SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 5
Descargar para leer sin conexión
ใบความรู้
                                         เรือง การเกิดลม

การเกิดลม
           อากาศเมือได้รับความร้อนจะขยายตัว ทําให้มีความหนาแน่นน้อยกว่าปกติและลอยตัวสู งขึน
ไป ซึ งเรี ยกว่า กระแสอากาศ เมืออากาศร้อนลอยตัวสู งขึน อากาศในแนวราบจากบริ เวณทีมีอุณหภูมิตา     ํ
กว่าเคลือนขนานกับแนวราบเข้ามาแทนที อากาศทีเคลือนทีขนานกับพืนผิวของโลก เรี ยกว่า 'ลม' ลมจะ
พัดจากบริ เวณทีมีอุณหภูมิตากว่าหรื อบริ เวณทีมีความกดอากาศสู งกว่า ไปยังบริ เวณทีมีอุณหภูมิสูงกว่า
                            ํ
หรื อบริ เวณทีมีความกดอากาศตํากว่า




                                 ภาพแสดงหย่ อมความกดอากาศ

                       หย่ อมความกดอากาศสู ง หมายถึง บริ เวณทีมีความกดอากาศสู งกว่าบริ เวณ
ข้างเคียง ใช้ ตัวอักษร H
                       หย่ อมความกดอากาศตํา หมายถึง บริ เวณทีมีความกดอากาศตํากว่าบริ เวณ
ข้างเคียง ใช้ ตัวอักษร L
กลางวันอุณหภูมิของอากาศเหนือพืนดินสู งกว่าอุณหภูมิของอากาศเหนือพืนนํา เนืองจากดิน
และนํารับความร้อนจากดวงอาทิตย์ในปริ มาณเท่ากันแต่ดินจะมีอุณหภูมิสุงกว่านํา ส่ วนกลางคืน
อุณหภูมิของอากาศเหนื อพืนดินจะตํากว่าอุณหภูมิของอากาศเหนือพืนนํา เนืองจากดินคายความร้อนได้
ดีกว่านํา ปรากฏการณ์นีจะเกียวข้องกับการเกิด ลมบก ลมทะเล คือ

        - ในเวลากลางวัน อากาศเหนื อพืนดินร้อน ลอยตัวสู งขึน อากาศเหนือพืนนําเย็นกว่า เคลือนที
เข้ามาแทนที เกิดลมพัดจากทะเลเข้าสู่ ฝัง เรี ยกว่า ลมทะเล




        - ในเวลากลางคืน อากาศเหนื อพืนนําร้อน ลอยตัวสู งขึน อากาศเหนือพืนดินเย็นกว่า เคลือนที
เข้ามาแทนที เกิดลมพัดจากบกออกสู่ ทะเล เรี ยกว่า ลมบก




       จากความรู ้เรื องลมบก ลมทะเลนี ชาวประมงได้อาศัยลมดังกล่าวแล่นเรื อใบออกทะเลในเวลา
ตําและกลับสู่ ฝังในตอนเช้า
ทิศทางลม
       เราสามารถสังเกตทิศทางของลมว่าลมพัดมาจากทิศใด โดยอาศัยวิธีทางธรรมชาติ เช่น สังเกต
จากควันไฟ ใบไม้ไหว ธงสะบัด เป็ นต้น แต่อาจใช้เป็ นสิ งกําหนดทิศทางลมได้ไม่แน่นอน ได้มีผู ้
ประดิษฐ์คิดเครื องตรวจสอบทิศทางลม เรี ยกว่า ศรลม ซึ งใช้สาหรับวัดทิศทางลมในธรรมชาติ
                                                          ํ




                                           ศรลม

       การติดตังศรลม ควรติดตังไว้ในทีสู งๆ เช่น หลังคาบ้าน เป็ นต้น ในการวัดถ้าปลายศรชีไปทาง
                                              ่
ใด แสดงว่าลมพัดมาจากทางทิศนัน ถ้าปลายศรอยูระหว่างทิศเหนื อและทิศตะวันตก แสดงว่าลมพัดมา
จากทิศตะวันตกเฉี ยงเหนื อ และถ้าศรชีระหว่างทิศใต้และทิศตะวันออกแสดงว่าลมพัดมาจากทิศ
ตะวันออกเฉี ยงใต้
       การวัดทิศทางลมบางครังวัดเป็ นองศา โดยกําหนดไว้ให้ทิศเหนื อ (N) เท่ากับ 0 องศา (หรื อ
360 องศา) ทิศอืนๆ จะวัดตามเข็มนาฬิกา โดยทิศตะวันออก (E) จะเป็ น 90 องศา, ทิศใต้ (S) 180 องศา
และทิศตะวันตก (W) 270 องศา
ปั จจุบนการรายงานทิศทางลมสําหรับเขียนแผนทีอากาศ ใช้รายงานเป็ นองศาดังนี เช่น ลมที
                  ั
พัดมาจากทิศตะวันออก จะเรี ยกว่า ลมตะวันออก หรื อ ลม 90 องศา ลมทีพัดมาจากทิศตะวันตกเฉี ยงใต้
เรี ยกว่า ลมตะวันตกเฉี ยงใต้ หรื อ ลม 225 องศา

อัตราเร็วลม
          ลมมีอตราเร็ วต่างกัน ถ้าลมมีอตราเร็ วสู ง จะก่อให้เกิดความเสี ยหายทีรุ นแรง ลมทีเกิดขึนใน
               ั                       ั
ธรรมชาติ ถ้ามีอตราเร็ วตังแต่ 62 กิโลเมตรต่อชัวโมง จะเริ มก่อให้เกิดความเสี ยหาย ถ้าอัตราเร็ วลม
                 ั
                                                                ั
ตังแต่ 89 กิโลเมตรต่อชัวโมง จะสามารถทําความเสี ยหายให้กบอาคารบ้านเรื อนได้ ถ้าเป็ นลมพายุซึงมี
อัตราเร็ วลมมากกว่า 118 กิโลเมตรต่อชัวโมง ความรุ นแรงและความเสี ยหายมีสูงมาก




                                       เครืองวัดอัตราเร็วลม
การเกิดลม

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตPopeye Kotchakorn
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมTa Lattapol
 
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศkrupornpana55
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะmayureesongnoo
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 

La actualidad más candente (20)

ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิตเซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
เซลล์หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 

Destacado

ใบความรู้+ลมเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f17-4page
ใบความรู้+ลมเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f17-4pageใบความรู้+ลมเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f17-4page
ใบความรู้+ลมเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f17-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.5+273+dl...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ  ฟ้า  ดวงดาว+ป.5+273+dl...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ  ฟ้า  ดวงดาว+ป.5+273+dl...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.5+273+dl...Prachoom Rangkasikorn
 
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศdnavaroj
 
ใบความรู้+ลมเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f17-1page
ใบความรู้+ลมเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f17-1pageใบความรู้+ลมเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f17-1page
ใบความรู้+ลมเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f17-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศPatzuri Orz
 
ใบความรู้+ประโยชน์ของแรงดันอากาศ+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f09-1page
ใบความรู้+ประโยชน์ของแรงดันอากาศ+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f09-1pageใบความรู้+ประโยชน์ของแรงดันอากาศ+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f09-1page
ใบความรู้+ประโยชน์ของแรงดันอากาศ+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f09-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์koorimkhong
 

Destacado (7)

ใบความรู้+ลมเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f17-4page
ใบความรู้+ลมเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f17-4pageใบความรู้+ลมเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f17-4page
ใบความรู้+ลมเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f17-4page
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.5+273+dl...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ  ฟ้า  ดวงดาว+ป.5+273+dl...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ  ฟ้า  ดวงดาว+ป.5+273+dl...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.5+273+dl...
 
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ
 
ใบความรู้+ลมเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f17-1page
ใบความรู้+ลมเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f17-1pageใบความรู้+ลมเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f17-1page
ใบความรู้+ลมเกิดขึ้นได้อย่างไร+ป.5+279+dltvscip5+55t2sci p05 f17-1page
 
ลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศ
 
ใบความรู้+ประโยชน์ของแรงดันอากาศ+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f09-1page
ใบความรู้+ประโยชน์ของแรงดันอากาศ+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f09-1pageใบความรู้+ประโยชน์ของแรงดันอากาศ+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f09-1page
ใบความรู้+ประโยชน์ของแรงดันอากาศ+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f09-1page
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 

Similar a การเกิดลม

การแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศการแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศพัน พัน
 
บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)พัน พัน
 
การวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนการวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนdnavaroj
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศKhwankamon Changwiriya
 

Similar a การเกิดลม (6)

การแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศการแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศ
 
เอกสารประกอบการติวo net57 สพฐ. วิทยาศาสตร์ป.6
เอกสารประกอบการติวo net57 สพฐ. วิทยาศาสตร์ป.6เอกสารประกอบการติวo net57 สพฐ. วิทยาศาสตร์ป.6
เอกสารประกอบการติวo net57 สพฐ. วิทยาศาสตร์ป.6
 
บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)
 
Sci31101 cloud
Sci31101 cloudSci31101 cloud
Sci31101 cloud
 
การวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนการวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝน
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
 

Más de dnavaroj

เอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisเอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisdnavaroj
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...dnavaroj
 
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559dnavaroj
 
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...dnavaroj
 
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.dnavaroj
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558dnavaroj
 
Science.m.3.2
Science.m.3.2Science.m.3.2
Science.m.3.2dnavaroj
 
Science.m.3.1
Science.m.3.1Science.m.3.1
Science.m.3.1dnavaroj
 
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)dnavaroj
 
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้dnavaroj
 
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้dnavaroj
 
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกันการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกันdnavaroj
 
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าการยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าdnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
Project pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyanProject pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyandnavaroj
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 

Más de dnavaroj (20)

เอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisเอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysis
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
 
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
 
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
 
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
 
Science.m.3.2
Science.m.3.2Science.m.3.2
Science.m.3.2
 
Science.m.3.1
Science.m.3.1Science.m.3.1
Science.m.3.1
 
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
 
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
 
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
 
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกันการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
 
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าการยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
Project pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyanProject pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyan
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 

การเกิดลม

  • 1. ใบความรู้ เรือง การเกิดลม การเกิดลม อากาศเมือได้รับความร้อนจะขยายตัว ทําให้มีความหนาแน่นน้อยกว่าปกติและลอยตัวสู งขึน ไป ซึ งเรี ยกว่า กระแสอากาศ เมืออากาศร้อนลอยตัวสู งขึน อากาศในแนวราบจากบริ เวณทีมีอุณหภูมิตา ํ กว่าเคลือนขนานกับแนวราบเข้ามาแทนที อากาศทีเคลือนทีขนานกับพืนผิวของโลก เรี ยกว่า 'ลม' ลมจะ พัดจากบริ เวณทีมีอุณหภูมิตากว่าหรื อบริ เวณทีมีความกดอากาศสู งกว่า ไปยังบริ เวณทีมีอุณหภูมิสูงกว่า ํ หรื อบริ เวณทีมีความกดอากาศตํากว่า ภาพแสดงหย่ อมความกดอากาศ หย่ อมความกดอากาศสู ง หมายถึง บริ เวณทีมีความกดอากาศสู งกว่าบริ เวณ ข้างเคียง ใช้ ตัวอักษร H หย่ อมความกดอากาศตํา หมายถึง บริ เวณทีมีความกดอากาศตํากว่าบริ เวณ ข้างเคียง ใช้ ตัวอักษร L
  • 2. กลางวันอุณหภูมิของอากาศเหนือพืนดินสู งกว่าอุณหภูมิของอากาศเหนือพืนนํา เนืองจากดิน และนํารับความร้อนจากดวงอาทิตย์ในปริ มาณเท่ากันแต่ดินจะมีอุณหภูมิสุงกว่านํา ส่ วนกลางคืน อุณหภูมิของอากาศเหนื อพืนดินจะตํากว่าอุณหภูมิของอากาศเหนือพืนนํา เนืองจากดินคายความร้อนได้ ดีกว่านํา ปรากฏการณ์นีจะเกียวข้องกับการเกิด ลมบก ลมทะเล คือ - ในเวลากลางวัน อากาศเหนื อพืนดินร้อน ลอยตัวสู งขึน อากาศเหนือพืนนําเย็นกว่า เคลือนที เข้ามาแทนที เกิดลมพัดจากทะเลเข้าสู่ ฝัง เรี ยกว่า ลมทะเล - ในเวลากลางคืน อากาศเหนื อพืนนําร้อน ลอยตัวสู งขึน อากาศเหนือพืนดินเย็นกว่า เคลือนที เข้ามาแทนที เกิดลมพัดจากบกออกสู่ ทะเล เรี ยกว่า ลมบก จากความรู ้เรื องลมบก ลมทะเลนี ชาวประมงได้อาศัยลมดังกล่าวแล่นเรื อใบออกทะเลในเวลา ตําและกลับสู่ ฝังในตอนเช้า
  • 3. ทิศทางลม เราสามารถสังเกตทิศทางของลมว่าลมพัดมาจากทิศใด โดยอาศัยวิธีทางธรรมชาติ เช่น สังเกต จากควันไฟ ใบไม้ไหว ธงสะบัด เป็ นต้น แต่อาจใช้เป็ นสิ งกําหนดทิศทางลมได้ไม่แน่นอน ได้มีผู ้ ประดิษฐ์คิดเครื องตรวจสอบทิศทางลม เรี ยกว่า ศรลม ซึ งใช้สาหรับวัดทิศทางลมในธรรมชาติ ํ ศรลม การติดตังศรลม ควรติดตังไว้ในทีสู งๆ เช่น หลังคาบ้าน เป็ นต้น ในการวัดถ้าปลายศรชีไปทาง ่ ใด แสดงว่าลมพัดมาจากทางทิศนัน ถ้าปลายศรอยูระหว่างทิศเหนื อและทิศตะวันตก แสดงว่าลมพัดมา จากทิศตะวันตกเฉี ยงเหนื อ และถ้าศรชีระหว่างทิศใต้และทิศตะวันออกแสดงว่าลมพัดมาจากทิศ ตะวันออกเฉี ยงใต้ การวัดทิศทางลมบางครังวัดเป็ นองศา โดยกําหนดไว้ให้ทิศเหนื อ (N) เท่ากับ 0 องศา (หรื อ 360 องศา) ทิศอืนๆ จะวัดตามเข็มนาฬิกา โดยทิศตะวันออก (E) จะเป็ น 90 องศา, ทิศใต้ (S) 180 องศา และทิศตะวันตก (W) 270 องศา
  • 4. ปั จจุบนการรายงานทิศทางลมสําหรับเขียนแผนทีอากาศ ใช้รายงานเป็ นองศาดังนี เช่น ลมที ั พัดมาจากทิศตะวันออก จะเรี ยกว่า ลมตะวันออก หรื อ ลม 90 องศา ลมทีพัดมาจากทิศตะวันตกเฉี ยงใต้ เรี ยกว่า ลมตะวันตกเฉี ยงใต้ หรื อ ลม 225 องศา อัตราเร็วลม ลมมีอตราเร็ วต่างกัน ถ้าลมมีอตราเร็ วสู ง จะก่อให้เกิดความเสี ยหายทีรุ นแรง ลมทีเกิดขึนใน ั ั ธรรมชาติ ถ้ามีอตราเร็ วตังแต่ 62 กิโลเมตรต่อชัวโมง จะเริ มก่อให้เกิดความเสี ยหาย ถ้าอัตราเร็ วลม ั ั ตังแต่ 89 กิโลเมตรต่อชัวโมง จะสามารถทําความเสี ยหายให้กบอาคารบ้านเรื อนได้ ถ้าเป็ นลมพายุซึงมี อัตราเร็ วลมมากกว่า 118 กิโลเมตรต่อชัวโมง ความรุ นแรงและความเสี ยหายมีสูงมาก เครืองวัดอัตราเร็วลม