SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 68
Descargar para leer sin conexión
การบริ ห ารวิ ช าการ
PART 1
KKU in the   5th   Decade
KKU Vision in the   5th   Decade




                                   4
KPIs for Research and International University



  • International programs
  • International students (Full-time;
    undergraduate/postgraduate)
  • International faculty staff/International
    visiting scholars
  • International exchanged students and
    staff (inbound & outbound)
                                                 5
KPIs for Research and International University


  • Research papers presented at the
    international conferences
  • Research papers published in the
    international peer review journals
  • Research citing items founded in the
    international standard citation indexes
  • Research products which are innovative,
    problem solutions and commercialization

                                                 6
KPIs for Research and International University


  • Faculty staff with high qualifications, both
    educational backgrounds and academic
    performances
  • Faculty staff with high potential in both teaching
    and research
  • Faculty staff with the courage of self appearance
    in the international academic arena
  • Faculty staff who are known at national-->
    international level in his/her field of expertise

                                                         7
KPIs for Research and International University



  • Graduates who are well equipped with the
    knowledge and skills for new workplaces’
    environments
  • Graduates who are well prepared for the
    adaptation to globalization (global citizens)
  • Graduates who will be well accepted to
    work and study in the international
    workplaces/education

                                                    8
THEs-QS University Rankings 2009- Thai Universities


                             World Rankings


N o.        University       2008      2009
 1     Chulalo ngko rn       166       138
 2     Mahido l              251       220
 3     Chiang Mai            410       400+
 4     Thammasat             480       400+
 5     Kasetsart             400       400+
6      Khon Kaen             528     501- 600
 7     Prince of So ngkhla   578       501-
                                       600




                                                      9
THEs-QS University Rankings 2009- Thai Universities

                           University    Arts &         Life       Natural   Social       IT &
No.       University                    Humanities   Sciences &    Science   Science   Engineering
                                                     Biomedicine      s         s
1     Chulalongkorn           35           10            12          30        10          24
2     Mahidol                 30           45            20          54        56          72
3     Chiang Mai              81           54            72          61        62          68
4     Thammasat               85           28            86           -        33          75
5     Kasetsart              108           100           60          65        82          78
6     Prince of Songkhla     109           91            77          93        73          90
7     Khon Kaen              (118)         93            78          83        94           -
                             -113
8     Burapa                 151            -             -           -         -           -




                                                                                                 10
THEs-QS University Rankings 2009- Thai Universities
No.    University            Academic   Recruiter   Student-   Papers    Citations   International International   Student    Student
                               Peer     Review      Faculty     Per        Per         Faculty       Student       Exchang   Exchange
                             Reviews                 Ratio     Faculty    Paper        Review        Review          e       Outbound
                                                                                                                   Inbound
  1    Chulalongkorn           14(1)      19(1)      69(3)     206(4)     93(3)        149(7)         247(3)       140(5)     108(3)
  2    Mahidol                 47(2)      39(2)      27(2)     198(3)     30(1)         74(3)         131(1)        36(1)     139(4)
  3    Chiang Mai              64(4)      79(6)      193(6)    224(5)     73(2)         49(2)         263(5)          -          -
  4    Thammasat               61(3)      41(3)      122(4)    274(8)     154(9)        234           274(7)          -
  5    Kasetsart               80(5)      41(3)      240(8)      -         182          30(1)         293(8)        68(2)     160(5)
  6    Prince of Songkhla      91(6)      68(5)      195(7)    255(6)     151(8)       154(8)          316         132(4)      63(1)
  7    Khon Kaen              101(7)     81(7)       175(5)    259(7)     133(5)       172(9)         242(2)        87(3)      70(2)
  8    Burapha                  -                    18(1)      330       110(4)        247           251(4)          -          -
  9    Suranaree               173        160         363      140(1)      175            -              -            -          -
 10    Silpakorn               203        145          -         -         238            -              -            -          -
 11    KMUTT                    -         160         303      177(2)      300          75(4)          343         217(6)     199(6)
 12    Naresuan                 -          -          314       305       145(7)       132(5)         313(9)       222(7)     230(7)
 13    MaeJo                    -          -          335       318         -           206              -            -          -
 14    Mahasarakham             -          -          382        -          -          135(6)         266(6)          -          -
 15    Loei Rajabhat            -          -          387       377         -           171            347            -          -
 16    Walailak                 -          -           -        317        199            -              -            -          -
 17    Rajamagala U ofTech      -         160          -         -          -             -              -            -          -
 18    Srihakarindwirot         -          -           -         -        135(6)          -              -            -          -
 19    Ubon Rachathani          -          -           -         -         224            -              -            -          -




                                                                                                                                     11
KPIs มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ
1. คุณภาพงานวิจัย                                                   60%
  •   จานวนผลงานตีพิมพ์ระดับนานาชาติ                                10%
  •   จานวนผลงานตีพิมพ์ต่อจานวนอาจารย์ทั้งหมด                       5%
  •   จานวนผลงานที่อาจารย์เป็ นนักวิจัยหลัก ต่อจานวนผลงานทั้งหมด    5%
  •   จานวนครั้งของการถูกอ้างอิงต่อจานวนผลงานทั้งหมด                20%
  •   จานวนสิทธิบัตรที่ได้รับสิทธิ์แล้ว ทั้งในประเทศและต่างประเทศ   10%
  •   ความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review)                        5%
  •   ความเป็ นเอกลักษณ์ของงานวิจัยในสถาบัน                         5%

2. คุณภาพการสอน                                                     20%
  •   สัดส่วนนักศึกษาต่ออาจารย์                                     5%
  •   จานวนอาจารย์ปริญญาเอก                                         5%
  •   จานวนศาสตราจารย์                                              5%
  •   สัดส่วนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาต่อนักศึกษาทั้งหมด             5%


                                                                          12
KPIs มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ
3. ความเป็ นนานาชาติ                                       10%
   •   จานวนนักศึกษาต่างชาติ                               5%
   •   จานวนอาจารย์และนักวิจัยต่างชาติ                     3%
   •   จานวนผลงานวิจัยร่วม (ที่ฝ่ายไทยเป็ นผู้วิจัยหลัก)   2%

4. การมีงานทาของบัณฑิตและความพึงพอใจ                       10%
   •   ผู้ใช้ (สภาอุตสาหกรรมฯ สภาหอการค้าฯ สมาคมธนาคารฯ)   5%
   • PPP (Public Private Partnership)                      5%




                                                                 13
การประเมินรอบสาม ของ สมศ.
แบ่งกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาออกเป็ น 5 กลุ่มคือ
กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับปริญญาตรี
     ข(๑) เน้นการผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรี
     ข(๒) เน้นการผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีและพัฒนาสังคม

กลุ่ม ค สถาบันเฉพาะทาง
     ค(๑) เน้นการผลิตบัณฑิตเฉพาะทางระดับบัณฑิตศึกษาและวิจัย
     ค(๒) เน้นการผลิตบัณฑิตเฉพาะทางระดับปริญญาตรี




                                                              14
PART 2


         15
กลไกการพัฒนา/การจัดการหลักสูตร

                                 สภามหาวิทยาลัย
การจัดทาเนื้อหาหลักสูตร
                            กรรมการกลั่นกรองหลักสูตร


                          สานักวิชาศึกษาทั่วไป/สถาบันภาษา   อาจารย์
  การจัดการหลักสูตร
                                  คณะ/สาขาวิชา              นักศึกษา


                                การประเมินการสอน
การประเมินผลหลักสูตร
                           การประเมินการจัดการหลักสูตร
PART 3


         17
ความสาเร็จในการบริหารวิชาการ

1. กลไกเชิงนโยบายที่ชัดเจนด้านคุณภาพบัณฑิตและกระบวนการผลิตบัณฑิต




      2. หลักเกณฑ์ วิธีการ แนวปฏิบัติ และการส่งเสริมสนับสนุนให้
            กระบวนการดาเนินงานบังเกิดผลตามเปาหมาย้



       3. การติดตามและประเมินผลเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
19
ภารกิจการผลิตบัณฑิตของมหาวิทยาลัย
       การพัฒนานักศึกษา

     การจัดการเรียนการสอน

            หลักสูตร



             นักศึกษา             บัณฑิตที่พึง
                                    ประสงค์

             อาจารย์

     สิ่งสนับสนุนการจัดการศึกษา

      การบริหารจัดการหลักสูตร
กรอบคุณลักษณะบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น
                                                                        K
               Knowledge
(Academic skills)




                           knowledge and practical
                           experiences in the                                   Professional
                           professional field                                   skillful


                           • Research & analytical                      S
                                                                                        Ready
Generic




                           • Communication/ English                         Lifelong
                                                                                        to
 Skills




                           language                                                             Global
                                                                            learning
                           • Computer & IT                                              Work    Citizen
                           • Management


                           • Personal :              self-discipline,
                                                                        A       Adaptation to
Life Skills
(Attitude)




                           honesty, responsibility
                                                                                changes
                           • Interpersonal :            Human relations,
                           Team working, leadership

                           • Social       : conscience for being good
                           citizen, love and pride towards the
                           institution and the nation




                                                                                                          21
นโยบายหลักด้านการผลิตบัณฑิต

การพัฒนาหลักสูตรให้มีองค์ประกอบและรายวิชาดังต่อไปนี้
1.   ปรัชญา วัตถุประสงค์ รายวิชา ที่สอดคล้องกับกรอบคุณลักษณะ
     บัณฑิต
2.   มีรายวิชาที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ การวิจัย การแก้ปัญหา
3.   มีรายวิชาส่งเสริมการปฏิบัติงานจริง
4.   มีรายวิชาที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ตามเกณฑ์
5.   มีการพัฒนาทักษะเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ ตามเกณฑ์
6.   มีรายวิชาส่งเสริมพัฒนาทักษะการบริหารจัดการ การดาเนินชีวิต
     บนพื้นฐานหลักเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม
     การรู้จักสิทธิและหน้าที่ และการมีจิตสานึกต่อสังคม




                                                                22
นโยบายหลักด้านการผลิตบัณฑิต

การจัดการเรียนการสอนรายวิชาในหลักสูตร ให้มี
กระบวนการดังนี้
1.   มุ่งเน้นการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน การบูรณาการ
     องค์ความรู้จากประสบการณ์วิจัยหรือบริการวิชาการมาใช้ในการ
     เรียนการสอน
2.   มีการใช้แหล่งเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยีต่างๆ เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษา
     เรียนรู้ด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ด้วยวิธีการต่างๆ
3.   มีการบูรณาการ/สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมใน
     กระบวนการจัดการเรียนการสอน
4.   มีการสอนรายวิชาในหลักสูตรโดยใช้ภาษาอังกฤษ ตามเป้ าหมายที่
     คณะ/สาขาวิชากาหนด


                                                                    23
นโยบายหลักด้านการผลิตบัณฑิต

1.   อาจารย์พึงได้รับการพัฒนา ทั้งด้านคุณวุฒิ ความรู้ความสามารถ
     ด้านการวิจัย การเรียนการสอน ความชานาญในสาขาวิชาใน
     ระดับสูงขึ้น
2.   อาจารย์ใหม่ทุกคน ต้องผ่านกระบวนการอบรมและพัฒนา ให้มี
     ความรู้ความเข้าใจในเรื่ององค์กร บทบาทหน้าที่ของอาจารย์
     หลักสูตรและกระบวนการผลิตบัณฑิต และการจัดการเรียนการสอน
3.   อาจารย์ทุกคน ต้องเข้ารับการอบรมและพัฒนา เพื่อให้มีความรู้
     ความสามารถด้านการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การผลิตผล
     งานทางวิชาการ อย่างสม่าเสมอ ตามระยะเวลาที่มหาวิทยาลัย
     กาหนด
4.   อาจารย์ต้องได้รับการส่งเสริมและกากับดูแลให้เป็ นผู้มีคุณธรรมและ
     จริยธรรม มีจิตสานึกที่ดีและความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่และ
     จรรยาบรรณครู เป็ นแบบอย่างที่ดีของนักศึกษาและสังคมทั่วไป


                                                                  24
นโยบายหลักด้านการผลิตบัณฑิต

1.   ให้ทุกหลักสูตรจัดให้มีอาจารย์ที่ปรึกษา ที่สามารถให้คาปรึกษา
     แนะนานักศึกษาในด้านการเรียนและการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย
2.   ให้มีการจัดอบรมและหรือจัดกิจกรรม เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะที่
     จะส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาตามกรอบคุณลักษณะของบัณฑิตที่
     พึงประสงค์ของมหาวิทยาลัย
3.   ให้มีการสนับสนุนทุนต่างๆ เพื่อส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา และ
     สร้างโอกาสในการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ทั้งภายในและภายนอก
     มหาวิทยาลัย
4.   ให้มีการส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมต่างๆ ภายใน
     มหาวิทยาลัย ที่จะส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพ
     ชีวิตที่ดีของนักศึกษา



                                                                 25
นโยบายหลักด้านการผลิตบัณฑิต

1.   ให้มีการติดตามและประเมินผลหลักสูตร โดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อ
     นาข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรอย่างสม่าเสมอ
2.   ให้มีการประเมินผลการสอนของอาจารย์อย่างเป็ นระบบทั่วทั้ง
     มหาวิทยาลัย ที่สะท้อนประสิทธิภาพการสอนของอาจารย์
3.   ให้มีการส่งเสริมและแนะนาให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง
     เกี่ยวกับระบบการประเมินการสอนของอาจารย์ มีกลไกให้นักศึกษา
     มีส่วนร่วมในการประเมิน และการประเมินจะไม่มีผลต่อนักศึกษา
4.   ให้มีการประเมินผลการจัดการหลักสูตรทุกสิ้นปี การศึกษา เพื่อนา
     ข้อมูลมาใช้ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการเปิ ดหลักสูตร การจัดการ
     หลักสูตร และเป้ ามายการผลิตบัณฑิต




                                                                   26
27
ตัวอย่างกระบวนการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ


       1. การพัฒนาหลักสูตรและรายวิชา

    2. การพัฒนาการเรียนการสอน/อาจารย์


   3. การประเมินผลหลักสูตรและคุณภาพบัณฑิต




                                            28
กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตร
            ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

วิชาการ (Knowledge)                   วิชางาน (Skills)               วิชาคน (Attitude)


                รายวิชาในหลักสูตรแผนการสอน (K,S,A)
            หัวข้อที่สอน/กิจกรรมการเรียนร้/การวัดประเมินผล
                                          ู

  การวัดและประเมินผลรายวิชา                              การวัดและประเมินผลหลักสูตร


       ผลสัมฤทธิ์ที่เกิดกับผู้เรียน                         ผลสัมฤทธิ์ที่เกิดกับบัณฑิต


  การประเมิน                 การประเมิน
   การสอน                       ตนเอง                            การประเมิน
  โดยผู้เรียน                 โดยผู้สอน                      ผลการจัดการหลักสูตร
Undergraduate Curriculum – L&T
                             Curriculum
                     Learning and Teaching Approach



 General Education          Professional                Elective
     Courses                  Courses                   Courses




   Academic/                                          Work Skills
  Professional              Life Skills
                                                       (Practical
      Skills                (Attitude)                   Skills)
  (Knowledge)




                                                                    31
Graduate Curriculum – L&T
                        Curriculum
                Learning and Teaching Approach


Required Courses     Elective Courses       Thesis/Dissertation




  Academic/          Life(moral)/           Research
 Professional
     Skills           Work Skill               Skill



                                                                  32
การกาหนดผลการเรียนรู้ตามกรอบ TQF-HEd
             Curriculum mapping ของหลักสูตรและรายวิชา

                         ผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในหลักสูตร

            คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ของหลักสูตร

กรอบคุณลักษณะบัณฑิต             มาตรฐานผลการเรียนรู้                 กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
     ของ มข.                     ตามกรอบ TQF-HEd                      สาขาวิชา หรือกรอบ
        คุณลักษณะเด่น              • ด้านคุณธรรม จริยธรรม              มาตรฐานวิชาชีพ
 • คุณลักษณะทั่วไป (ความรู้ -            • ด้านความรู้              • คุณลักษณะบัณฑิตตามสาขาวิชาชีพ
 Knowledge; ทักษะ - Skills;          • ด้านทักษะทางปั ญญา              หรือกาหนดโดยองค์กรวิชาชีพ
     ทัศนคติ -   Attitude)      • ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง
                                  บุคคล และความรับผิดชอบ
                                • ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข
                                  การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี




                                                                                                      33
กรอบแนวคิดการพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตจากวิชาศึกษาทั่วไป

           1. การสื่อสารและการเรียนรู้                          2. การคิดเชิงวิเคราะห์และ
        ด้วยตนเอง (Communication &                            เชิงวิพากษ์ (Analytical and
                 Self-learning)                                     Critical Thinking)
            - Foreign (English) languages                         - Managing literacy
                   - Communication                         - Research/math/scientific literacy
               - IT & Computer literacy                         - Information literacy



3. คุณธรรม จริยธรรม คุณค่า
 ของชีวิตในสังคม (Morals,                                               4. วัฒนธรรมและภูมิปัญญา
Ethics, Values of Life in society)                                       (Cultures and Intellects)
   - Social responsibility/law
- Civic education/human rights                                          - Cultures/Multi-cultures
  - Philosophy/religion/logic                                              - History/local wisdom
    - Aesthetics/Arts/Music                                                - Sufficient economy


                             5. ความรอบรู้และการปรับตัวในยุคโลกาภิวัตน์
                            (Well-rounded and Adaptation to Globalization)
                             - Knowledge and adaptation to global issues
                                that have impacts to human lives: social,
                              cultural, economic, scientific, technological,
                                     environmental, and health issues.



                                                                                                     34
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1.   มีวินัย
2.   มีความรับผิดชอบ
3.   ซื่อสัตย์สุจริต
4.   เสียสละ
5.   เป็ นแบบอย่างที่ดี
6.   สามารถจัดการปั ญหาทางคุณธรรม
     จริยธรรม



                                    35
ด้านความรู้
1. วิทยาศาสตร์/คณิตศาสตร์/วิจัย
2. เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
3. มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์




                                    36
ด้านทักษะทางปัญญา
1. มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทา
   ความเข้าใจ ประเมินข้อมูล การใช้ข้อมูล
2. มีความสามารถแก้ปัญหาที่ซับซ้อน




                                           37
ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
1. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
2. ความรับผิดชอบต่อตนเอง
3. ความรับผิดชอบต่อสังคม




                                                    38
ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

1. ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลข
2. ทักษะการสื่อสาร
3. ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ




                                                                       39
Curriculum Mapping หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
                                                                                                                                             4. ทักษะ
                                                                                                                           3. ทักษะทาง ความสัมพันธ์ระหว่าง 5. ทักษะการวิเคราะห์
รายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป                                        1. คุณธรรม จริยธรรม                 2. ความรู้                                         เชิงตัวเลข การสื่อสาร
                                                                                                                              ปัญญา      บุคคลและความ
                                                                                                                                                           และการใช้เทคโนโลยี
                                                                                                                                            รับผิดชอบ
                                                        1.1   1.2       1.3    1.4    1.5   1.6   2.1     2.2        2.3    3.1   3.2    4.1    4.2    4.3    5.1    5.2    5.3
กลุ่มวิชาการสื่อสารและการเรียนรู้ด้วยตนเอง
000 101 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร                                                                                                                              
000 102 ภาษาอังกฤษทางวิชาการ 1                                                                                                                                 
000 103 ภาษาอังกฤษทางวิชาการ 2                                                                                                                                 
000 160 คอมพิวเตอร์พื้นฐานและเทคโนโลยีสารสนเทศ                                                                                                                       
กลุ่มวิชาการคิดเชิงวิเคราะห์และเชิงวิพากษ์
000 130 ทักษะการรู้สารสนเทศ                                                                                                                                       
000 168 การคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ปัญหา                                                                                                                             
000 169 การคิดเชิงสร้างสรรค์                                                                                                                                       
000 170 การคิดขั้นสูงทางด้านคณิตศาสตร์และ วิทยาศาสตร์                                                                                                              
กลุ่มวิชาคุณธรรม จริยธรรมและคุณค่าของชีวิตในสังคม
000 141 สิทธิพื้นฐานและประชาสังคม                                                                                                                               
000 146 ความสุขของชีวิต                                                                                                                                          
000 155 การมีส่วนร่วมต่อสังคม                                                                                                                                   
กลุ่มวิชาวัฒนธรรมและภูมิปัญญา
000 132 ชีวิตกับสุนทรียะ                                                                                                                                           
000 150 ไทยศึกษา                                                                                                                                                  
000 153 ภูมิปัญญาท้องถิ่น                                                                                                                                         
000 154 พหุวัฒนธรรม                                                                                                                                              
กลุ่มวิชาความรอบรู้และการปรับตัวในยุคโลกาภิวตน์
                                            ั
000 145 ภาวะผู้นาและการบริหาร                                                                                                                                    
000 157 พลเมืองโลกในกระแสโลกาภิวัตน์                                                                                                                       
000 162 ชีวิตกับเทคโนโลยีสมัยใหม่                                                                                                                                  
000 164 ชีวิตกับพลังงาน                                                                                                                                             
000 171 ชีวิตกับสุขภาพ                                                                                                                                                
                                                                                                                                                                            40
000 172 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม                                                                                                                                          
การพัฒนาอาจารย์ (ด้านการจัดการเรียนรู)้
   ก ร อ บ ส ม ร ร ถ น ะ ด้ า น ก า ร ส อ น ข อ ง อ า จ า ร ย์




      เน้นการเรียนรู้
                            คุณธรรม          เทคโนโลยีและสื่อ
      ของผู้เรียนเป็ น
                            จริยธรรม            การสอน
          สาคัญ
หลักสูตรการพัฒนาบุคลากร
การพัฒนาอาจารย์
ด้านการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
o หลักสูตรอบรม
   ก้าวแรกสู่ครูมืออาชีพ
   จิตวิญญาณความเป็ นครู มข.
   การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
   การสอดแทรกทักษะการเรียนรู้ คุณธรรม
    จริยธรรม ในการเรียนการสอน
   การอบรมการใช้งานระบบ e-Learning
   การอบรมการผลิตสื่อการสอน
ระบบสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีด้านการสอน
ระบบบันทึกการสอนของอาจารย์ด้วยตนเอง




                                      47
m-Learning
m-Learning
การพัฒนาอาจารย์และส่งเสริมความเป็นนานาชาติ
o ทุนศึกษาต่อ ป.เอก และทุนวิจัย ป.เอก
o ทุนเสนอผลงานต่างประเทศ
o ทุนฝึ กอบรมทักษะภาษาอังกฤษ
o ทุน visiting scholar : inbound - outbound
o ทุนจัดประชุมนานาชาติ
o ทุนพัฒนาหลักสูตรนานาชาติ
o ทุนแลกเปลี่ยนนักศึกษา
o ทุนการศึกษาสาหรับนักศึกษาจากประเทศเพื่อน
  บ้าน
o ทุนตารา สื่อการสอน การวิจัยชั้นเรียน
o ทุนวิจัยวิทยานิพนธ์ เสนอผลงาน (บัณฑิต
  วิทยาลัย)
                                              50
การบริหารการประเมินการสอนและประเมินหลักสูตร
1. การประเมินการสอนของอาจารย์
  ใช้เกณฑ์การประเมินตามกรอบตัวชี้วัดของ กพร./
  สมศ. มีการประเมิน 2 ส่วนคือ
   การประเมินโดยนักศึกษา
   การประเมินตนเอง
2. ประเมินการสอน ตามกรอบการประเมินเพื่อ
   ขอกาหนดตาแหน่งวิชาการ
3. การประเมินผลการปฏิบัติงานของอาจารย์
   ประจาปี (PMS)
4. การประเมินผลการจัดการหลักสูตร ตาม
   ระบบของมหาวิทยาลัย
                                                52
ประสิทธิภาพการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
1. มีความรู้ความเข้าใจรู้เป้ าหมายของการจัด
   การศึกษา และหลักสูตรการศึกษาอุดมศึกษา
2. มีการวิเคราะห์ศักยภาพของผู้เรียนและเข้าใจ
   ผู้เรียนเป็ นรายบุคคล
3. มีความสามารถในการจัดประสบการณ์ที่เน้น
   ผู้เรียนเป็ นสาคัญ โดยการลดการถ่ายทอด
   ความรู้ เพิ่มการปฏิบัติจริงและการแลกเปลี่ยน
   เรียนรู้ระหว่างผู้เรียน
4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการ
   พัฒนาการเรียนรู้ของตนเองและผู้เรียน
                                             53
ประสิทธิภาพการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
5. มีการประเมินผลการเรียนการสอนที่
   สอดคล้องกับสภาพการเรียนรู้ที่จัดให้ผู้เรียน
   และอิงพัฒนาการของผู้เรียน เป็ นการประเมิน
   เพื่อพัฒนาการเรียนรู้และการประเมินเพื่อ
   ตัดสินผลการเรียนรู้โดยคานึงถึงความ
   แตกต่างระหว่างบุคคล
6. มีการนาผลประเมินมาปรับเปลี่ยนการเรียน
   การสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ
7. มีการวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อและการเรียนรู้ของ
   ผู้เรียนและนาผลไปใช้พัฒนาผู้เรียน
                                             54
ประสิทธิภาพการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ

    ๑             ๒            ๓             ๔             ๕
อาจารย์ประจา อาจารย์ประจา อาจารย์ประจา อาจารย์ประจา อาจารย์ประจา
  ส่วนใหญ่     ส่วนใหญ่     ส่วนใหญ่     ส่วนใหญ่     ส่วนใหญ่
 ร้อยละ ๗๕    ร้อยละ ๗๕    ร้อยละ ๗๕    ร้อยละ ๗๕    ร้อยละ ๗๕
  ปฏิบัติได้   ปฏิบัติได้   ปฏิบัติได้   ปฏิบัติได้  ปฏิบัติได้ทั้ง
๑–๒ ประเด็น ๓–๔ ประเด็น ๕ ประเด็น         ๖ ประเด็น    ๗ ประเด็น




                                                                   55
การประเมินการสอน
ระบบประเมินการสอนออนไลน์
o จัดทาเป็ นแบบประเมินกลาง (คณะเพิ่มเติมคาถามได้)
o นักศึกษาประเมินตนเอง ๒ ข้อ
o นักศึกษาประเมินการสอน ๑๐ ข้อ (ใช้ตอบตัวชี้วัด
  ได้ ๖ ประเด็น)
o ประเมินจากกิจกรรมการเรียนรู้ที่อาจารย์จัดใน
  วิชา
o ประเมินได้ทั้งแบบรายวิชาและแบบรายบุคคล
o ค่าเฉลี่ยแต่ละประเด็นเกิน ๓.๕๐ ถือว่าอาจารย์
  ปฏิบัติประเด็นนั้นๆได้
o สามารถนาเกณฑ์เดียวกันสรุปในระดับหลักสูตร
  หรือคณะได้
                                                57
ระบบประเมินการสอนออนไลน์




                           58
ตัวอย่างผลการประเมินการสอนแยกตามประเด็น




                                      59
จานวนอาจารย์และร้อยละของอาจารย์ที่ปฏิบัติได้




                                               60
การสารวจการจัดการเรียนการสอน
o จัดทาเป็ นแบบสารวจกลาง
o สารวจอาจารย์เป็ นรายบุคคล
o สารวจปี การศึกษาละครั้ง
o ประเมินทั้งหมด ๗ ประเด็น จานวน ๑๗ ข้อ
o เป็ นคาถามลักษณะ มี/ไม่มี หรือ ได้ปฏิบัติ/ไม่ได้
  ปฏิบัติ
o ใช้ประกอบกับผลการประเมินการสอนของ
  อาจารย์โดยนักศึกษา


                                                 61
แบบสารวจการจัดการเรียนการสอน




                               62
การประเมินการจัดการหลักสูตรตาม iQA
1. อาจารย์ประจาหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ
   ๘๐ มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน
   ติดตาม และทบทวนการดาเนินงานหลักสูตร
2. มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.๒
   ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
   แห่งชาติ หรือ มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/
   สาขาวิชา (ถ้ามี)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียด
   ของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ
   มคอ.๓ และ มคอ.๔ อย่างน้อยก่อนการเปิ ด
   สอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
                                           63
การประเมินการจัดการหลักสูตรตาม iQA
4. จัดทารายงานผลการดาเนินการของรายวิชา
   และรายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์
   ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.๕ และ มคอ.๖
   ภายใน ๓๐ วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิ ด
   สอนให้ครบทุกรายวิชา
5. จัดทารายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร
   ตามแบบ มคอ.๗ ภายใน ๖๐ วัน หลังสิ้นสุดปี
   การศึกษา
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตาม
   มาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กาหนดใน มคอ.๓ และ
   มคอ.๔ (ถ้ามี) อย่างน้อยร้อยละ ๒๕ ของ
   รายวิชาที่เปิ ดสอนในแต่ละปี การศึกษา
                                             64
การประเมินการจัดการหลักสูตรตาม iQA
7. มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการ
   สอน กลยุทธ์การสอน หรือ การประเมินผล
   การเรียนรู้ จากผลการประเมินการดาเนินงาน
   ที่รายงานใน มคอ.๗ ปี ที่แล้ว
8. อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ
   หรือคาแนะนาด้านการจัดการเรียนการสอน
9. อาจารย์ประจาทุกคนได้รับการพัฒนาทาง
   วิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปี ละ
   หนึ่งครั้ง

                                             65
การประเมินการจัดการหลักสูตรตาม iQA
10.จานวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน
  (ถ้ามี) ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือ
  วิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ ต่อปี
11.ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปี สุดท้าย/
  บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่
  น้อยกว่า ๓.๕ จากคะแนนเต็ม ๕.๐
12.ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อ
  บัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า ๓.๕ จากคะแนน
  เต็ม ๕.๐

                                               66
ถาม – ตอบ


o คาถามหรือข้อเสนอแนะที่เกิดขึ้นหลังจากวันนี้
                     สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่
               denpong@kku.ac.th
   http://facebook.com/denpong.s
Academic Administration : Khon Kaen University

Más contenido relacionado

Más de Denpong Soodphakdee

Communication in Modern Organization
Communication in Modern OrganizationCommunication in Modern Organization
Communication in Modern Organization
Denpong Soodphakdee
 
Technology Skills Required to be a Success Secretary
Technology Skills Required to be a Success SecretaryTechnology Skills Required to be a Success Secretary
Technology Skills Required to be a Success Secretary
Denpong Soodphakdee
 
Short Overview of Khon Kaen University in Academic and IT
Short Overview of Khon Kaen University in Academic and ITShort Overview of Khon Kaen University in Academic and IT
Short Overview of Khon Kaen University in Academic and IT
Denpong Soodphakdee
 
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศการบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Denpong Soodphakdee
 

Más de Denpong Soodphakdee (20)

New Learning Paradigm
New Learning ParadigmNew Learning Paradigm
New Learning Paradigm
 
Concept of e-Learning and its Applications
Concept of e-Learning and its ApplicationsConcept of e-Learning and its Applications
Concept of e-Learning and its Applications
 
KKU General Education 3.0
KKU General Education 3.0KKU General Education 3.0
KKU General Education 3.0
 
ICT Administration in Modern Education Institute
ICT Administration in Modern Education InstituteICT Administration in Modern Education Institute
ICT Administration in Modern Education Institute
 
Communication in Modern Organization
Communication in Modern OrganizationCommunication in Modern Organization
Communication in Modern Organization
 
Social Medias in Library Service
Social Medias in Library ServiceSocial Medias in Library Service
Social Medias in Library Service
 
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen University
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen UniversityNet Zero Energy Building @ Khon Kaen University
Net Zero Energy Building @ Khon Kaen University
 
Higher Education for 21st Century Learners
Higher Education for 21st Century LearnersHigher Education for 21st Century Learners
Higher Education for 21st Century Learners
 
Flipped Classroom at Khon Kaen University
Flipped Classroom at Khon Kaen UniversityFlipped Classroom at Khon Kaen University
Flipped Classroom at Khon Kaen University
 
Technology Skills Required to be a Success Secretary
Technology Skills Required to be a Success SecretaryTechnology Skills Required to be a Success Secretary
Technology Skills Required to be a Success Secretary
 
Google Apps - KKU Experiences
Google Apps - KKU ExperiencesGoogle Apps - KKU Experiences
Google Apps - KKU Experiences
 
Video the Major Player in OERs
Video the Major Player in OERsVideo the Major Player in OERs
Video the Major Player in OERs
 
Cloud Computing and Open Educational Resources
Cloud Computing and Open Educational ResourcesCloud Computing and Open Educational Resources
Cloud Computing and Open Educational Resources
 
Innovative Online Technology in Education
Innovative Online Technology in EducationInnovative Online Technology in Education
Innovative Online Technology in Education
 
KKU Google Apps - Case Study
KKU Google Apps - Case StudyKKU Google Apps - Case Study
KKU Google Apps - Case Study
 
Cutting Edge Innovation in Education
Cutting Edge Innovation in  EducationCutting Edge Innovation in  Education
Cutting Edge Innovation in Education
 
Google Apps for Education : An Implementation Case Study of KKU
Google Apps for Education : An Implementation Case Study of KKUGoogle Apps for Education : An Implementation Case Study of KKU
Google Apps for Education : An Implementation Case Study of KKU
 
Cloud and Online Services Opportunity for Education
Cloud and Online Services Opportunity for EducationCloud and Online Services Opportunity for Education
Cloud and Online Services Opportunity for Education
 
Short Overview of Khon Kaen University in Academic and IT
Short Overview of Khon Kaen University in Academic and ITShort Overview of Khon Kaen University in Academic and IT
Short Overview of Khon Kaen University in Academic and IT
 
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศการบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การบริหารด้านวิชาการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

Academic Administration : Khon Kaen University

  • 3. KKU in the 5th Decade
  • 4. KKU Vision in the 5th Decade 4
  • 5. KPIs for Research and International University • International programs • International students (Full-time; undergraduate/postgraduate) • International faculty staff/International visiting scholars • International exchanged students and staff (inbound & outbound) 5
  • 6. KPIs for Research and International University • Research papers presented at the international conferences • Research papers published in the international peer review journals • Research citing items founded in the international standard citation indexes • Research products which are innovative, problem solutions and commercialization 6
  • 7. KPIs for Research and International University • Faculty staff with high qualifications, both educational backgrounds and academic performances • Faculty staff with high potential in both teaching and research • Faculty staff with the courage of self appearance in the international academic arena • Faculty staff who are known at national--> international level in his/her field of expertise 7
  • 8. KPIs for Research and International University • Graduates who are well equipped with the knowledge and skills for new workplaces’ environments • Graduates who are well prepared for the adaptation to globalization (global citizens) • Graduates who will be well accepted to work and study in the international workplaces/education 8
  • 9. THEs-QS University Rankings 2009- Thai Universities World Rankings N o. University 2008 2009 1 Chulalo ngko rn 166 138 2 Mahido l 251 220 3 Chiang Mai 410 400+ 4 Thammasat 480 400+ 5 Kasetsart 400 400+ 6 Khon Kaen 528 501- 600 7 Prince of So ngkhla 578 501- 600 9
  • 10. THEs-QS University Rankings 2009- Thai Universities University Arts & Life Natural Social IT & No. University Humanities Sciences & Science Science Engineering Biomedicine s s 1 Chulalongkorn 35 10 12 30 10 24 2 Mahidol 30 45 20 54 56 72 3 Chiang Mai 81 54 72 61 62 68 4 Thammasat 85 28 86 - 33 75 5 Kasetsart 108 100 60 65 82 78 6 Prince of Songkhla 109 91 77 93 73 90 7 Khon Kaen (118) 93 78 83 94 - -113 8 Burapa 151 - - - - - 10
  • 11. THEs-QS University Rankings 2009- Thai Universities No. University Academic Recruiter Student- Papers Citations International International Student Student Peer Review Faculty Per Per Faculty Student Exchang Exchange Reviews Ratio Faculty Paper Review Review e Outbound Inbound 1 Chulalongkorn 14(1) 19(1) 69(3) 206(4) 93(3) 149(7) 247(3) 140(5) 108(3) 2 Mahidol 47(2) 39(2) 27(2) 198(3) 30(1) 74(3) 131(1) 36(1) 139(4) 3 Chiang Mai 64(4) 79(6) 193(6) 224(5) 73(2) 49(2) 263(5) - - 4 Thammasat 61(3) 41(3) 122(4) 274(8) 154(9) 234 274(7) - 5 Kasetsart 80(5) 41(3) 240(8) - 182 30(1) 293(8) 68(2) 160(5) 6 Prince of Songkhla 91(6) 68(5) 195(7) 255(6) 151(8) 154(8) 316 132(4) 63(1) 7 Khon Kaen 101(7) 81(7) 175(5) 259(7) 133(5) 172(9) 242(2) 87(3) 70(2) 8 Burapha - 18(1) 330 110(4) 247 251(4) - - 9 Suranaree 173 160 363 140(1) 175 - - - - 10 Silpakorn 203 145 - - 238 - - - - 11 KMUTT - 160 303 177(2) 300 75(4) 343 217(6) 199(6) 12 Naresuan - - 314 305 145(7) 132(5) 313(9) 222(7) 230(7) 13 MaeJo - - 335 318 - 206 - - - 14 Mahasarakham - - 382 - - 135(6) 266(6) - - 15 Loei Rajabhat - - 387 377 - 171 347 - - 16 Walailak - - - 317 199 - - - - 17 Rajamagala U ofTech - 160 - - - - - - - 18 Srihakarindwirot - - - - 135(6) - - - - 19 Ubon Rachathani - - - - 224 - - - - 11
  • 12. KPIs มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ 1. คุณภาพงานวิจัย 60% • จานวนผลงานตีพิมพ์ระดับนานาชาติ 10% • จานวนผลงานตีพิมพ์ต่อจานวนอาจารย์ทั้งหมด 5% • จานวนผลงานที่อาจารย์เป็ นนักวิจัยหลัก ต่อจานวนผลงานทั้งหมด 5% • จานวนครั้งของการถูกอ้างอิงต่อจานวนผลงานทั้งหมด 20% • จานวนสิทธิบัตรที่ได้รับสิทธิ์แล้ว ทั้งในประเทศและต่างประเทศ 10% • ความเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) 5% • ความเป็ นเอกลักษณ์ของงานวิจัยในสถาบัน 5% 2. คุณภาพการสอน 20% • สัดส่วนนักศึกษาต่ออาจารย์ 5% • จานวนอาจารย์ปริญญาเอก 5% • จานวนศาสตราจารย์ 5% • สัดส่วนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาต่อนักศึกษาทั้งหมด 5% 12
  • 13. KPIs มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ 3. ความเป็ นนานาชาติ 10% • จานวนนักศึกษาต่างชาติ 5% • จานวนอาจารย์และนักวิจัยต่างชาติ 3% • จานวนผลงานวิจัยร่วม (ที่ฝ่ายไทยเป็ นผู้วิจัยหลัก) 2% 4. การมีงานทาของบัณฑิตและความพึงพอใจ 10% • ผู้ใช้ (สภาอุตสาหกรรมฯ สภาหอการค้าฯ สมาคมธนาคารฯ) 5% • PPP (Public Private Partnership) 5% 13
  • 14. การประเมินรอบสาม ของ สมศ. แบ่งกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาออกเป็ น 5 กลุ่มคือ กลุ่ม ข สถาบันที่เน้นระดับปริญญาตรี ข(๑) เน้นการผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรี ข(๒) เน้นการผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีและพัฒนาสังคม กลุ่ม ค สถาบันเฉพาะทาง ค(๑) เน้นการผลิตบัณฑิตเฉพาะทางระดับบัณฑิตศึกษาและวิจัย ค(๒) เน้นการผลิตบัณฑิตเฉพาะทางระดับปริญญาตรี 14
  • 15. PART 2 15
  • 16. กลไกการพัฒนา/การจัดการหลักสูตร สภามหาวิทยาลัย การจัดทาเนื้อหาหลักสูตร กรรมการกลั่นกรองหลักสูตร สานักวิชาศึกษาทั่วไป/สถาบันภาษา อาจารย์ การจัดการหลักสูตร คณะ/สาขาวิชา นักศึกษา การประเมินการสอน การประเมินผลหลักสูตร การประเมินการจัดการหลักสูตร
  • 17. PART 3 17
  • 18. ความสาเร็จในการบริหารวิชาการ 1. กลไกเชิงนโยบายที่ชัดเจนด้านคุณภาพบัณฑิตและกระบวนการผลิตบัณฑิต 2. หลักเกณฑ์ วิธีการ แนวปฏิบัติ และการส่งเสริมสนับสนุนให้ กระบวนการดาเนินงานบังเกิดผลตามเปาหมาย้ 3. การติดตามและประเมินผลเพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
  • 19. 19
  • 20. ภารกิจการผลิตบัณฑิตของมหาวิทยาลัย การพัฒนานักศึกษา การจัดการเรียนการสอน หลักสูตร นักศึกษา บัณฑิตที่พึง ประสงค์ อาจารย์ สิ่งสนับสนุนการจัดการศึกษา การบริหารจัดการหลักสูตร
  • 21. กรอบคุณลักษณะบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น K Knowledge (Academic skills) knowledge and practical experiences in the Professional professional field skillful • Research & analytical S Ready Generic • Communication/ English Lifelong to Skills language Global learning • Computer & IT Work Citizen • Management • Personal : self-discipline, A Adaptation to Life Skills (Attitude) honesty, responsibility changes • Interpersonal : Human relations, Team working, leadership • Social : conscience for being good citizen, love and pride towards the institution and the nation 21
  • 22. นโยบายหลักด้านการผลิตบัณฑิต การพัฒนาหลักสูตรให้มีองค์ประกอบและรายวิชาดังต่อไปนี้ 1. ปรัชญา วัตถุประสงค์ รายวิชา ที่สอดคล้องกับกรอบคุณลักษณะ บัณฑิต 2. มีรายวิชาที่ส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ การวิจัย การแก้ปัญหา 3. มีรายวิชาส่งเสริมการปฏิบัติงานจริง 4. มีรายวิชาที่ส่งเสริมการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ตามเกณฑ์ 5. มีการพัฒนาทักษะเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ ตามเกณฑ์ 6. มีรายวิชาส่งเสริมพัฒนาทักษะการบริหารจัดการ การดาเนินชีวิต บนพื้นฐานหลักเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม การรู้จักสิทธิและหน้าที่ และการมีจิตสานึกต่อสังคม 22
  • 23. นโยบายหลักด้านการผลิตบัณฑิต การจัดการเรียนการสอนรายวิชาในหลักสูตร ให้มี กระบวนการดังนี้ 1. มุ่งเน้นการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน การบูรณาการ องค์ความรู้จากประสบการณ์วิจัยหรือบริการวิชาการมาใช้ในการ เรียนการสอน 2. มีการใช้แหล่งเรียนรู้ สื่อเทคโนโลยีต่างๆ เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษา เรียนรู้ด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ด้วยวิธีการต่างๆ 3. มีการบูรณาการ/สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมใน กระบวนการจัดการเรียนการสอน 4. มีการสอนรายวิชาในหลักสูตรโดยใช้ภาษาอังกฤษ ตามเป้ าหมายที่ คณะ/สาขาวิชากาหนด 23
  • 24. นโยบายหลักด้านการผลิตบัณฑิต 1. อาจารย์พึงได้รับการพัฒนา ทั้งด้านคุณวุฒิ ความรู้ความสามารถ ด้านการวิจัย การเรียนการสอน ความชานาญในสาขาวิชาใน ระดับสูงขึ้น 2. อาจารย์ใหม่ทุกคน ต้องผ่านกระบวนการอบรมและพัฒนา ให้มี ความรู้ความเข้าใจในเรื่ององค์กร บทบาทหน้าที่ของอาจารย์ หลักสูตรและกระบวนการผลิตบัณฑิต และการจัดการเรียนการสอน 3. อาจารย์ทุกคน ต้องเข้ารับการอบรมและพัฒนา เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถด้านการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การผลิตผล งานทางวิชาการ อย่างสม่าเสมอ ตามระยะเวลาที่มหาวิทยาลัย กาหนด 4. อาจารย์ต้องได้รับการส่งเสริมและกากับดูแลให้เป็ นผู้มีคุณธรรมและ จริยธรรม มีจิตสานึกที่ดีและความรับผิดชอบต่อบทบาทหน้าที่และ จรรยาบรรณครู เป็ นแบบอย่างที่ดีของนักศึกษาและสังคมทั่วไป 24
  • 25. นโยบายหลักด้านการผลิตบัณฑิต 1. ให้ทุกหลักสูตรจัดให้มีอาจารย์ที่ปรึกษา ที่สามารถให้คาปรึกษา แนะนานักศึกษาในด้านการเรียนและการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย 2. ให้มีการจัดอบรมและหรือจัดกิจกรรม เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะที่ จะส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาตามกรอบคุณลักษณะของบัณฑิตที่ พึงประสงค์ของมหาวิทยาลัย 3. ให้มีการสนับสนุนทุนต่างๆ เพื่อส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา และ สร้างโอกาสในการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ทั้งภายในและภายนอก มหาวิทยาลัย 4. ให้มีการส่งเสริมและพัฒนาแหล่งเรียนรู้และสิ่งแวดล้อมต่างๆ ภายใน มหาวิทยาลัย ที่จะส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพ ชีวิตที่ดีของนักศึกษา 25
  • 26. นโยบายหลักด้านการผลิตบัณฑิต 1. ให้มีการติดตามและประเมินผลหลักสูตร โดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อ นาข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรอย่างสม่าเสมอ 2. ให้มีการประเมินผลการสอนของอาจารย์อย่างเป็ นระบบทั่วทั้ง มหาวิทยาลัย ที่สะท้อนประสิทธิภาพการสอนของอาจารย์ 3. ให้มีการส่งเสริมและแนะนาให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับระบบการประเมินการสอนของอาจารย์ มีกลไกให้นักศึกษา มีส่วนร่วมในการประเมิน และการประเมินจะไม่มีผลต่อนักศึกษา 4. ให้มีการประเมินผลการจัดการหลักสูตรทุกสิ้นปี การศึกษา เพื่อนา ข้อมูลมาใช้ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการเปิ ดหลักสูตร การจัดการ หลักสูตร และเป้ ามายการผลิตบัณฑิต 26
  • 27. 27
  • 28. ตัวอย่างกระบวนการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ 1. การพัฒนาหลักสูตรและรายวิชา 2. การพัฒนาการเรียนการสอน/อาจารย์ 3. การประเมินผลหลักสูตรและคุณภาพบัณฑิต 28
  • 29.
  • 30. กรอบแนวคิดการพัฒนาหลักสูตร ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร วิชาการ (Knowledge) วิชางาน (Skills) วิชาคน (Attitude) รายวิชาในหลักสูตรแผนการสอน (K,S,A) หัวข้อที่สอน/กิจกรรมการเรียนร้/การวัดประเมินผล ู การวัดและประเมินผลรายวิชา การวัดและประเมินผลหลักสูตร ผลสัมฤทธิ์ที่เกิดกับผู้เรียน ผลสัมฤทธิ์ที่เกิดกับบัณฑิต การประเมิน การประเมิน การสอน ตนเอง การประเมิน โดยผู้เรียน โดยผู้สอน ผลการจัดการหลักสูตร
  • 31. Undergraduate Curriculum – L&T Curriculum Learning and Teaching Approach General Education Professional Elective Courses Courses Courses Academic/ Work Skills Professional Life Skills (Practical Skills (Attitude) Skills) (Knowledge) 31
  • 32. Graduate Curriculum – L&T Curriculum Learning and Teaching Approach Required Courses Elective Courses Thesis/Dissertation Academic/ Life(moral)/ Research Professional Skills Work Skill Skill 32
  • 33. การกาหนดผลการเรียนรู้ตามกรอบ TQF-HEd Curriculum mapping ของหลักสูตรและรายวิชา ผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในหลักสูตร คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ของหลักสูตร กรอบคุณลักษณะบัณฑิต มาตรฐานผลการเรียนรู้ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ของ มข. ตามกรอบ TQF-HEd สาขาวิชา หรือกรอบ คุณลักษณะเด่น • ด้านคุณธรรม จริยธรรม มาตรฐานวิชาชีพ • คุณลักษณะทั่วไป (ความรู้ - • ด้านความรู้ • คุณลักษณะบัณฑิตตามสาขาวิชาชีพ Knowledge; ทักษะ - Skills; • ด้านทักษะทางปั ญญา หรือกาหนดโดยองค์กรวิชาชีพ ทัศนคติ - Attitude) • ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคล และความรับผิดชอบ • ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี 33
  • 34. กรอบแนวคิดการพัฒนาคุณลักษณะบัณฑิตจากวิชาศึกษาทั่วไป 1. การสื่อสารและการเรียนรู้ 2. การคิดเชิงวิเคราะห์และ ด้วยตนเอง (Communication & เชิงวิพากษ์ (Analytical and Self-learning) Critical Thinking) - Foreign (English) languages - Managing literacy - Communication - Research/math/scientific literacy - IT & Computer literacy - Information literacy 3. คุณธรรม จริยธรรม คุณค่า ของชีวิตในสังคม (Morals, 4. วัฒนธรรมและภูมิปัญญา Ethics, Values of Life in society) (Cultures and Intellects) - Social responsibility/law - Civic education/human rights - Cultures/Multi-cultures - Philosophy/religion/logic - History/local wisdom - Aesthetics/Arts/Music - Sufficient economy 5. ความรอบรู้และการปรับตัวในยุคโลกาภิวัตน์ (Well-rounded and Adaptation to Globalization) - Knowledge and adaptation to global issues that have impacts to human lives: social, cultural, economic, scientific, technological, environmental, and health issues. 34
  • 35. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 1. มีวินัย 2. มีความรับผิดชอบ 3. ซื่อสัตย์สุจริต 4. เสียสละ 5. เป็ นแบบอย่างที่ดี 6. สามารถจัดการปั ญหาทางคุณธรรม จริยธรรม 35
  • 37. ด้านทักษะทางปัญญา 1. มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทา ความเข้าใจ ประเมินข้อมูล การใช้ข้อมูล 2. มีความสามารถแก้ปัญหาที่ซับซ้อน 37
  • 40. Curriculum Mapping หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 4. ทักษะ 3. ทักษะทาง ความสัมพันธ์ระหว่าง 5. ทักษะการวิเคราะห์ รายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ เชิงตัวเลข การสื่อสาร ปัญญา บุคคลและความ และการใช้เทคโนโลยี รับผิดชอบ 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 5.1 5.2 5.3 กลุ่มวิชาการสื่อสารและการเรียนรู้ด้วยตนเอง 000 101 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร        000 102 ภาษาอังกฤษทางวิชาการ 1        000 103 ภาษาอังกฤษทางวิชาการ 2        000 160 คอมพิวเตอร์พื้นฐานและเทคโนโลยีสารสนเทศ         กลุ่มวิชาการคิดเชิงวิเคราะห์และเชิงวิพากษ์ 000 130 ทักษะการรู้สารสนเทศ            000 168 การคิดเชิงวิพากษ์และการแก้ปัญหา          000 169 การคิดเชิงสร้างสรรค์           000 170 การคิดขั้นสูงทางด้านคณิตศาสตร์และ วิทยาศาสตร์           กลุ่มวิชาคุณธรรม จริยธรรมและคุณค่าของชีวิตในสังคม 000 141 สิทธิพื้นฐานและประชาสังคม              000 146 ความสุขของชีวิต             000 155 การมีส่วนร่วมต่อสังคม              กลุ่มวิชาวัฒนธรรมและภูมิปัญญา 000 132 ชีวิตกับสุนทรียะ           000 150 ไทยศึกษา            000 153 ภูมิปัญญาท้องถิ่น            000 154 พหุวัฒนธรรม             กลุ่มวิชาความรอบรู้และการปรับตัวในยุคโลกาภิวตน์ ั 000 145 ภาวะผู้นาและการบริหาร             000 157 พลเมืองโลกในกระแสโลกาภิวัตน์            000 162 ชีวิตกับเทคโนโลยีสมัยใหม่           000 164 ชีวิตกับพลังงาน          000 171 ชีวิตกับสุขภาพ        40 000 172 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม        
  • 41.
  • 42. การพัฒนาอาจารย์ (ด้านการจัดการเรียนรู)้ ก ร อ บ ส ม ร ร ถ น ะ ด้ า น ก า ร ส อ น ข อ ง อ า จ า ร ย์ เน้นการเรียนรู้ คุณธรรม เทคโนโลยีและสื่อ ของผู้เรียนเป็ น จริยธรรม การสอน สาคัญ
  • 45. ด้านการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ o หลักสูตรอบรม  ก้าวแรกสู่ครูมืออาชีพ  จิตวิญญาณความเป็ นครู มข.  การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญ  การสอดแทรกทักษะการเรียนรู้ คุณธรรม จริยธรรม ในการเรียนการสอน  การอบรมการใช้งานระบบ e-Learning  การอบรมการผลิตสื่อการสอน
  • 50. การพัฒนาอาจารย์และส่งเสริมความเป็นนานาชาติ o ทุนศึกษาต่อ ป.เอก และทุนวิจัย ป.เอก o ทุนเสนอผลงานต่างประเทศ o ทุนฝึ กอบรมทักษะภาษาอังกฤษ o ทุน visiting scholar : inbound - outbound o ทุนจัดประชุมนานาชาติ o ทุนพัฒนาหลักสูตรนานาชาติ o ทุนแลกเปลี่ยนนักศึกษา o ทุนการศึกษาสาหรับนักศึกษาจากประเทศเพื่อน บ้าน o ทุนตารา สื่อการสอน การวิจัยชั้นเรียน o ทุนวิจัยวิทยานิพนธ์ เสนอผลงาน (บัณฑิต วิทยาลัย) 50
  • 51.
  • 52. การบริหารการประเมินการสอนและประเมินหลักสูตร 1. การประเมินการสอนของอาจารย์ ใช้เกณฑ์การประเมินตามกรอบตัวชี้วัดของ กพร./ สมศ. มีการประเมิน 2 ส่วนคือ  การประเมินโดยนักศึกษา  การประเมินตนเอง 2. ประเมินการสอน ตามกรอบการประเมินเพื่อ ขอกาหนดตาแหน่งวิชาการ 3. การประเมินผลการปฏิบัติงานของอาจารย์ ประจาปี (PMS) 4. การประเมินผลการจัดการหลักสูตร ตาม ระบบของมหาวิทยาลัย 52
  • 53. ประสิทธิภาพการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 1. มีความรู้ความเข้าใจรู้เป้ าหมายของการจัด การศึกษา และหลักสูตรการศึกษาอุดมศึกษา 2. มีการวิเคราะห์ศักยภาพของผู้เรียนและเข้าใจ ผู้เรียนเป็ นรายบุคคล 3. มีความสามารถในการจัดประสบการณ์ที่เน้น ผู้เรียนเป็ นสาคัญ โดยการลดการถ่ายทอด ความรู้ เพิ่มการปฏิบัติจริงและการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่างผู้เรียน 4. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการ พัฒนาการเรียนรู้ของตนเองและผู้เรียน 53
  • 54. ประสิทธิภาพการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 5. มีการประเมินผลการเรียนการสอนที่ สอดคล้องกับสภาพการเรียนรู้ที่จัดให้ผู้เรียน และอิงพัฒนาการของผู้เรียน เป็ นการประเมิน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้และการประเมินเพื่อ ตัดสินผลการเรียนรู้โดยคานึงถึงความ แตกต่างระหว่างบุคคล 6. มีการนาผลประเมินมาปรับเปลี่ยนการเรียน การสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ 7. มีการวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อและการเรียนรู้ของ ผู้เรียนและนาผลไปใช้พัฒนาผู้เรียน 54
  • 55. ประสิทธิภาพการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ อาจารย์ประจา อาจารย์ประจา อาจารย์ประจา อาจารย์ประจา อาจารย์ประจา ส่วนใหญ่ ส่วนใหญ่ ส่วนใหญ่ ส่วนใหญ่ ส่วนใหญ่ ร้อยละ ๗๕ ร้อยละ ๗๕ ร้อยละ ๗๕ ร้อยละ ๗๕ ร้อยละ ๗๕ ปฏิบัติได้ ปฏิบัติได้ ปฏิบัติได้ ปฏิบัติได้ ปฏิบัติได้ทั้ง ๑–๒ ประเด็น ๓–๔ ประเด็น ๕ ประเด็น ๖ ประเด็น ๗ ประเด็น 55
  • 57. ระบบประเมินการสอนออนไลน์ o จัดทาเป็ นแบบประเมินกลาง (คณะเพิ่มเติมคาถามได้) o นักศึกษาประเมินตนเอง ๒ ข้อ o นักศึกษาประเมินการสอน ๑๐ ข้อ (ใช้ตอบตัวชี้วัด ได้ ๖ ประเด็น) o ประเมินจากกิจกรรมการเรียนรู้ที่อาจารย์จัดใน วิชา o ประเมินได้ทั้งแบบรายวิชาและแบบรายบุคคล o ค่าเฉลี่ยแต่ละประเด็นเกิน ๓.๕๐ ถือว่าอาจารย์ ปฏิบัติประเด็นนั้นๆได้ o สามารถนาเกณฑ์เดียวกันสรุปในระดับหลักสูตร หรือคณะได้ 57
  • 61. การสารวจการจัดการเรียนการสอน o จัดทาเป็ นแบบสารวจกลาง o สารวจอาจารย์เป็ นรายบุคคล o สารวจปี การศึกษาละครั้ง o ประเมินทั้งหมด ๗ ประเด็น จานวน ๑๗ ข้อ o เป็ นคาถามลักษณะ มี/ไม่มี หรือ ได้ปฏิบัติ/ไม่ได้ ปฏิบัติ o ใช้ประกอบกับผลการประเมินการสอนของ อาจารย์โดยนักศึกษา 61
  • 63. การประเมินการจัดการหลักสูตรตาม iQA 1. อาจารย์ประจาหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ ๘๐ มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดาเนินงานหลักสูตร 2. มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.๒ ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ แห่งชาติ หรือ มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/ สาขาวิชา (ถ้ามี) 3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียด ของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.๓ และ มคอ.๔ อย่างน้อยก่อนการเปิ ด สอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา 63
  • 64. การประเมินการจัดการหลักสูตรตาม iQA 4. จัดทารายงานผลการดาเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.๕ และ มคอ.๖ ภายใน ๓๐ วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิ ด สอนให้ครบทุกรายวิชา 5. จัดทารายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.๗ ภายใน ๖๐ วัน หลังสิ้นสุดปี การศึกษา 6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตาม มาตรฐานผลการเรียนรู้ ที่กาหนดใน มคอ.๓ และ มคอ.๔ (ถ้ามี) อย่างน้อยร้อยละ ๒๕ ของ รายวิชาที่เปิ ดสอนในแต่ละปี การศึกษา 64
  • 65. การประเมินการจัดการหลักสูตรตาม iQA 7. มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการ สอน กลยุทธ์การสอน หรือ การประเมินผล การเรียนรู้ จากผลการประเมินการดาเนินงาน ที่รายงานใน มคอ.๗ ปี ที่แล้ว 8. อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศ หรือคาแนะนาด้านการจัดการเรียนการสอน 9. อาจารย์ประจาทุกคนได้รับการพัฒนาทาง วิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปี ละ หนึ่งครั้ง 65
  • 66. การประเมินการจัดการหลักสูตรตาม iQA 10.จานวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ถ้ามี) ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือ วิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ ต่อปี 11.ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปี สุดท้าย/ บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่ น้อยกว่า ๓.๕ จากคะแนนเต็ม ๕.๐ 12.ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อ บัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า ๓.๕ จากคะแนน เต็ม ๕.๐ 66
  • 67. ถาม – ตอบ o คาถามหรือข้อเสนอแนะที่เกิดขึ้นหลังจากวันนี้ สามารถติดต่อโดยตรงได้ที่ denpong@kku.ac.th http://facebook.com/denpong.s