้าน 2. ข้างขึ้น 3. คล่อ งแคล่ว 4. ทรุดโทรม 21. ข้อใดมีคำาตายมากที่สุด (A-Net 49) 1. ประดุจทรงวราภรณ์สุนทรสวัสดิ์ 2. เรืองจรัสยิ่งมกุฎสุดสง่า 3. ประดับ พระวรเดชวิเ ศษฤทธิ์ 4. ที่สถิตอานุภาพสโมสร 22. ข้อใดมีคำาตายน้อยที่สุด (1/2546) 1. ทั้ง ไพร่น ายรายเรีย งกัน เรีย ดไป ตัด ใบไม้ม ุง เหมือ นหลัง คาบัง 2. พระเปรมปรีดิ์ดีใจอยู่ในพักตร์ มิให้ ประจักษ์คนทั้งหลาย 3. คำาโบราณท่านผูกถูกทุกสิ่ง เขาว่า ลิงจองหองมันพองขน 4. เสพอาหารหวานคาวเมื่อคราวยาก ล้วน ของฝากเฟื่องฟูค่อยชูชื่น 23. ทุกพยางค์ในข้อใดเป็นคำาเป็น (O-NET 50) กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 20. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 20 1. พระเสด็จโดยแดนชล 2. ทรงเรือต้นงาม เฉิดฉาย 3. เรือ ชัย ไวว่อ งวิ่ง 4. รวดเร็วจริงยิ่ง อย่างลม บทที่ 2 การใช้ค ำา คำา และความหมาย คำา ในภาษาไทยมี ค ว า ม ห ม า ย ก ว้ า ง แ ล ะ แคบไม่เท่ากัน เช่น ดอกไม้ มีความหมายกว้าง แต่ ดอกกุหลาบ มีความหมายแคบ นอกจากนี้ ความหมายของคำา แบ่ ง ออกเป็ น 3 ลั ก ษณะ ดังนี้ 1.คำา ที่ ม ี ค ว า ม ห ม า ย ต ร ง คื อ แปลความ หมายตามพจนานุกรม มี 2 ลักษณะ คือ 1.1 คำาที่มีความหมายเดียว เช่น กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 21. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 21 ตกลง หมายถึง ยิ น ยอมพร้ อ มใจ กัน ผลัด หมายถึง เปลียน ่ แกน หมายถึง วัตถุแข็งที่อยู่ส่วน กลาง โก่ง หมายถึง ทำาให้โค้ง 1.2 คำาที่มีหลายความหมาย เช่น ขัน หมายถึง ภาชนะตักนำ้า ผลัด ” ทำาให้ตึง ” แข็งแรง ขึ้น หมายถึง เน่าพอง (ศพขึน) ้ ” อ่ อ น น้ อ ม สั ง กั ด (เมืองขึ้น) ” ผุดโผล่ (ตะวันขึ้น) ” งอก (ต้นไม้ขึ้น) ” เพิ่ม (ขึ้นราคา) 2. คำา ที่ม ีค วาม หม ายนัย ประ ห วัด คือ คำา ที่ มีความหมายไม่ตรงตามศัพท์ แต่มีนัยให้เข้าใจ เป็นอย่างอื่น 3. คำา ที่ม ีค วามหมายเปรีย บเทีย บ (อุป มา) หรือ การใช้ส ำา นวนโวหารเช่น เสือ หมา ความ ปลา หมา ค ว า ม ยถึง ดุร้าย ซิว ยถึง ใจเสาะ ลิง หมา ความ ฤาษี หมา ค ว า ม กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 22. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 22 ยถึง ซน ยถึง สงบเสงียม ่ ค ว หมา ความ แก้ ว หมา เป็นที่รัก าย ยถึง โง่ ตา ยถึง ข้อ ควรจำา การใช้ค ำา ต้อ งให้ ตรงกับ ความหมาย และบริบ ท การใช้ภาษาในชีวิตประจำาวันนัน การใช้คำา ้ ที่ถูกต้องเหมาะสม ตามหลักไวยากรณ์และ ความหมายเป็นสิ่งทีสำาคัญที่จะสื่อความหมาย ่ ได้ตรงประเด็นตามจุดมุ่งหมายของผู้ส่งสาร หลักสำาคัญในการใช้คำาโดยสรุปมีดังนี้ 1. ใช้คำาให้ถูกตาม ตำาแหน่ง และหน้าที่ เช่น คำานาม คำา สรรพนาม ใช้ทำาหน้าที่เป็นประธาน กรรมของประโยค คำากริยา แสดงอาการ กระทำา ผู้เรียนต้องรู้จักว่าคำาใดควรอยู่ ในตำาแหน่งใดของประโยค 2. การเรียงลำาดับคำาหรือ พยางค์ให้ถูกต้อง ถ้าเรียงกลับกันความ หมายอาจเปลี่ยนไป เช่น ใจชำ้า- กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 23. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 23 ชำ้าใจ หนวกหู-หูหนวก กินอยู่-อยู่กน ิ เป็นต้น 3. ต้องรู้สึกเลือกใช้คำาให้ เหมาะกับกาลเทศะ ถึงแม้บางคำาจะมี ความหมายคล้ายคลึงกัน แต่ไม่สามารถ แทนทีกันได้ เช่น ภายในโรงฆ่าสัตว์ ่ ตลบอบอวล ไปด้วยกลิ่นซากสัตว์ ควร แก้ไขเป็นคละคลุ้ง 4. ใช้คำาให้ตรงกับความ หมาย ภาษาไทยมีคำามากมายที่มีความ หมาย คล้ายกัน บางคำามีความหมายแฝง อยู่ จึงจำาเป็นต้องเลือกคำาให้เหมาะสม และตรงความหมายมากที่สุด เช่น แล่ ฝาน ปอก ผ่า เฉือน เฉาะ สับ เป็นต้น สรุปง่าย ๆ คือ หลักของการใช้คำา ต้อง ใช้คำาให้ตรงความหมาย ตรง : ตรงตามพจนานุกรม คำา = ความหมายนัย : ตีความตามปริ บท แฝง : ซ่อนอารมณ์ และ ความรู้สึก แคบ กว้าง กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 24. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 24 ตัว อย่า งข้อ สอบบทที่ 2 การใช้ค ำา 1. คำาในข้อใดสามารถใช้ได้ทั้งความหมาย โดยตรงและโดยนัยทุกคำา 1. เข้าฌาน เข้าถึง เข้าเนื้อ 2. แก้ลำา แก้เผ็ด แก้เกี้ยว 3. ขึ้นหม้อ ขึ้นสาย ขึ้นชื่อ 4. คอแข็ง คอตก คอสูง 2. คำาในข้อใดทุกคำาในข้อใดมีทั้งความหมาย โดยตรงและเชิงอุปมา กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 25. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 25 1. ตกเบ็ด ลอยแพ ไหว้ผี เอียงซ้าย 2. จับตา ลอกคราบ นิ้วก้อย จับตาย 3. ติด ตา ลายคราม ขึ้น หิ้ง จับ เข่า 4. ปากนำ้า ตัดต่อ ร้อนตัว ตกข่าว 3. คำาว่า "ทิ้ง" ในข้อใดมีความหมายในตรง ทุกคำา 1. ทิ้งจดหมาย ทิ้งท้าย ทิ้งไพ่ 2. ทิ้ง ทาน ทิ้ง กระจาด เททิ้ง 3. ผ้าเนื้อทิ้ง ทิ้งทวน ทิ้งธุระ 4. ทิ้ง เพือน ทิ้งขว้าง ทิ้งตา ่ 4. ข้อใดใช้คำาแสดงความหมายแคบกว้าง ต่างกันได้อย่างเหมาะสม 1. เขาสนใจทั้งกีฬาและมวย 2. เขาชอบปลูกต้นไม้และไม้ผล 3. ฤดูน ี้ม ีผ ลไม้ม ากทั้ง เงาะและทุเ รีย น 4. ประชาชนและชาวนามาชุมนุมกัน มากมาย 5. ข้อใดไม่มีความหมายกว้างแคบอยู่ด้วยกัน 1. กิจวัตรประจำาวันของสาวิตรี ได้แก่ การ อ่านหนังพิมพ์ในเวลาเช้าและดูโทรทัศน์ใน เวลากลางคืน กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 26. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 26 2. การพกอาวุธ เช่น มีด ปืน ระเบิดขวด ใน ที่สาธารณะเป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทำา 3. การสอบคัด เลือ กเข้า มหาวิท ยาลัย เป็น โอกาสที่น ัก เรีย นจากโรงเรีย นต่า งๆ ได้แ ข่ง ขัน กัน 4. การเดินทางไปต่างจังหวัดในปัจจุบันนี้ เราสามารถเดินทางได้หลายวิธี เช่น โดยทาง เครื่องบิน รถไฟ รถยนต์ 6. ข้อใดใช้คำาถูกต้องตรงความหมาย 1. ผมว่ากรณีนี้ยังมีอะไรเคลือบแคลงอยู่อีก มาก 2. พนักงานคนใหม่พมพ์หนังสือตกหายไป ิ หลายวรรค 3. ระวัง กระเปา ให้ด ีๆ นะ อย่า ให้ใ คร ฉกชิง เอาไปได้ 4. อย่ามาพูดข่มขวัญคนอื่นเลย เธอน่ะชอบ บอกว่าตัวดีกว่าเพื่อนๆ อยู่เรื่อย 7. ข้อใดใช้ภาษาได้ถ ูก ต้อ ง 1. แม่ค้าขายส้มตำาไก่ย่างเป็นอาชีพที่มีราย ได้ดีและไม่ตกงาน 2. อาหารประเภทยำามีรสชาติเผ็ดร้อน กลมกล่อมถูกปากคนไทย กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 27. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 27 3. แม้ฐ านะของเราจะไม่ค ่อ ยดี พ่อ แม่ ก็ส ่ง เสีย ให้ล ูก ทุก คนได้เ รีย นจนจบ มหาวิท ยาลัย 4. แม้ว่าชื่อเสียงของพ่อจะไม่เป็นที่ประจักษ์ แก่สายตาผู้อื่น แต่ฉันก็ภูมิใจในตัวท่าน 8. ข้อใดใช้คำาไม่ตรงความหมาย 1. อาจารย์ปฐมท่านเป็นพหูสูต คุณอ่าน เรื่องอะไรไม่เข้าใจก็ถามท่านได้ทุกเรื่อง 2. คนสมถะอย่า งอาจารย์ช ัย นาท ใคร อย่า ไปขอร้อ งให้ท ำา อะไรเลย ท่า นไม่ ช่ว ยหรอก 3. บ้านเล็กๆ หลังนันอาจารย์พังงาอาศัยอยู่ ้ กับครอบครัวอย่างสันโดษ ไม่ค่อยติดต่อกับ ใคร 4. บ้านอาจารย์ประจวบเล็กและแทบจะไม่มี ของใช้ในบ้านเลย ท่านค่อนข้างอัตคัด 9. ข้อใดใช้คำาได้ถูกต้องตามความหมาย 1. เธอปักผ้าผิดจึงต้องเราะออกแล้วปักใหม่ 2. คุณปู่ขลิบผมไฟหลานคนแรกเมื่ออายุ ครบเดือน กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 28. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 28 3. เธอมีนำ้าตากลบตาเมื่อฟังข่าวเด็กถูกทิ้ง ถังขยะ 4. แม่บ อกลูก ว่า อย่า ปล่อ ยผมยาว รุ่ย ร่า ยเวลาไปโรงเรีย น 10. ข้อใดใช้คำาถูกต้องตรงความหมาย 1. วิชัยทำาผิดระเบียบของบริษัทเป็นครั้งแรก ผู้จัดการจึงยอมผ่อนผันให้ลงโทษเพียง ภาคทัณฑ์เท่านั้น 2. บ้านของเขาถูกเวนคืน จึงโยกย้าย ครอบครัวไปอยู่กับน้องชายที่ต่างจังหวัด 3. พอได้ฤกษ์ทำาพิธีเปิดร้านใหม่ ฝนก็ตก ประปรายลงมาพอดี 4. คุณ แม่ค ัด เลือ กมะม่ว งผลงามๆ ไว้ ทำา บุญ ตอนเช้า 11. คำาในข้อใดเหมาะสมที่จะใช้เติมในช่อง ว่างต่อไปนี้ “เธอ…พวกเพื่อนๆ ที่พากัน…เสนอผลงาน ให้เจ้านายโดยไม่รอเธอ เธอเสียใจมากแทบ อยากจะ…เพือนๆ จนฉันต้องเป็นฝ่าย… ่ เหตุการณ์จึงค่อยสงบลง” 1. ตัดรอน ตัดตอน ตัดทาง ตัดประเด็น 2. ตัด พ้อ ตัด หน้า ตัด ขาด ตัด บท กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 29. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 29 3. ตัดรอน ตัดหน้า ตัดญาติขาดมิตร ตัด ประเด็น 4. ตัดพ้อ ตัดบท ตัดรอน ตัดตอน 12. ข้อใดไม่มีคำาพ้องความหมาย 1. ไอยรา ราชสีห์ กุญชร 2. ลำาธาร ชลาสินธุ์ มัจฉา 3. เทเวศร์ อัจฉรา สุรารักษ์ 4. สิง ขร เวหาสน์ วนาดร บทที่ 3 คำา ไทยแท้แ ละคำา ยืม ภาษาต่า งประเทศ คำา ไทยแท้ หลัก การสัง เกตคำา ไทยแท้ 1. คำาไทยแท้ส่วนมากมีพยางค์เดียว เช่น กิน นอน วิ่ง ผัด จิก เคียว ไล่ ตี ้ ฉัน ข้า เขา เจ้า ท่าน มัน แก พ่อ แม่ พี่ กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 30. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 30 น้อง ลูก ดิน นำ้า ไฟ ตา หู ปาก ดี ขาว สูง หอม กลม หนา แบน ใน นอก บน อ่าง ริม และ กับ แต่ ต่อ ถ้า แม้ จึง ฯลฯ 2. คำาไทยแท้ส่วนใหญ่มักมีคำากร่อนเสียง คำากร่อนเสียงเหล่านี้เป็นคำาไทยแท้ เช่น ฉะนัน กร่อนมา ฉันนัน ้ ้ จาก ตะขบ กร่อนมา ต้นขบ จาก ตะเคียน กร่อนมา ต้นเคียน จาก ตะขาบ กร่อนมา ต้นขาบ จาก มะพร้าว กร่อนมา หมากพร้าว จาก มะตูม กร่อนมา หมากตูม จาก มะปราง กร่อนมา หมากปราง จาก ตะวัน กร่อนมา ตาวัน จาก ตะปู กร่อนมา ตาปู จาก สะดือ กร่อนมา สายดือ จาก สะใภ้ กร่อนมา สาวใภ้ จาก 3. คำาไทยแท้มีตัวสะกดตรงตามมาตรา แม่กก ใช้ เช่น ผัก รัก “ก” สะกด มาก ลาก จาก ฯลฯ กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 31. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 31 แม่กบ ใช้ เช่น ดับ ตับ สูบ “บ” สะกด ทุบ ยุบ พบ ฯลฯ แม่กด ใช้ เช่น มัด รัด ฟัด “ด” สะกด จุด สุด ชุด ฯลฯ แม่กง ใช้ เช่น วัง มุง ลุง “ง” สะกด ชั่ง นาง ฯลฯ แม่กน ใช้ เช่น เรือน ลาน “น” ฟัน ปาน ฯลฯ สะกด แม่กม ใช้ เช่น ผม ลม สม “ม” สะกด ปูม เข็ม งม ฯลฯ แม่เกย เช่น หาย ควาย ใช้ “ย” ลาย นาย สวย สะกด ฯลฯ แม่เกอว เช่น ผิว ดาว ใช้ “ว” แมว ข้าว เหว สะกด ฯลฯ ข้อ ควรระวัง กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 32. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 32 บางคำาสะกดตรงตามมาตราก็ไม่ใช่ไทยแท้ เช่น โลก มาจาก บาลี สันสกฤต กาย มาจาก บาลี สันสกฤต ยาน มาจาก บาลี สันสกฤต พน มาจาก บาลี สันสกฤต ชน มาจาก บาลี สันสกฤต มน มาจาก บาลี คำาเขมร มีดังนี้ จมูก เดิน จะบันหมาก ทะเลสาบ ละออง บายศรี เลอโฉม ดินสอ ปล้นสะดม เขลา ฯลฯ 4. คำาไทยแท้ไม่มการันต์ ี คำาที่มีตัวการันต์มาจากภาษาอื่น ยกเว้น 4 คำานี้ (แม้มีตัวการันต์ก็เป็นไทยแท้) ผีว์ บ่าห์ เยียร์ อาว์ 5. คำาไทยแท้มกปรากฏรูปวรรณยุกต์ ั แต่มีอีกมากมายที่ไม่ปรากฏรูปวรรณยุกต์ เช่น กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 33. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 33 พอ พ่อ พ้อ แม แม่ แม้ เสือ เสื่อ เสื้อ ปา ป่า ปา 6. คำาไทยแท้มกไม่ปรากฏพยัญชนะต่อไปนี้ ั ฆ ณ ญ ฏ ฑ ฒ ฎ ธ ศ ษ ฬ ยกเว้นบางคำาเป็นไทยแท้ เช่น หญิงใหญ่ ณ ระฆัง ฆ่า เฆี่ยน ศอก เศิก ศึก ธ เธอ 7. คำาไทยแท้ใช้ “ใ ” 20 ตัว คือ ผู้ใหญ่หาผ้าใหม่ ให้สะใภ้ใช้คล้อง คอ ใฝ่ใจเอาใส่ห่อ มิหลงใหลใครขอดู จะใคร่ลงเรือใบ ดูนำ้าใสและปลาปู สิ่งใดอยู่ในตู้ มิใช่อยู่ใต้ตั่งเตียง บ้าใบ้ถือใยบัว หูตามัวมาใกล้เคียง เล่าท่องอย่าละเลียง ่ ยี่สิบม้วนจำาจงดี กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 34. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 34 คำา บาลี – สัน สกฤต ภาษาบาลี มีพยัญชนะ 33 ตัว สระ 8 ตัว คือ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ภาษาสันสกฤต มีพยัญชนะ 35 ตัว (เพิ่ม ศ,ษ) สระ 18 ตัว (เพิ่ม ไอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ) 1 2 3 4 5 ฐาน ก ข ค ฆ ง คอ ฐาน จ ฉ ช ฌ ญ เพดา น ฐาน ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ปุ่ม เหงือ ก ฐาน ต ถ ท ธ น ฟัน ฐาน ป ผ พ ภ ม ริม ฝีปา กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 35. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 35 ก เศษ ย ร ล ว ส ห ฬ o วรรค สู ต ร ยายเราเล่าว่าเสือหิวฬา กตากลม า ร จ ำำ หลัก การสัง เกตคำา บาลี - สัน สกฤต 1. สัง เกตสระ คำาใดประสมด้วย ไอ เอา ฤ ฤา ฦ ฦา เป็นคำาสันสกฤต (เพราะบาลีไม่มสระ ี เหล่านี้) เช่น ไวทย ฤษี เอารส ไมตรี เสาร์ เยาวชน นฤมล พฤศจิกายน ไอศูรย์ ฤดู ไปรษณีย์ ฯลฯ 2. สัง เกตพยัญ ชนะ คำาใดประสมด้วย ศ ษ เป็นคำาสันสกฤต เช่น ภิกษุ ศาสนา พิษณุ กษัย พฤษภาคม ราษฎร รัศมี เกษตร มหัศจรรย์ ศักดิ์ ฯลฯ กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 36. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 36 3. สัง เกตคำา ควบกลำ้า คำาใดมีคำาควบกลำ้า เป็นคำาสันสกฤต (เพราะบาลีไม่นิยมควบกลำ้า) เช่น ประถม จักร ปราชญ์ อัคร อินทร์ บุตร เนตร สตรี ราตรี จันทรา นิทรา กษัตริย์ ฯลฯ 4. สัง เกต “รร” คำาใดที่มี “รร” เป็นคำา สันสกฤต (เพราะบาลีไม่มี “รร”) เช่น ธรรม จรรยา พรรษา สรรพ กรรม สวรรค์ วิเคราะห์ ฯลฯ 5. สัง เกต “เคราะห์” คำาใดที่มี “เคราะห์” เป็นคำาสันสกฤต เช่น อนุเคราะห์ สังเคราะห์ สงเคราะห์ ฯลฯ 6. สัง เกต ตัว สะกด ตัว ตาม คำาใดมีตัวสะกด แล้วมีอักษรตามมา 1 ตัว (เบิ้ล) มาจาก บาลี ตัวสะกดตัวตามต้องเป็นพยัญชนะวรรค เดียวกันจะเป็นไปตามกฎนี้ 6.1 พยัญชนะแถวที่ 1 เป็นตัวสะกด พยัญชนะวรรคแถวที่ 1 หรือ 2 ในวรรค เดียวกันตาม เช่น สัจจะ สัตตะ อัตตะ สักกะ รุกข ปัจฉิม ทุกข์ บุปผา ฯลฯ กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 37. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 37 6.2 พยัญชนะแถวที่ 3 เป็นตัวสะกด พยัญชนะวรรคแถวที่ 3 หรือ 4 ในวรรค เดียวกันตาม เช่น วิชชา อัคคี พยัคฆ์ พุทธ วัทฒน อัชฌาศัย ฯลน 6.3 พยัญชนะแถวที่ 5 เป็นตัวสะกด พยัญชนะวรรคแถวไหนก็ได้ในวรรค เดียวกันตาม เช่น สังกร องค์ สงฆ์ กัณฑ์ จันทนา บัญญัติ ฯลฯ 6.4 เศษวรรคสะกดตามตัวเอง เช่น เวสสันดร วัลลภ อัยยิกา ฯลฯ หมายเหตุ ภาษาสันสกฤตมีตัวสะกดตัวตามก็จริง แต่ไม่ เป็นไปตาม 6.1 – 6.3 เช่น อัคนี มุกดา รักษา วิทยา สัตว์ อาชญา ฯลฯ คำา เขมร หลัก การสัง เกตคำา เขมร 1. คำาเขมรมักสะกดด้วย จ ญ ล ร ส ย และมัก จะไม่มีตัวตาม กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 38. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 38 สูต รการจำา จาน หญิง ลิง เรือ เสือ จ สะกด เช่น อำานาจ เสร็จ สมเด็จ ตำารวจ ฯลฯ ญ สะกด เช่น เพ็ญ เผอิญ สำาราญ ผจญ ครวญ ชำานาญ ฯลฯ ล สะกด เช่น กังวล ถกล ถวิล ดล ดาล จรัล กำานัล ฯลฯ รสะกด เช่น ขจร อร กำาธร ควร ฯลฯ ส สะกด เช่น ดำารัส จรัส ตรัส ฯลฯ 2. คำาที่มาจากเขมรมักเป็นคำาควบกลำ้า เช่น กรวด กระบือ เกลือ ขลาด กระแส ไพร ตระกอง โปรด กราน กรม กระทรวง กระเพาะ โขลน ฯลฯ 3. คำาที่มาจากเขมรมักใช้อักษรนำา เช่น โฉนด เขม่า ขนอง ขลาด เขลา จมูก ถวาย ฉนำา เฉลียง ถวาย ขนุน ขยำา ฉลู ฯลฯ 4. คำาที่มาจากเขมร มักขึ้นต้นด้วย บัง บัน บำา (เพราะมาจาก บ เติมคำาหน้า) เช่น บัง บังควร บังอาจ บังคม บังคับ บังเกิด บัน บันทึก บันเทิง บันดาล บันได บำา บำาเพ็ญ บำานาญ บำาเหน็จ บำาบัด กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 39. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 39 5. คำาที่มากจากเขมรมักขึ้นต้นด้วย กำา คำา จำา ชำา ดำา ตำา ทำา สำา อำา เช่น กำาหนด คำารบ จำาแนก ชำานาญ ชำารุด ดำาเนิน ดำารัส ตำารวจ ตำารา ทำานบ สำาราญ อำานวย ฯลฯ ข้อสังเกต ภาษาบาลี, สันสกฤต และเขมร มัก ไม่มีวรรณยุกต์กำากับ คำา ยื ม จ า ก ภ า ษ า จี น แ ล ะ ภ า ษ า ช ว า การเขียนคำาที่มาจากภาษาจีน และภาษาชวา ใช้หลักง่าย ๆ คือ เขียนรูปตามเสียงที่ออก หรือได้ยินโดยใช้ ตัวสะกดตรงตามมาตรา และมักใช้รูป วรรณยุกต์กำากับเสียง คำา ยืม จากภาษาตระกูล ยุโ รป 1. ใช้ศ ัพ ท์บ ัญ ญัต ิ คือ การกำาหนดคำาไทย บาลี สันสกฤต หรือเขมร ที่มีความหมาย หรือ สื่อความหมาย เหมือนศัพท์คำาเดิม อาจใช้ในการ แปลคำาศัพท์ หรือสร้างคำาศัพท์ก็ได้ กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 40. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 40 เช่น vision - วิสยทัศน์ ั bus - รถโดยสารประจำาทาง stamp - ดวงตราไปรษณียากร 2. การทับ ศัพ ท์ คือ การถอดรูปอักษรจาก ต้นฉบับเป็นอักษรไทย ยึดหลักตามราชบัณฑิต สภา ดังนี้ 2.1 ถอดรูปอักษรตัวต่อตัวตาม แนวเทียบ มักไม่ใช้รูปวรรณยุกต์ เช่น clinic – คลินก ิ computer – คอมพิวเตอร์ dollar – ดอลลาร์ guitar – กีตาร์ 2.2 คำาบางคำาที่เคยใช้รูป วรรณยุกต์อนุโลมให้ใช้ได้ เช่น แท็กซี่ ท็อฟฟี่ เค้ก เป็นต้น 3. ศัพ ท์เ ทคนิค หรือ ชื่อ เฉพาะ สามารถ ใช้ทับศัพท์ได้ แต่ยึดหลักการใช้แนวเทียบตัว อักษร กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 41. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 41 อ้า งอิง ประสิทธิ์ กาพย์กลอน และไพบูลย์ ดวงจันทร์, 2527, ความรู้เกี่ยวกับภาษาไทย, กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช ราชบัณฑิตยสถาน, 2539, พจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525, กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์ อุปกิตศิลปสาร, 2531, หลักภาษาไทย, กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 42. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 42 ตัว อย่า งข้อ สอบเรื่อ งคำา ไทยแท้แ ละคำา ยืม ภาษาต่า งประเทศ 1. ข้อใดเป็นคำาไทยแท้ทุกคำา (O-Net 49) 1. รู้กนเพิ่มพลังงาน ิ รู้อ่านเพิ่ม กำาลังปัญญา 2. นำ้ามันขาดแคลน คุยกับแฟนก็ต้อง ดับไฟ 3. รัก บ้า นต้อ งล้อ มรั้ว รัก ครอบครัว ต้อ งล้อ มรัก 4. ภาษาบอกความเป็นชาติ เอกราช บอกความเป็นไทย 2. ข้อใดไม่มีคำาที่มาจากภาษาเขมร (A- Net 49) 1. โปรดเอื้อเฟื้อแก่เด็กและคนชรา 2. เราจะไปรับ หลานสาวที่ส ถานีบ างซื่อ 3. นวนิยายเรื่องนี้ดำาเนินเรื่องได้กระชับดี 4. เขาเป็นคนเจ้าสำาราญมาตั้งแต่ยังหนุม ่ 3. ข้อใดไม่มีคำาที่มาจากภาษาบาลีหรือภาษา สันสกฤต (ข้อสอบ O NET 2551) 1. เราต้องใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง 2. อย่าเลี้ยงลูกให้เป็นเทวดา กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 43. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 43 3. ชื่อ ของเขาอยู่ใ นทำา เนีย บรุ่น 4. ภรรยาของเขาทำางานอยู่ที่นี่ 4. ข้อใดมีคำาที่มาจากภาษาต่างประเทศมาก ที่สุด (กข/2540) 1. จ ง เ จ 2. ปราชญ์ แ สดง ริ ญ ช เ ย ศ ด้ ว ย ดำาริด้วย ไตรยางศ์ เดชะ 3. อ้ า จ อ ม 4. บั ณ ฑิ ต วิ นิ จ จั ก ร พ ร ร ดิ ผู้ เลิศ แถลงสาร เพ็ญยศ 5. คำาประพันธ์ต่อไปนี้คำายืมมาจากภาษาต่าง ประเทศรวมกี่คำา (สามัญ 2/2539) “บำา รุง บิด ามา ตุร ะด้ว ยหทัย ปรีย ์ หากลูก และเมีย มี ก็ถ นอมประหนึ่ง ตน” 1. 5 2. 6 3. 7 คำา 4. 8 คำา คำา คำา 6. คำาซ้อนทุกคำาในข้อใดเกิดจากคำาไทย ทั้งหมด (สามัญ 1/2541) 1. ภูเขา ข้าทาส 2. ข้าวของ มูลค่า 3. แก่นสาร กาลเวลา 4. แก่เ ฒ่า หยาบช้า 7. ข้อใดใช้คำาภาษาต่างประเทศโดยไม่จำาเป็น (2/2543) กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 44. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 44 1. เมื่อไฟดับควรตรวจดูว่าเป็น เพราะฟิ วส์ ขาดหรือปลั๊กหลุด 2. เ ด็ ก ๆ ช อ บ รั บ ป ร ะ ท า น ไ อ ศ ก รี ม ช็อกโกแลตมากกว่าไอศกรีมกะทิสด 3. ก่ อ น เ ข้ า แ บ ง ก์ ผู้ ขั บ ขี่ ร ถ จัก รยานย นต์ ต้อ งถ อดห ม วก กัน น็อ ก และ แว่น ตาดำา ออก 4. นักกอล์ ฟ หลายคน อยากเปลี่ยนวงสวิ ง ให้ ค ล้ า ยกั บ ไทเกอร์ วู ด ส์ เพื่ อ ให้ ตี ลู ก ได้ แ ม่ น และไกล 8. ข้อใดจำาเป็นต้องใช้คำาทับศัพท์ภาษาต่าง ประเทศ (1/2544) 1. โรงพิ ม พ์ ส่ ง งานพิ ม พ์ ม าให้ ต รวจปรู๊ ฟ ที่ สองแล้ว 2. ห้ า งสรรพสิ น ค้ า ที่ เ ปิ ด ใหม่ มั ก จะมี ข อง แถมแจกฟรีแก่ลูกค้า 3. นั ก ศึ ก ษาที่ เ รี ย นได้ เ กรดเอ ห้ า วิ ช าใน เทอมใดจะได้ รั บ การยกเว้ น ค่ า หน่ ว ยกิ ต ใน เทอมต่อไป 4. นั ก กี ฬ า วี ล แ ช ร์ ข อ ง ไ ท ย ไ ด้ เ ห รี ย ญ ท อ ง จ า ก ก า ร แ ข่ ง ขั น กี ฬ า ค น พิ ก า ร ที่ ประเทศออสเตรเลีย กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 45. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 45 9. ข้อใดใช้คำาภาษาต่างประเทศ โดยไม่จำาเป็น (2/2544) 1. เวลาไปเที่ยวป่า ฉันชอบสวมกางเกงยีน ส์และหมวดแก๊ป 2. ขณะนี้ นำ้า มั น เบนซิ น ราคาแพงมาก อี ก ทั้งแก๊สก็กำาลังขึ้นราคา 3. พ อ ถึ ง ส น า ม ห ล ว ง ค น ขั บ ร ถ เ ม ล์ เหยีย บเบรกกะทัน หัน จนเราหัว คะมำา 4. ที่ ทำา งานของฉั น กำา ลั ง ซ่ อ มลิ ฟ ต์ ที่ ห้ อ ง ทำางานก็ต้องซ่อมสวิตช์ไฟด้วย 10. ข้อใดจำาเป็นต้องใช้คำาต่างประเทศ (O-Net 49) 1. ราคานำ้า มัน ดีเ ซลและเบนซิน ขึ้น ๆ ลง ๆ ตามกลไกการตลาด 2. รัฐบาลประกาศกำาจัดคอร์รัปชั่นให้ หมดไปจากประเทศไทย 3. ยักษ์ใหญ่มือถือทุ่มโปรโมชั่นใหม่ ๆ เฉือนกันดุเดือน 4. เวลาขับรถต้องคาดเซฟตีเบลต์ทุกครั้ง 11. ข้อใดเขียนคำาทับศัพท์ภาษาอังกฤษได้ ถูกต้องทุกคำา (O-NET 50) กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 46. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 46 1. เปอร์เซ็น พลาสติค คลินิก 2. ซอส เต็น ท์ เบนซิน 3. กร๊าฟ ช้อค สปริง 4. สวิตซ์ เชิ้ต ดีเปรสชั่น 12. ข้อใดไม่มีคำาภาษาไทยแทนคำาภาษาต่าง ประเทศ (O-NET 50) 1. วัยรุนส่วนใหญ่ชอบร้องเพลงฮิตติด ่ อันดับ 2. รัฐบาลมีโปรเจ็กต์พัฒนาชนบท มากมาย 3. พ่อค้ารับออร์เดอร์สั่งสินค้าจากอเมริกา 4. ปัจ จุบ ัน อิน เทอร์เ น็ต มีค วามจำา เป็น อย่า งยิ่ง กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 47. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 47 บทที่ 4 การสร้า งคำา 1. คำา ประสม หมายถึง การเอาคำามารวมกัน ให้เกิดความหมายใหม่ (คำาประสม = คำาต้น + คำาเติม) - คำาประสมจะมีความหมายโดยตรงหรือโดย นัยก็ได้ - คำาประสมเกิดจากคำาต่างชนิดรวมกันเมื่อปะ สมกันแล้วอาจเป็นคำาชนิดเดิมหรือชนิดใหม่ ก็ได้ เช่น แม่(นาม) + พริก(นาม) = นำ้าพริก (นาม) ห่อ (กริยา) + หมก (กริยา) = ห่อหมก (นาม) - ถ้าขึ้นต้นด้วย การ ของ เครื่อง ควา ช่าง ชาว ผู้ ที่ นัก หมอ มักเป็นคำาประสม 2. คำา ซ้อ น มี 2 ประเภท 2.1 คำาซ้อนเพื่อความหมาย มี 3 ลักษณะ กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 48. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 48 (1) คำาซ้อนที่เกิดจากการนำาคำาที่ค วาม หมายเหมือ นกัน มาซ้อนกัน เช่น ใหญ่โต สวยงาม บ้านเรือน ทรัพย์สน ข้อ สอบชอบ ิ ออกคำา ซ้อ นภาษาไทยภาษาถิ่น เช่น พัดวี ทองคำา เสื่อสาด เป็นต้น (2) คำาซ้อนที่เกิดจากการนำาคำาที่ค วาม หมายคล้า ยกัน มาซ้อนกัน เช่น เงินทอง เพชร พลอย หน้าตา แขนขา (3) คำาซ้อนที่เกิดจากการนำาคำาที่ค วาม หมายตรงข้า มกัน มาซ้อนกัน เช่น เป็นตาย ร้ายดี ถี่ห่าง 2.2 คำาซ้อนเพื่อเสียง ต้องมีพยัญชนะต้นเป็น เสียงเดียวกันโดยที่แต่ละคำาจะมีความหมายหรือ ไม่มีก็ได้ เช่น เกะกะ งอแง จอแจ เจียวจ๊าว เตาะแตะ ๊ ฟูมฟาย อึดอัด ฯลฯ คำาซ้อนจะมีความหมาย กว้างขึ้นแคบลง คง เดิม หรือเปลี่ยนไปก็ได้ 3. คำา ซำ้า หมายถึง การใช้คำาเดิมซำ้ากันสอง ครั้ง คำาที่ใช้ซำ้าสามาถแทนด้วยไม้ยมก (ๆ) ได้ กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 49. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 49 ความหมายของคำาซำ้า ได้แก่ บอกลักษณะ บอกพหูพจน์ เพิ่มจำานวน บอกความถี่(ความต่อ เนือง) ไม่เจาะจง อ่อนลง เน้นยำ้า เปลียนความ ่ ่ หมาย 4. คำา สมาส เป็นการสร้างคำาแบบบาลีลันสก ฤต โดยแบ่งเป็น 2 วิธี คือ สมาสแบบไม่มี สนธิ(ชนคำา) และสมาแบบมีสนธิ (เชื่อมคำา) กฎของคำาสมาสมี 3 ข้อ 1. คำาทีนำามาสมาสกันต้องเป็นคำาบาลีสัสนก ่ ฤตเท่านั้น 2. แปลความหมายจากหลังไปหน้า 3. อ่านออกเสียงต่อเนื่องระหว่างคำา 4.1 คำา สมาสแบบไม่ม ีส นธิ (ชนคำา ) เช่น คุณธรรม (คุณ+ธรรม) ราชการ (ราช +การ) สัตวแพทย์(สัตว์ + แพทย์) ชีววิทยา (ชีวะ+วิทยา) ถ้าเจอคำาใดที่ลงท้ายด้วย ธรรม ศาสตร์ สถาน ศึกษา กิจ กรรม วิทยา กร ภาพ ศิลป์ การ ภัย = มักเป็นคำาสมาสแบบไม่มีสนธิ 4.2 คำา สมาสแบบมีส นธิ (เชื่อ มคำา ) ***โจทย์เน้นเฉพาะ สระสนธิ เท่านัน ้ กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 50. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 50 1. สระสนธิ เช่น ชลาลัย (ชล+อาลัย) ปรมิ นทร์ (ปรม+อินทร์) ราชูปถัมภ์ (ราช+อุปถัมภ์) จุฬาลงกรณ์ (จุฬา +อลงกรณ์) สุริยโยทัย (สุริยะ+ อุทัย) 2. พยัญชนะสนธิ จำาเป็นคำาไปเลยเพราะมีแค่ ไม่กี่คำา ได้แก่ พรหมชาติ อาตมภาพ รโหฐาน มโนภาพ เตโชธาตุ นิรทุกข์ นิรภัย ทุรชน ทรชน ฯลฯ 3. นิคหิตสนธิ สังเกตคำาที่ขึ้นต้นด้วย สง สัง สัม สัญ สัณ สมา สมุ สโม กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 51. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 51 ตัว อย่า งข้อ สอบบทที่ 4 เรื่อ งการสร้า งคำา 1. คำาประสมทุกคำาในข้อใดมีโครงสร้างเหมือน คำาว่า “เครื่องซักผ้า” (O-NET 50) 1. ผ้าขาวม้า หม้อหุงข้าว 2. แปรงสีฟน ตู้ ั กับข้าว 3. รถไถนา นำ้าพริกเผา 4. ยาหยอดตา ไม้จ ิ้ม ฟัน กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 52. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 52 2. ข้อใดเป็นคำาประสมทุกคำา (O-Net 49) 1. บ้านเรือน พ่อแม่ ลูก หลาน 2. ขาดเหลือ บ้านนอก อ้วนพี 3. ห่อหมก ชั่วดี บ้านพัก 4. กล้ว ยไม้ เสื้อ คลุม แผ่น เสีย ง 3. ข้อความต่อไปนี้มีคำาประสมจำานวนเท่าใด (ไม่นับคำาซำ้า) “ปัจจุบันสินค้าต่าง ๆ ที่ขายได้ ไม่ได้ขาย ด้วยคุณภาพอย่างเดียวแล้ว แต่ขายด้วยภาพ ลักษณ์ ที่ดีด้วย นันหมายความว่าห้างนัน ่ ้ บริษัทนันมีชื่อเสียงดี มีสนค้าดี มีภมิหลังดี ้ ิ ู และสินค้านันเป็นทีน่าเชื่อถือในวงการค้า” ้ ่ 1. 4 คำา 2. 5 คำา 3. 6 คำา 4. 7 คำา 4. ข้อความต่อไปนี้มีคำาซ้อนกี่คำา (O-Net 49) การระเบิดของภูเขาไฟทำาให้หินร้อน จากใต้พิภพดันตัวขึ้นมาเหนือผิวโลก ก่อ ให้เกิดคลื่นยักษ์ถาโถมเข้าทำาลายบ้านเรือน กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 53. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 53 และชีวิต ท้องทะเลปั่นป่วน ท้องฟามืดมิด ทำาให้ผู้คนหวาดกลัวคิดว่าโลกจะแตก 1. 4 คำา 2. 5 คำา 3. 6 คำา 4. 7 คำา 5. ข้อใดไม่มีคำาซ้อน (ฉบับตุลาคม 2546) 1. ธรรมดาเกิดมาเป็นสตรี ชั่วดีคงได้คู่มา สู่สม 2. ตาปะขาวเฒ่าแก่แซ่กันมา พร้อมนั่ง ปรึกษาที่วัดนั้น 3. ได้ถือนำ้าพระพิพัฒน์สัจจา จะหลบลี้หนี หน้าไปทำาไม 4. แสนรโหโอฬาร์น ่า สบาย หญิง และ ชายต่า งกลุ้ม ประชุม กัน 6. ข้อใดไม่มีคำาซ้อน (๒/๒๕๔๕) 1. หน้าตาของสลวยดูสดใสขึ้นเมื่อทราบ ข่าวคนรักของเธอ 2. สาลินไม่รู้จกมักคุนกับอัศนีย์แต่เขาก็มา ั ้ ชวนเธอทำางาน 3. รจนาตกอยู่ใ นวัง วนของความทุก ข์ ที่ด ูจ ะหาทางออกไม่ไ ด้ 4. กนกเรขาไม่เดือดร้อนที่คนเข้าใจผิด เรื่องการทำางานของเธอ กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 54. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 54 7.ข้อใดเป็นคำาซ้อนทุกคำา(A-NET 50) 1. ลอดลายมังกร สิงห์สาราสัตว์ นำ้าท่า 2.โมโหโกรธา ดั้งเดิม ปางก่อน 3.เสกสรร เก็บ งำา บาปบุญ คุณ โทษ 4.วิชาความรู้ ข้าวปลาอาหาร แม่ไม้ มวยไทย 8.ข้อใดมีคำาที่สลับคำาแล้วไม่เป็นคำาซ้อน(A- NET 50) 1. ปนปลอม ยียวน 2. ร่อนเร่ เลือนราง 3. ทนทาน โลมเล้า 4. กลับ กลอก ลอกเลีย น 9. ข้อใดไม่มีคำาซ้อน (O-NET 50) 1. กินข้าวเสร็จแล้วต้องช่วยกันเก็บถ้วยชาม ให้เรียบร้อย 2. ประชาชนกำาลังยื้อแย่งกันซื้อเสื้อเหลืองที่ เมืองทองธานี 3. เด็กวัยรุ่นทุกวันนี้ชอบกินเหล้าเมายา ประพฤติตนเหลวแหลก 4. รัฐ บาลยอมให้ร าคานำ้า มัน ลอยตัว ได้ จึง ทำา ให้น ำ้า มัน มีร าคาแพง กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง
  • 55. เอกสารประกอการสอนเสริม วิช าภาษาไทย หน้า ที่ 55 10. ข้อใดมีทั้งคำาซ้อนและคำาประสม (A- Net 49) 1. ของของใคร ของใครก็ห่วง ของใคร ใครก็ต้องหวง ห่วงใยรักใคร่ถนอม 2. ชอบไหม ชอบไหม รูปร่างหน้าตา อย่างนี้ ถามหน่อยเถอะพี่ ชอบไหม ชอบไหม 3. น้อ งเปิ้ล น่า รัก น้อ งเปิ้ล น่า รัก ผม เหงาอ้า งว้า งเปล่า เปลี่ย ว ผมอยู่ค น เดีย วในความมืด 4. ไก่ไหมครับไก่ ซื้อไหมครับ จะกลับ แล้วไก่ ไก่ขายถูกถูกแถมกระดูกกับไม้ เสียบไก่ 11. ข้อใดไม่ใช้คำาซำ้า (A-Net 49) 1. มีความเหงาเยียบเย็นเป็นที่อยู่ วันวันรับรู้การไหลผ่าน 2. เยียมเยี่ยมมองมองแล้วร้องว่า ่ อะไรนี่บ่นบ้าน่าหนวกหู 3. สงสารใจใจเจ้า เอ๋ย ไม่เ คยว่า ง ทุก ก้า วย่า งหยุด ใจไม่ไ ด้ห นอ 4. ปูน้อยน้อยวิ่งร่อยตามริมหาด กลุ่ม สาระการเรีย นรูภ าษาไทย ้ โรงเรีย นประชาบำา รุง