SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 11
Descargar para leer sin conexión
ใบความรู้
                              เรือง ปรากฏการณ์ ทางลมฟาอากาศ
                                                     ้




         ปรากฏการทางลมฟาอากาศ ้
          ลมฟ้ าอากาศ คือ สภาวะของบนพืนทีใด ๆ ในช่วงเวลาหนึง ส่ วน ภูมิอากาศ คือ สภาวะ
โดยทัวไปของลมฟ้ าอากาศบนพืนทีใด ๆ ในช่วงเวลานาน ๆ ลมฟ้ าอากาศหรื อภูมิอากาศมีส่วน
เกียวข้องกับกิจกรรมในชีวตประจําวัน การทราบข้อมูลข่าวสารเกียวกับภูมิอากาศจะมีส่วนช่วยเหลือ
                            ิ
                                                                                    ่
เกษตรกรในการเลือกชนิดหรื อพันธุ์พืชทีต้องการปลูกให้ได้ผลดี การสร้างบ้านเรื อนทีอยูอาศัยให้
เหมาะสมกับสภาพอากาศ ทิศทางลม หรื อทิศทางทีได้รับแสงอาทิตย์
        เมือนําจากแหล่งนําต่าง ๆ ได้รับพลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ จะระเหยกลายเป็ นไอนํา
ลอยขึนไปในอากาศ ทําให้เกิดปรากฏการณ์ธรรมชาติต่าง ๆ ขึน
                                                                    ่
        หมอก (fog) เกิดจากไอนําในอากาศกลันตัวเป็ นหยดนํา ลอยอยูในอากาศใกล้พนโลก โดย
                                                                                  ื
ขนาดของไอนําจะมีขนาดใหญ่กว่าหยดนําในเมฆ
        นําค้าง (dew) เกิดจากไอนํากลันตัวเป็ นหยดนําเล็ก ๆ เนืองจากอุณหภูมิทีลดลงในตอนกลางคืน
ทําให้อากาศอิมตัว โดยอุณหภูมิลดลงจนกระทังอากาศไม่สามารถรับไอนําได้อีกต่อไป
        ลูกเห็บ (hail) เกิดจากไอนํากกลันตัวเป็ นหยดนํา แล้วถูกพายะหอบสู งขึนไปในระดับความสู ง
ทีมีอุณหภูมิของอากาศเย็นจัด หยดนําจะกลายเป็ นเกล็ดนําแข็ง มีขนาดใหญ่ และมีนาหนักมากจน
                                                                                ํ
อากาศไม่สามารถอุมไว้ได้จึงตกลงมา บางครังเกล็ดนําแข็งนันอาจถูกพายุหอบขึนไปกระทบความเย็น
                   ้
ในบรรยากาศระดับสู งอีกก่อนตกถึงพืน ทําให้เกล็ดนําแข็งหรื อลูกเห็บมีขนาดใหญ่ขึน
        หิ มะ (snow) เกิดจากไอนําได้รับความเย็นจัด ควบแน่นเป็ นละอองนําแข็งตกลงสู่ พืน
        ฝน(Rain) เกิดจากละอองนําในก้อมเมฆซึ งเย็นจัดลง ไอนํากลันตัวเป็ นละอองนําเกาะกันมาก
                        ่
และหนักขึนจนลอยอยูไม่ได้ และตกลงมาด้วยแรงดึงดูดของโลก
ปริ มาณนําฝน หมายถึง ระดับความลึกของนําฝนในภาชนะทีรองรับนําฝน เครื องมือปริ มาณ
นําฝนเรี ยกว่า เครื องวัดนําฝน (rain gauge)

เมฆ
      เมฆคือ ละอองนําและเกล็ดนําแข็งทีรวมตัวกันเป็ นกลุ่มก้ อนลอยตัวอยู่ในชั นบรรยากาศทีเรา
สามารถมองเห็นได้ ไอนําทีควบแน่ นเป็ นละอองนํา (โดยปกติแล้วจะมีขนาด 0.01 มม) หรื อเป็ นเกล็ดนําแข็ง
ซึงเมือเกาะตัวกันเป็ นกลุ่มจะเห็นเป็ นก้อนเมฆ ก้อนเมฆนีจะสะท้อนคลืนแสงในแต่ละความยาวคลืนในช่วงทีตา
มองเห็นได้ ในระดับทีเท่าๆ กัน จึงทําให้เรามองเห็นก้อนเมฆนันเป็ นสี ขาว แต่ กสามารถมองเห็นเป็ นสี เทาหรือสี
                                                                            ็
ดําถ้ าหากเมฆนันมีความหนาแน่ นสู งมากจนแสงผ่ านไม่ ได้
         การแบ่ งประเภทและ ชนิดของเมฆ
         เมฆแบ่งได้เป็ น 10 ชนิด ตามรู ปร่ างลักษณะและระดับความสู งเหนือพืนดินของฐานเมฆ ซึ ง
แบ่งได้เป็ น 3 กลุ่มใหญ่ ได้แก่ เมฆชันตํา, เมฆชันกลาง และเมฆชันสู ง
         เมฆชันตํา มีความสู งของฐานเมฆเหนือพืนดินไม่เกิน 2 กิโลเมตร เมฆทีจัดอยูในกลุ่มนี มี
                                                                               ่
ทังหมด 5 ชนิด ประกอบด้วย




      สเตรตัส (Stratus) : เมฆแผ่นทีลอยไม่สูงมากนัก มักเกิดในตอนเช้าหรื อหลังฝนตก ถ้าลอยติดพืน
                                       จะเรี ยกว่า “หมอก”
คิวมูลส (Cumulus) : เป็ นเมฆก้อนปุกปุย สี ขาว รู ปทรงคล้ายดอกกะหลํา มักก่อตัวในแนวดิง ลอย
      ั
                กระจายห่างกัน และเกิดขึนเวลาทีสภาพอากาศแจ่มใสดี




 นิมโบสเตรตัส (Nimbostratus) : เมฆสี เทา ทําให้เกิดฝนพรํา และมักปรากฏสายฝนจากฐานเมฆ
คิวมูโลนิมบัส (Cumolonimbus) : ก้อนเมฆฝนขนาดใหญ่ยกษ์ มีรูปทรงคล้ายดอกกะหลําและก่อตัว
                                                   ั
ในแนวตังเช่นกัน ทําให้เกิดพายุฝนฟ้ าคะนอง หากลมชันบนพัดแรง ยอดเมฆจะแผ่ออกคล้ายทัง




 สเตรโตคิวมูลส (Stratocumulus) : เมฆก้อนทีไม่มีรูปทรงชัดเจน มักมีสีเทา ลอยตํา ติดกันเป็ นแพ
             ั
 และมีช่องว่างระหว่างก้อนแค่เพียงเล็กน้อยเท่านัน มักพบเห็นเมือสภาพอากาศไม่ค่อยดีนก   ั
เมฆชันกลาง มีระดับความสู งของฐานเมฆตังแต่ 2-6 กิโลเมตร มี 2 ชนิด คือ




 อัลโตสเตรตัส (Altostratus) : เมฆแผ่นหนาสี เทาทีปกคลุมท้องฟ้ าเป็ นบริ เวณกว้าง บางครังหนา
                                มากจนบดบังแสงอาทิตย์ได้




 อัลโตคิวมูลส (Altocumulus) : เมฆก้อนสี ขาว ลอยเป็ นแพห่างกันไม่มาก มีช่องว่างระหว่างก้อน
            ั
      เพียงเล็กน้อย มองดูคล้ายฝูงแกะ คล้ายเมฆเซอโรคิวมูลส แต่ขนาดใหญ่กว่ามาก
                                                         ั
เมฆชันสู ง มีความสู งทีระดับตังแต่ 6 กิโลเมตรขึนไป มี 3 ชนิด ได้แก่




เซอโรสเตรตัส (Cirrostratus) : เมหแผ่นบางๆ สี ขาว โปร่ งแสง เป็ นผลึกนําแข็ง มักปกคลุมท้องฟ้ า
           เป็ นบริ เวณกว้าง และทําให้เกิดดวงอาทิตย์หรื อดวงจันทร์ ทรงกลด




เซอโรคิวมูลส (Cirrocumulus) : เมฆสี ขาว มีลกษณะคล้ายเกล็ดบางๆ หรื อระลอกคลืนเล็กๆ เป็ น
           ั                               ั
                   ผลึกนําแข็ง โปร่ งแสง และเรี ยงรายกันเป็ นระเบียบ
เซอรัส (Cirrus) : เมฆริ ว สี ขาว โปร่ งแสง และเป็ นผลึกนําแข็ง ลักษณะคล้ายขนนกเพราะถูก
                         กระแสลมชัดบนพัด มักเกิดขึนเวลาทีสภาพอากาศดี


การเกิดนําฟา
           ้

         นําฟ้ า (precipitation) ต้องเกิดจากเมฆ ถ้าไม่มีเมฆจะไม่มีนาฟ้ า แต่เมือมีเมฆไม่จาเป็ นต้องมีนา
                                                                   ํ                     ํ            ํ
ฟ้ าเสมอไป นําฟ้ าเกิดจากการรวมตัวกันของเม็ดเมฆ (clound droplet) ซึ งมีขนาดเล็กมาก 0.1-0.2
มิลลิเมตร หรื อ 10-20 ไมครอน จํานวนเป็ นล้านเม็ด เม็ดเมฆขนาด 10-20 ไมครอนนีจะยังไม่ตกลงสู่
พืนดิน เนืองจากมีกระแสลมพัดขึนแนวตังคอยต้านไว้ไม่ให้ตกลงมาต่อเมือเม็ดเมฆรวมตัวกันโตจนมี
ขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางถึง 1 มิลลิเมตร หรื อ 1,000 ไมครอน หรื อใหญ่กว่านีมันจะตกลงมาจากเมฆ
สภาวะของนําฟ้ าทีตกลงมาจากท้องฟ้ า อาจจะเป็ นลักษณะของ ฝน หิ มะ ฝนละออง หรื อ ลูกเห็บ การที
                                         ่ ั
นําฟ้ าจะตกลงมาเป็ นสถานะใดขึนอยูกบอุณหภูมิของอากาศ

          กระบวนการของหยดนําขนาดเล็ก ผลึกนําแข็งขนาดเล็กให้มีขนาดใหญ่ขึนจนเป็ นฝนหิ มะ
หรื อ ลูกเห็บ มีอยู่ 2 กระบวนการ คือ

        1. กระบวนการชนกันและรวมตัวกัน (collision-coalescence process)

       ในก้อนเมฆก้อนหนึงจะเม็ดเมฆขนาดต่าง ๆ หลายขนาด เม็ดเมฆขนาดใหญ่มีอตราความเร็ ว
                                                                              ั
มากกว่าขนาดเล็ก เม็ดเมฆจึงเคลือนทีเข้าชนขนาดเล็กในทางเดินของมัน โดยเหตุนีเม็ดขนาดใหญ่และ
เล็กจึงชนกันเกิดการรวมตัวมีขนาดใหญ่ยงขึน เมือมีขนาดใหญ่มากก็อาจแยกออกเป็ นขนาดกลาง มีการ
                                            ิ
วิงชนกันกลายเป็ นเม็ดนําขนาดใหญ่ขึน กระบวนการนีเกิดขึนอย่างรวดเร็ วและต่อเนืองเรื อย ๆ เป็ น
ปฏิกิริยาลูกโซ่ จนได้นาฟ้ าจํานวนมากตกลงจากเมฆ ลักษณะเช่นนีจะเกิดจากเมฆทีมีอุณหภูมิสูงกว่า 0
                       ํ
องศาเซลเซี ยส เป็ นเมฆอุ่นจึงเรี ยกนําฟ้ าทีเกิดจากเมฆชนิดนีว่า นําฟ้ าจากเมฆอุ่น (warm-cloud
precipitation) มักเกิดในแถบโซนร้อน

        2. กระบวนการเบอร์ เจอรอน (Bergeron process)

         กระบวนการนี จะเกิดในเมฆเย็นซึ งประกอบด้วยผลึกนําแข็ง ไอนํา และนําปนกันอยู่ ซึงทัง 3
              ่ ้
สภาวะจะอยูดวยกันในเมฆทีมีอุณหภูมิตากว่า 0 องศาเซลเซี ยส โดยนําทีมีอุณหภูมิตากว่า 0 องศา
                                          ํ                                        ํ
                                                              ่
เซลเซี ยสเรี ยกว่า นําเย็นยิงยวด (supercooled water) ซึ งมีอยูในธรรมชาติเสมอและเป็ นปรากฏการณ์
ธรรมดา หยดนําเย็นยิงยวดนี มีการรวมตัวกับผลึกนําแข็งขนาดเล็กให้มีขนาดใหญ่ขึน ๆ เนืองจากความ
ดันไอนําอิมตัวในนําแข็งมีค่าน้อยกว่านํา ดังนันหยดนําจึงมีการควบแน่นบนนําแข็งและทําให้ผลึกมี
ขนาดใหญ่ขึน เมือผลึกนําแข็งโตพอก็จะตกจากเมฆ เป็ นหิ มะ แต่ถาอุณหภูมิของบรรยากาศสู งกว่า 0
                                                                   ้
องศาเซลเซี ยส ก็อาจตกลงเป็ นฝนได้ การเกิดนําฟ้ าแบบนีเกิดจากเมฆเย็น จึงเรี ยกว่านําฟ้ าจากเมฆเย็น
(cold-clod precipitation) มีนกวิทยาศาสตร์ ทีเกียวข้องในการค้นพบกระบวนการนี 3 ท่าน คือ อัลเฟรด
                               ั
เวกเนอร์ (Alfred Wegener) ฟิ นเดเซน (Findeisen) และเบอร์ เจอรอน (Bergeron) บางครังจึงเรี ยก
กระบวนการนี ว่า กระบวนการเวกเนอร์ -เบอร์ เจอรอน-ฟิ นเดเซน (Wegener-Bergeron-Findeisen
process)

        หยาดนําฟา หมายถึง นําทีอยูในสถานะของแข็งหรื อของเหลวทีตกมาจากบรรยากาศสู่
                  ้                   ่
พืนโลก หรื ออาจกล่าวได้วา หยาดนําฟ้ าเป็ นส่ วนหนึงของวัฏจักรของนําทีตกลงมาสู่ พืนโลกใน
                           ่
รู ปแบบต่าง ๆ ได้แก่ ฝน หิ มะ ลูกเห็บ นําค้าง นําค้างแข็ง และหมอก

         ลูกเห็บ และหิมะ
         ตอนบนของเมฆคิวมูโลนิมบัสและเมฆอัลโตสเตรตัสมีอุณหภูมิตากว่าจุดเยือกแข็ง ไอนําส่ วน
                                                                   ํ
           ่
ใหญ่จะอยูในรู ปของผลึกนําแข็ง และเนืองจากตรงกลางของก้อนเมฆมีอุณหภูมิสูงกว่า ผลึก
นําแข็งทีเคลือนทีขึนลงระหว่างชันของก้อนเมฆจึงถูกหุ มด้วยหยดนําทีมีความเย็นจัด ผลึกนําแข็ง
                                                   ้
ทีหุ มด้วยหยดนําเหล่านีจึงมีขนาดโตขึนเรื อย ๆ จนหนักพอทีจะตกผ่านกระแสลมทีพัดสวนทางขึน
     ้
ไป และตามทางทีตกลงมา ถ้าอุณหภูมิของอากาศบริ เวณพืนผิวโลกตํากว่าจุดเยือกแข็ง ผลึกนําแข็งที
ตกลงมาจะตกลงมาในรู ปของ หิมะ (Snow) แต่ถาอากาศเหนือพืนผิวโลกอุ่น ผลึกนําแข็งจะหลอมเหลว
                                              ้
กลายเป็ น หยดนําฝน (Rain) และถ้ากระแสอากาศพัดขึนค่อนข้างแรงผลึกนําแข็งอาจเคลือนทีขึนลงใน
ก้อนเมฆหลายรอบ ระหว่างเคลือนทีขึนลงนี ผลึกนําแข็งจะมีขนาดโตขึนเรื อย ๆในทีสุ ดก็จะตกลงมา
เป็ น ลูกเห็บ (Hail)
           ลูกเห็บ คือ ก้อนนําแข็งทีเกิดจากกระแสอากาศแรงในเมฆจะพาหยดนําฝนขึนไปแข็งตัวใน
ระดับสู งเกิดเป็ นก้อนนําแข็ง ก้อนนําแข็งก็จะถูกพอกตัวใหญ่ขึน ในทีสุ ดก็จะตกลงมาเป็ นลูกเห็บ บาง
ทีอาจมีขนาดใหญ่เท่าลูกเทนนิส
         ลูกเห็บเกิดจากทีสู งมากจากพืนโลก กระแสลมแรงพัดพาเม็ดฝนขึนไปในกลุ่มเมฆทีฟ้ าคะนอง
ในทีสู งอากาศเย็นมากทําให้เม็ดฝนแข็งตัว ยิงขึนไปสู งยังมีเกร็ ดหิ มะเข้ามาเกาะเม็ดนําแข็ง ครันตกลง
มาอีกส่ วนล่างของกลุ่มเมฆซึ งเย็นน้อยกว่าด้านบน ความชืนเข้าไปห่อหุ มเม็ดนําแข็ง แล้วกระแสลมก็
                                                                        ้
พัดเอาเม็ดนําแข็งกลับขึนไปด้านบนของกลุ่มเมฆอีก ทีอุณหภูมิความชืนรอบ ๆ เม็ดนําแข็งพอกเพิมเข้า
ไปอีกชันหนึง เม็ดนําแข็งก็โตขึนอีกนิด
        เม็ดนําแข็งลอยสู งแล้วตกลงมา วนซําไปมาหลายครังในกลุ่มเมฆ ในขณะเดียวกันเม็ดนําแข็ง
สะสมความชืนทีด้านล่าง ซึ งต่อไปจะแข็งตัวในทีสู งเย็น ด้วยกระบวนการเช่นนี เม็ดนําแข็งก็ใหญ่ขึน
ทุกที เมือใดทีมันใหญ่กว่ากระแสลมพายุจะพยุงมันไว้ได้ มันก็จะตกจากอากาศลงยังพืนดิน เรี ยกว่า
ลูกเห็บ ถ้าเราทุบก้อนลูกเห็บโต ๆ ทีเพิงตกถึงพืนให้แตกครึ ง เราจะเห็นภายในลักษณะเป็ นวงชัน
นําแข็ง ซึ งแสดงถึงการก่อเกิดลูกเห็บ




      หมอก นําค้ าง และนําค้ างแข็ง
      หมอก เป็ นเมฆในระดับตําชนิดหนึงทีประกอบด้วยอานุภาคของละอองหยดนําทีมี
ขนาดใหญ่กว่าละอองหยดนําในเมฆ หมอกเกิดจากอากาศชืนเย็นตัวและลอยตําใกล้พนผิวโลก
                                                                     ื
ในขณะทีเมฆเกิดจากอากาศชืนเย็นตัวในระดับสู งจากพืนผิวโลก
นําค้ าง เกิดจากการกลันตัวของไอนําใน
อากาศทีระดับพืนผิวโลก ทังนีเพราะอุณหภูมิ
ของอากาศตําลง อากาศไม่สามารถรับไอนําได้
ทังหมดอีกต่อไป เรี ยกอุณหภูมินีว่า จุดนําค้ าง
และถ้าอากาศยังคงเย็นลงต่อไปเรื อย ๆ
จนกระทังลดตําลงจนถึง จุดเยือกแข็ง จะทําให้
เกิดเป็ น นําค้ างแข็ง เกาะตามพืชหรื อพืนผิวโลก
ทัวไป                                                นําค้ างแข็งทีเกาะอยู่บนกลีบดอกไม้ มลกษณะ
                                                                                         ีั
                                                     เหมือนกับนําตาลทีเคลือบบนขนม
ผลกระทบและภัยอันตรายจากพายุฝนฟาคะนอง      ้
          ปรากฏการณ์ทางลมฟ้ าอากาศ
มีผลกระทบต่อมนุษย์และสิ งแวดล้อม
ในช่วงระหว่างกลางเดือนพฤษภาคม
ถึงกลางเดือนตุลาคม ของทุกปี ประเทศต่าง ๆ
     ่
มีอยูในแทบเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้มกได้รับ
                                        ั
ความเสี ยหายจากอิทธิ พลของลมมรสุ ม
ตะวันตกเฉี ยงใต้ดงนี  ั
          1) ปัญหาปริมาณฝนทีมากเกินไป ทําให้ระดับนําในแหล่งนําต่าง ๆ สู งเอ่อจนล้นเข้าไปใน
ทุ่งนา แหล่งเกษตรกรรม อาคารบ้านเรื อน และสถานทีก่อสร้างสําคัญ ๆ ก่อให้เกิดความเสี ยหาย
อย่างมาก
          2) ทําให้ เกิดนําท่ วมฉลับพลัน ซึ งเป็ นภาวะนําท่วมทีเกิดขึนอย่างรวดเร็ ว และเป็ นอันตราย
อย่างยิง เนืองจากประชาชนไม่รู้ตวมาก่อน นําฝนทีมีปริ มาณมากมายจะไหลมารวมกันบริ เวณที
                                    ั
ราบตําและแม่นาต่าง ๆ และเกิดการไหลของนําอย่างเชียวกรากทําให้เกิดความเสี ยหายแก่บานเรื อน
                  ํ                                                                          ้
ถนน ต้นไม้ และเขือน
ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
supap6259
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
Inmylove Nupad
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
สำเร็จ นางสีคุณ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
savokclash
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
SophinyaDara
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นแบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่น
rumpin
 

La actualidad más candente (20)

สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติ
 
โครงงาน อนุรักษ์หนองน้ำสร้าง (จริง)
โครงงาน อนุรักษ์หนองน้ำสร้าง  (จริง)โครงงาน อนุรักษ์หนองน้ำสร้าง  (จริง)
โครงงาน อนุรักษ์หนองน้ำสร้าง (จริง)
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
 
แสง และการมองเห็น
แสง และการมองเห็นแสง และการมองเห็น
แสง และการมองเห็น
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียงแผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นแบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
 
เรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆเรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆ
 
แบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นแบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่น
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 

Similar a ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ

การวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนการวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝน
dnavaroj
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
Wannaporn Sukthawee
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
Wannaporn Sukthawee
 
พายุหมุนเขตร้อน
พายุหมุนเขตร้อนพายุหมุนเขตร้อน
พายุหมุนเขตร้อน
dnavaroj
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
Wannaporn Sukthawee
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
Khwankamon Changwiriya
 
โครงการในพระราชดำริฝนหลวง
โครงการในพระราชดำริฝนหลวงโครงการในพระราชดำริฝนหลวง
โครงการในพระราชดำริฝนหลวง
Tanwalai Kullawong
 
พายุฟ้าคะนอง
พายุฟ้าคะนองพายุฟ้าคะนอง
พายุฟ้าคะนอง
dnavaroj
 
หนังสือเล่มเล็ก พร้อม ปริ้น ใหม่
หนังสือเล่มเล็ก พร้อม ปริ้น ใหม่หนังสือเล่มเล็ก พร้อม ปริ้น ใหม่
หนังสือเล่มเล็ก พร้อม ปริ้น ใหม่
0857099227
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
Wannaporn Sukthawee
 

Similar a ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ (20)

Sci31101 cloud
Sci31101 cloudSci31101 cloud
Sci31101 cloud
 
การวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝนการวัดปริมาณน้ำฝน
การวัดปริมาณน้ำฝน
 
_cloud__rain.pptx
_cloud__rain.pptx_cloud__rain.pptx
_cloud__rain.pptx
 
ลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศ
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
Sci31101 rain
Sci31101 rainSci31101 rain
Sci31101 rain
 
เอกสารประกอบการติวo net57 สพฐ. วิทยาศาสตร์ป.6
เอกสารประกอบการติวo net57 สพฐ. วิทยาศาสตร์ป.6เอกสารประกอบการติวo net57 สพฐ. วิทยาศาสตร์ป.6
เอกสารประกอบการติวo net57 สพฐ. วิทยาศาสตร์ป.6
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
การแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศการแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศ
 
วาตภัย
วาตภัยวาตภัย
วาตภัย
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
พายุหมุนเขตร้อน
พายุหมุนเขตร้อนพายุหมุนเขตร้อน
พายุหมุนเขตร้อน
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
 
โครงการในพระราชดำริฝนหลวง
โครงการในพระราชดำริฝนหลวงโครงการในพระราชดำริฝนหลวง
โครงการในพระราชดำริฝนหลวง
 
พายุฟ้าคะนอง
พายุฟ้าคะนองพายุฟ้าคะนอง
พายุฟ้าคะนอง
 
หนังสือเล่มเล็ก พร้อม ปริ้น ใหม่
หนังสือเล่มเล็ก พร้อม ปริ้น ใหม่หนังสือเล่มเล็ก พร้อม ปริ้น ใหม่
หนังสือเล่มเล็ก พร้อม ปริ้น ใหม่
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 

Más de dnavaroj

บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
dnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
dnavaroj
 

Más de dnavaroj (20)

เอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysisเอกสารประกอบการอบรม Analysis
เอกสารประกอบการอบรม Analysis
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
 
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
 
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
บทความวิจัย การเปลี่ยนแปลงทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม ในทักษะศตวรรษที่ 21...
 
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
Pocketbook ร้อยเรียงเรื่องราว พพปญ.รร.ญสส.
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
 
Science.m.3.2
Science.m.3.2Science.m.3.2
Science.m.3.2
 
Science.m.3.1
Science.m.3.1Science.m.3.1
Science.m.3.1
 
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
สรุปงายงานวิจัยเพาะพันธุ์ปัญญ รร.ญสส.(ฉบับสมบูรณ์)
 
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
สบู่สมุนไพรข่าสร้างรายได้
 
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
น้ำพริกสมุนไพรข่าสร้างรายได้
 
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกันการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
 
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าการยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
Project pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyanProject pohpanpunya somdejyan
Project pohpanpunya somdejyan
 

ปรากฏการทางลมฟ้าอากาศ

  • 1. ใบความรู้ เรือง ปรากฏการณ์ ทางลมฟาอากาศ ้ ปรากฏการทางลมฟาอากาศ ้ ลมฟ้ าอากาศ คือ สภาวะของบนพืนทีใด ๆ ในช่วงเวลาหนึง ส่ วน ภูมิอากาศ คือ สภาวะ โดยทัวไปของลมฟ้ าอากาศบนพืนทีใด ๆ ในช่วงเวลานาน ๆ ลมฟ้ าอากาศหรื อภูมิอากาศมีส่วน เกียวข้องกับกิจกรรมในชีวตประจําวัน การทราบข้อมูลข่าวสารเกียวกับภูมิอากาศจะมีส่วนช่วยเหลือ ิ ่ เกษตรกรในการเลือกชนิดหรื อพันธุ์พืชทีต้องการปลูกให้ได้ผลดี การสร้างบ้านเรื อนทีอยูอาศัยให้ เหมาะสมกับสภาพอากาศ ทิศทางลม หรื อทิศทางทีได้รับแสงอาทิตย์ เมือนําจากแหล่งนําต่าง ๆ ได้รับพลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ จะระเหยกลายเป็ นไอนํา ลอยขึนไปในอากาศ ทําให้เกิดปรากฏการณ์ธรรมชาติต่าง ๆ ขึน ่ หมอก (fog) เกิดจากไอนําในอากาศกลันตัวเป็ นหยดนํา ลอยอยูในอากาศใกล้พนโลก โดย ื ขนาดของไอนําจะมีขนาดใหญ่กว่าหยดนําในเมฆ นําค้าง (dew) เกิดจากไอนํากลันตัวเป็ นหยดนําเล็ก ๆ เนืองจากอุณหภูมิทีลดลงในตอนกลางคืน ทําให้อากาศอิมตัว โดยอุณหภูมิลดลงจนกระทังอากาศไม่สามารถรับไอนําได้อีกต่อไป ลูกเห็บ (hail) เกิดจากไอนํากกลันตัวเป็ นหยดนํา แล้วถูกพายะหอบสู งขึนไปในระดับความสู ง ทีมีอุณหภูมิของอากาศเย็นจัด หยดนําจะกลายเป็ นเกล็ดนําแข็ง มีขนาดใหญ่ และมีนาหนักมากจน ํ อากาศไม่สามารถอุมไว้ได้จึงตกลงมา บางครังเกล็ดนําแข็งนันอาจถูกพายุหอบขึนไปกระทบความเย็น ้ ในบรรยากาศระดับสู งอีกก่อนตกถึงพืน ทําให้เกล็ดนําแข็งหรื อลูกเห็บมีขนาดใหญ่ขึน หิ มะ (snow) เกิดจากไอนําได้รับความเย็นจัด ควบแน่นเป็ นละอองนําแข็งตกลงสู่ พืน ฝน(Rain) เกิดจากละอองนําในก้อมเมฆซึ งเย็นจัดลง ไอนํากลันตัวเป็ นละอองนําเกาะกันมาก ่ และหนักขึนจนลอยอยูไม่ได้ และตกลงมาด้วยแรงดึงดูดของโลก
  • 2. ปริ มาณนําฝน หมายถึง ระดับความลึกของนําฝนในภาชนะทีรองรับนําฝน เครื องมือปริ มาณ นําฝนเรี ยกว่า เครื องวัดนําฝน (rain gauge) เมฆ เมฆคือ ละอองนําและเกล็ดนําแข็งทีรวมตัวกันเป็ นกลุ่มก้ อนลอยตัวอยู่ในชั นบรรยากาศทีเรา สามารถมองเห็นได้ ไอนําทีควบแน่ นเป็ นละอองนํา (โดยปกติแล้วจะมีขนาด 0.01 มม) หรื อเป็ นเกล็ดนําแข็ง ซึงเมือเกาะตัวกันเป็ นกลุ่มจะเห็นเป็ นก้อนเมฆ ก้อนเมฆนีจะสะท้อนคลืนแสงในแต่ละความยาวคลืนในช่วงทีตา มองเห็นได้ ในระดับทีเท่าๆ กัน จึงทําให้เรามองเห็นก้อนเมฆนันเป็ นสี ขาว แต่ กสามารถมองเห็นเป็ นสี เทาหรือสี ็ ดําถ้ าหากเมฆนันมีความหนาแน่ นสู งมากจนแสงผ่ านไม่ ได้ การแบ่ งประเภทและ ชนิดของเมฆ เมฆแบ่งได้เป็ น 10 ชนิด ตามรู ปร่ างลักษณะและระดับความสู งเหนือพืนดินของฐานเมฆ ซึ ง แบ่งได้เป็ น 3 กลุ่มใหญ่ ได้แก่ เมฆชันตํา, เมฆชันกลาง และเมฆชันสู ง เมฆชันตํา มีความสู งของฐานเมฆเหนือพืนดินไม่เกิน 2 กิโลเมตร เมฆทีจัดอยูในกลุ่มนี มี ่ ทังหมด 5 ชนิด ประกอบด้วย สเตรตัส (Stratus) : เมฆแผ่นทีลอยไม่สูงมากนัก มักเกิดในตอนเช้าหรื อหลังฝนตก ถ้าลอยติดพืน จะเรี ยกว่า “หมอก”
  • 3. คิวมูลส (Cumulus) : เป็ นเมฆก้อนปุกปุย สี ขาว รู ปทรงคล้ายดอกกะหลํา มักก่อตัวในแนวดิง ลอย ั กระจายห่างกัน และเกิดขึนเวลาทีสภาพอากาศแจ่มใสดี นิมโบสเตรตัส (Nimbostratus) : เมฆสี เทา ทําให้เกิดฝนพรํา และมักปรากฏสายฝนจากฐานเมฆ
  • 4. คิวมูโลนิมบัส (Cumolonimbus) : ก้อนเมฆฝนขนาดใหญ่ยกษ์ มีรูปทรงคล้ายดอกกะหลําและก่อตัว ั ในแนวตังเช่นกัน ทําให้เกิดพายุฝนฟ้ าคะนอง หากลมชันบนพัดแรง ยอดเมฆจะแผ่ออกคล้ายทัง สเตรโตคิวมูลส (Stratocumulus) : เมฆก้อนทีไม่มีรูปทรงชัดเจน มักมีสีเทา ลอยตํา ติดกันเป็ นแพ ั และมีช่องว่างระหว่างก้อนแค่เพียงเล็กน้อยเท่านัน มักพบเห็นเมือสภาพอากาศไม่ค่อยดีนก ั
  • 5. เมฆชันกลาง มีระดับความสู งของฐานเมฆตังแต่ 2-6 กิโลเมตร มี 2 ชนิด คือ อัลโตสเตรตัส (Altostratus) : เมฆแผ่นหนาสี เทาทีปกคลุมท้องฟ้ าเป็ นบริ เวณกว้าง บางครังหนา มากจนบดบังแสงอาทิตย์ได้ อัลโตคิวมูลส (Altocumulus) : เมฆก้อนสี ขาว ลอยเป็ นแพห่างกันไม่มาก มีช่องว่างระหว่างก้อน ั เพียงเล็กน้อย มองดูคล้ายฝูงแกะ คล้ายเมฆเซอโรคิวมูลส แต่ขนาดใหญ่กว่ามาก ั
  • 6. เมฆชันสู ง มีความสู งทีระดับตังแต่ 6 กิโลเมตรขึนไป มี 3 ชนิด ได้แก่ เซอโรสเตรตัส (Cirrostratus) : เมหแผ่นบางๆ สี ขาว โปร่ งแสง เป็ นผลึกนําแข็ง มักปกคลุมท้องฟ้ า เป็ นบริ เวณกว้าง และทําให้เกิดดวงอาทิตย์หรื อดวงจันทร์ ทรงกลด เซอโรคิวมูลส (Cirrocumulus) : เมฆสี ขาว มีลกษณะคล้ายเกล็ดบางๆ หรื อระลอกคลืนเล็กๆ เป็ น ั ั ผลึกนําแข็ง โปร่ งแสง และเรี ยงรายกันเป็ นระเบียบ
  • 7. เซอรัส (Cirrus) : เมฆริ ว สี ขาว โปร่ งแสง และเป็ นผลึกนําแข็ง ลักษณะคล้ายขนนกเพราะถูก กระแสลมชัดบนพัด มักเกิดขึนเวลาทีสภาพอากาศดี การเกิดนําฟา ้ นําฟ้ า (precipitation) ต้องเกิดจากเมฆ ถ้าไม่มีเมฆจะไม่มีนาฟ้ า แต่เมือมีเมฆไม่จาเป็ นต้องมีนา ํ ํ ํ ฟ้ าเสมอไป นําฟ้ าเกิดจากการรวมตัวกันของเม็ดเมฆ (clound droplet) ซึ งมีขนาดเล็กมาก 0.1-0.2 มิลลิเมตร หรื อ 10-20 ไมครอน จํานวนเป็ นล้านเม็ด เม็ดเมฆขนาด 10-20 ไมครอนนีจะยังไม่ตกลงสู่ พืนดิน เนืองจากมีกระแสลมพัดขึนแนวตังคอยต้านไว้ไม่ให้ตกลงมาต่อเมือเม็ดเมฆรวมตัวกันโตจนมี ขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางถึง 1 มิลลิเมตร หรื อ 1,000 ไมครอน หรื อใหญ่กว่านีมันจะตกลงมาจากเมฆ สภาวะของนําฟ้ าทีตกลงมาจากท้องฟ้ า อาจจะเป็ นลักษณะของ ฝน หิ มะ ฝนละออง หรื อ ลูกเห็บ การที ่ ั นําฟ้ าจะตกลงมาเป็ นสถานะใดขึนอยูกบอุณหภูมิของอากาศ กระบวนการของหยดนําขนาดเล็ก ผลึกนําแข็งขนาดเล็กให้มีขนาดใหญ่ขึนจนเป็ นฝนหิ มะ หรื อ ลูกเห็บ มีอยู่ 2 กระบวนการ คือ 1. กระบวนการชนกันและรวมตัวกัน (collision-coalescence process) ในก้อนเมฆก้อนหนึงจะเม็ดเมฆขนาดต่าง ๆ หลายขนาด เม็ดเมฆขนาดใหญ่มีอตราความเร็ ว ั มากกว่าขนาดเล็ก เม็ดเมฆจึงเคลือนทีเข้าชนขนาดเล็กในทางเดินของมัน โดยเหตุนีเม็ดขนาดใหญ่และ
  • 8. เล็กจึงชนกันเกิดการรวมตัวมีขนาดใหญ่ยงขึน เมือมีขนาดใหญ่มากก็อาจแยกออกเป็ นขนาดกลาง มีการ ิ วิงชนกันกลายเป็ นเม็ดนําขนาดใหญ่ขึน กระบวนการนีเกิดขึนอย่างรวดเร็ วและต่อเนืองเรื อย ๆ เป็ น ปฏิกิริยาลูกโซ่ จนได้นาฟ้ าจํานวนมากตกลงจากเมฆ ลักษณะเช่นนีจะเกิดจากเมฆทีมีอุณหภูมิสูงกว่า 0 ํ องศาเซลเซี ยส เป็ นเมฆอุ่นจึงเรี ยกนําฟ้ าทีเกิดจากเมฆชนิดนีว่า นําฟ้ าจากเมฆอุ่น (warm-cloud precipitation) มักเกิดในแถบโซนร้อน 2. กระบวนการเบอร์ เจอรอน (Bergeron process) กระบวนการนี จะเกิดในเมฆเย็นซึ งประกอบด้วยผลึกนําแข็ง ไอนํา และนําปนกันอยู่ ซึงทัง 3 ่ ้ สภาวะจะอยูดวยกันในเมฆทีมีอุณหภูมิตากว่า 0 องศาเซลเซี ยส โดยนําทีมีอุณหภูมิตากว่า 0 องศา ํ ํ ่ เซลเซี ยสเรี ยกว่า นําเย็นยิงยวด (supercooled water) ซึ งมีอยูในธรรมชาติเสมอและเป็ นปรากฏการณ์ ธรรมดา หยดนําเย็นยิงยวดนี มีการรวมตัวกับผลึกนําแข็งขนาดเล็กให้มีขนาดใหญ่ขึน ๆ เนืองจากความ ดันไอนําอิมตัวในนําแข็งมีค่าน้อยกว่านํา ดังนันหยดนําจึงมีการควบแน่นบนนําแข็งและทําให้ผลึกมี ขนาดใหญ่ขึน เมือผลึกนําแข็งโตพอก็จะตกจากเมฆ เป็ นหิ มะ แต่ถาอุณหภูมิของบรรยากาศสู งกว่า 0 ้ องศาเซลเซี ยส ก็อาจตกลงเป็ นฝนได้ การเกิดนําฟ้ าแบบนีเกิดจากเมฆเย็น จึงเรี ยกว่านําฟ้ าจากเมฆเย็น (cold-clod precipitation) มีนกวิทยาศาสตร์ ทีเกียวข้องในการค้นพบกระบวนการนี 3 ท่าน คือ อัลเฟรด ั เวกเนอร์ (Alfred Wegener) ฟิ นเดเซน (Findeisen) และเบอร์ เจอรอน (Bergeron) บางครังจึงเรี ยก กระบวนการนี ว่า กระบวนการเวกเนอร์ -เบอร์ เจอรอน-ฟิ นเดเซน (Wegener-Bergeron-Findeisen process) หยาดนําฟา หมายถึง นําทีอยูในสถานะของแข็งหรื อของเหลวทีตกมาจากบรรยากาศสู่ ้ ่ พืนโลก หรื ออาจกล่าวได้วา หยาดนําฟ้ าเป็ นส่ วนหนึงของวัฏจักรของนําทีตกลงมาสู่ พืนโลกใน ่ รู ปแบบต่าง ๆ ได้แก่ ฝน หิ มะ ลูกเห็บ นําค้าง นําค้างแข็ง และหมอก ลูกเห็บ และหิมะ ตอนบนของเมฆคิวมูโลนิมบัสและเมฆอัลโตสเตรตัสมีอุณหภูมิตากว่าจุดเยือกแข็ง ไอนําส่ วน ํ ่ ใหญ่จะอยูในรู ปของผลึกนําแข็ง และเนืองจากตรงกลางของก้อนเมฆมีอุณหภูมิสูงกว่า ผลึก นําแข็งทีเคลือนทีขึนลงระหว่างชันของก้อนเมฆจึงถูกหุ มด้วยหยดนําทีมีความเย็นจัด ผลึกนําแข็ง ้ ทีหุ มด้วยหยดนําเหล่านีจึงมีขนาดโตขึนเรื อย ๆ จนหนักพอทีจะตกผ่านกระแสลมทีพัดสวนทางขึน ้ ไป และตามทางทีตกลงมา ถ้าอุณหภูมิของอากาศบริ เวณพืนผิวโลกตํากว่าจุดเยือกแข็ง ผลึกนําแข็งที ตกลงมาจะตกลงมาในรู ปของ หิมะ (Snow) แต่ถาอากาศเหนือพืนผิวโลกอุ่น ผลึกนําแข็งจะหลอมเหลว ้ กลายเป็ น หยดนําฝน (Rain) และถ้ากระแสอากาศพัดขึนค่อนข้างแรงผลึกนําแข็งอาจเคลือนทีขึนลงใน
  • 9. ก้อนเมฆหลายรอบ ระหว่างเคลือนทีขึนลงนี ผลึกนําแข็งจะมีขนาดโตขึนเรื อย ๆในทีสุ ดก็จะตกลงมา เป็ น ลูกเห็บ (Hail) ลูกเห็บ คือ ก้อนนําแข็งทีเกิดจากกระแสอากาศแรงในเมฆจะพาหยดนําฝนขึนไปแข็งตัวใน ระดับสู งเกิดเป็ นก้อนนําแข็ง ก้อนนําแข็งก็จะถูกพอกตัวใหญ่ขึน ในทีสุ ดก็จะตกลงมาเป็ นลูกเห็บ บาง ทีอาจมีขนาดใหญ่เท่าลูกเทนนิส ลูกเห็บเกิดจากทีสู งมากจากพืนโลก กระแสลมแรงพัดพาเม็ดฝนขึนไปในกลุ่มเมฆทีฟ้ าคะนอง ในทีสู งอากาศเย็นมากทําให้เม็ดฝนแข็งตัว ยิงขึนไปสู งยังมีเกร็ ดหิ มะเข้ามาเกาะเม็ดนําแข็ง ครันตกลง มาอีกส่ วนล่างของกลุ่มเมฆซึ งเย็นน้อยกว่าด้านบน ความชืนเข้าไปห่อหุ มเม็ดนําแข็ง แล้วกระแสลมก็ ้ พัดเอาเม็ดนําแข็งกลับขึนไปด้านบนของกลุ่มเมฆอีก ทีอุณหภูมิความชืนรอบ ๆ เม็ดนําแข็งพอกเพิมเข้า ไปอีกชันหนึง เม็ดนําแข็งก็โตขึนอีกนิด เม็ดนําแข็งลอยสู งแล้วตกลงมา วนซําไปมาหลายครังในกลุ่มเมฆ ในขณะเดียวกันเม็ดนําแข็ง สะสมความชืนทีด้านล่าง ซึ งต่อไปจะแข็งตัวในทีสู งเย็น ด้วยกระบวนการเช่นนี เม็ดนําแข็งก็ใหญ่ขึน ทุกที เมือใดทีมันใหญ่กว่ากระแสลมพายุจะพยุงมันไว้ได้ มันก็จะตกจากอากาศลงยังพืนดิน เรี ยกว่า ลูกเห็บ ถ้าเราทุบก้อนลูกเห็บโต ๆ ทีเพิงตกถึงพืนให้แตกครึ ง เราจะเห็นภายในลักษณะเป็ นวงชัน นําแข็ง ซึ งแสดงถึงการก่อเกิดลูกเห็บ หมอก นําค้ าง และนําค้ างแข็ง หมอก เป็ นเมฆในระดับตําชนิดหนึงทีประกอบด้วยอานุภาคของละอองหยดนําทีมี ขนาดใหญ่กว่าละอองหยดนําในเมฆ หมอกเกิดจากอากาศชืนเย็นตัวและลอยตําใกล้พนผิวโลก ื ในขณะทีเมฆเกิดจากอากาศชืนเย็นตัวในระดับสู งจากพืนผิวโลก
  • 10. นําค้ าง เกิดจากการกลันตัวของไอนําใน อากาศทีระดับพืนผิวโลก ทังนีเพราะอุณหภูมิ ของอากาศตําลง อากาศไม่สามารถรับไอนําได้ ทังหมดอีกต่อไป เรี ยกอุณหภูมินีว่า จุดนําค้ าง และถ้าอากาศยังคงเย็นลงต่อไปเรื อย ๆ จนกระทังลดตําลงจนถึง จุดเยือกแข็ง จะทําให้ เกิดเป็ น นําค้ างแข็ง เกาะตามพืชหรื อพืนผิวโลก ทัวไป นําค้ างแข็งทีเกาะอยู่บนกลีบดอกไม้ มลกษณะ ีั เหมือนกับนําตาลทีเคลือบบนขนม ผลกระทบและภัยอันตรายจากพายุฝนฟาคะนอง ้ ปรากฏการณ์ทางลมฟ้ าอากาศ มีผลกระทบต่อมนุษย์และสิ งแวดล้อม ในช่วงระหว่างกลางเดือนพฤษภาคม ถึงกลางเดือนตุลาคม ของทุกปี ประเทศต่าง ๆ ่ มีอยูในแทบเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้มกได้รับ ั ความเสี ยหายจากอิทธิ พลของลมมรสุ ม ตะวันตกเฉี ยงใต้ดงนี ั 1) ปัญหาปริมาณฝนทีมากเกินไป ทําให้ระดับนําในแหล่งนําต่าง ๆ สู งเอ่อจนล้นเข้าไปใน ทุ่งนา แหล่งเกษตรกรรม อาคารบ้านเรื อน และสถานทีก่อสร้างสําคัญ ๆ ก่อให้เกิดความเสี ยหาย อย่างมาก 2) ทําให้ เกิดนําท่ วมฉลับพลัน ซึ งเป็ นภาวะนําท่วมทีเกิดขึนอย่างรวดเร็ ว และเป็ นอันตราย อย่างยิง เนืองจากประชาชนไม่รู้ตวมาก่อน นําฝนทีมีปริ มาณมากมายจะไหลมารวมกันบริ เวณที ั ราบตําและแม่นาต่าง ๆ และเกิดการไหลของนําอย่างเชียวกรากทําให้เกิดความเสี ยหายแก่บานเรื อน ํ ้ ถนน ต้นไม้ และเขือน