SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 14
Descargar para leer sin conexión
การเตรียมผู้ป่ วยเพื่อระงับความรู้สึก
ในกรณี Elective case
โดย
อำไพ สำรขันธ์
วิสัญญีพยาบาล
โรงพยาบาลมะเร็งอุดรธานี
ขั้นตอนการเตรียมการระงับความรู้สึก
ก. การเตรียมทางด้านร่างกาย
วัตถุประสงค์
- เพื่อให้ทราบปัญหาต่างๆ อันอาจจะทาให้ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการวาง
ยาสลบและผ่าตัดมากขึ้น
- สามารถปรึกษาวิสัญญีแพทย์ ในการจัดให้การดูแลรักษาให้
ผู้ป่วยอยู่ในสภาวะปกติ หรือใกล้เคียงปกติ ก่อนจะนาผู้ป่วยไป
รับการวางยาสลบและผ่าตัด
- ลดอัตราเสี่ยงการตายของผู้ป่วยลง
ประกอบด้วย
1. การซักประวัติ
- ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต, โรคประจาตัว
- ประวัติการผ่าตัด, การวางยาสลบหรือได้รับยาชาในอดีต ว่ามีปัญหา
หรือไม่จะได้ป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นอีก เช่น ใส่ท่อช่วยหายใจลาบาก,
ตัวเหลือง ภายหลังได้รับยาสลบ หรืออาการแพ้ยาต่างๆ
- ประวัติการใช้ยาชาที่ใช้อยู่ประจา ซึ่งมีความสาคัญต่อการวาง
ยาสลบ เพราะอาจเกิดปฏิกิริยาของยาเหล่านั้น ในระหว่างดม
ยาสลบได้เช่น ยาลดความดันโลหิต, ยากล่อมประสาท, สเตียรอยด์,
ยารักษาโรคเบาหวาน เป็นต้น
1. การซักประวัติ (ต่อ)
- ประวัติโรคประจาตัวที่มีอยู่ ได้แก่ โรคหัวใจ, ความดันโลหิตสูง,
เบาหวาน, โรคตับ, โรคไต, โรคเลือด, หรือโรคภูมิแพ้เป็นต้น
- ประวัติอาการที่เคยปรากฏ เช่น เคยเหนื่อยหอบ หรือหายใจไม่ออก
อาการหน้ามืดเป็นลม หรือวิงเวียนศีรษะ การไอเรื้อรัง เป็นต้น
2. การตรวจร่างกาย เน้นภาวะที่สาคัญดังนี้
- ตรวจระบบทางเดินหายใจ ว่าปกติดี ไม่มีอุดตั้น หรือคอสั้น คางสั้น กระดูก
สันหลังส่วนคอติดกัน ฟันหัก ฟันโยก หรือต่อมธัยรอยด์โตมากๆ จะทาให้
การใส่ท่อช่วยหายใจลาบาก อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้
- ตรวจดูโรคของระบบทางเดินหายใจและระบบไหลเวียนโลหิต เช่น ไอ
เรื้อรัง, วัณโรคปอด, ความดันโลหิตสูง เบาหวาน เป็นต้น ซึ่งควรรักษาให้
หายดีก่อนหรือให้อยู่ในระยะปลอดภัยต่อการวางยาสลบและการผ่าตัด
(ยกเว้นในรายฉุกเฉิน)
- ตรวจดูสภาพร่างกายทั่วๆไป เช่นผู้ป่วยอ้วนมากไป จะทาให้การแทงเข็มฉีด
ยาเข้าหลอดเลือด และการใส่ท่อช่วยหายใจลาบาก หรือผู้ป่วยที่มีความ
ผิดปกติของกระดูกสันหลัง จะทาให้ฉีดยาชาเข้าไขสันหลังลาบาก
3. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่
- การตรวจนับเลือด ทาให้ทราบว่าผู้ป่ วยซีดหรือไม่ ซึ่งเป็นปัจจัย
สาคัญในการนาออกซิเจนไปเลี้ยงเนื้อเยื่อ นอกจากนี้ผลการตรวจนับ
เลือดยังบอกถึงภาวะบางอย่างของผู้ป่วย เช่นภาวะขาดเกลือ ขาดน้า
และการติดเชื้อ โดยทั่วไปถือว่าผู้ป่วยที่อาจจะมารับการวางยาสลบ
และผ่าตัดไม่ควรมีระดับฮีโมโกบิลต่ากว่า 10 กรัมต่อ 100 มล. หรือ
ค่าฮีมาโตคริต ไม่ต่ากว่าร้อยละ 30 ยกเว้นผู้ป่วยโรคเลือดบางชนิด
และภาวะไตวาย ซึ่งวิสัญญีแพทย์จะเป็นผู้พิจารณาเป็นรายต่อไป
- การตรวจปัสสาวะ บอกถึงโรคไต เบาหวาน ภาวะขาดเกลือ ขาดน้า
ของผู้ป่วย
3. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ (ต่อ)
- การตรวจหน้าที่ไต หน้าที่ตับ และความเป็นกรดด่างของร่างกาย
ได้แก่ การตรวจเลือดหาระดับ BUN, Creatinine, electrolyte, liver
function test
- การตรวจภาพรังสีปอด สามารถบอกความสามารถในการทางาน
ของปอด หรือความรุนแรงของโรคเรื้อรังของปอด เพื่อประเมิน
วิธีการวางยาสลบ
- การตรวจคลื่นไฟฟ้ าหัวใจ ในผู้ป่วยอายุ 40–45 ปีขึ้นไป หรือผู้มี
อาการที่บ่งบอกว่าอาจเป็นโรคหัวใจ
ข. การเตรียมทางด้านจิตใจ
- เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยคลายความวิตกกังวล โดยเปิดโอกาสให้ซักถามใน
สิ่งที่ผู้ป่วยสงสัยหรือข้องใจ
- สร้างทัศนคติที่ดีของผู้ป่วยต่อเทคนิคการวางยาสลบหรือให้ยาชา
- เพื่อแนะนาการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยต่อเทคนิคการวางยาสลบ การ
ให้ยาชา หรือการผ่าตัด เพื่อให้ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจาก
ผู้ป่วย อันเป็นสิ่งที่ช่วยให้การผ่าตัดดาเนินไปได้ด้วยดี
แนวทางปฏิบัติการเตรียมความพร้อมก่อนระงับความรู้สึก
1. การงดน้า – งดอาหาร (NPO)
Elective case NPO อย่างน้อย 6 – 8 ชั่วโมง
Urgency case NPO อย่างน้อย 6 ชั่วโมง
Emergency case เท่านั้นที่สามารถผ่าตัดได้เลย ไม่ต้องรอ NPO
แนวทางปฏิบัติการเตรียมความพร้อมก่อนระงับความรู้สึก (ต่อ)
2. ผลการตรวจเลือด
CBC เพื่อดูภาวะ Anemia
Hct > 25% สาหรับผู้ป่วยปกติแข็งแรงดี เป็นการผ่าตัดเล็ก
Hct > 30% สาหรับการผ่าตัดใหญ่
ผู้ป่วยที่ Anemia ให้เลือดก่อนวันผ่าตัดแล้ว ควรตรวจสอบซ้าว่า
เลือดที่จองไว้สาหรับผ่าตัดมีพร้อมใช้
E’lyte เพื่อดูภาวะสมดุลกรด–ด่าง
Serum k+ ถ้าต่ากว่า 3.5 meq/lit ต้องแก้ไขให้อยู่ในระดับ 3.5-
5.5 meq/lit
2. ผลการตรวจเลือด (ต่อ)
Bun,cr เพื่อดูการทางานของไต
Bun,cr ที่สูงจะมีผลต่อการขับยาออก เสี่ยงต่อการตื่นช้า
LFT เพื่อดูการทางานของตับ
LFT ที่ผิดปกติมีผลต่อการ metabolite ยา
BS. ผู้ป่วยที่เป็นเบาหวาน ต้องควบคุมระดับน้าตาลให้อยู่ในเกณฑ์ที่สามารถ
ระงับความรู้สึกได้ B.S. ไม่ควรสูงเกิน 180 mg% ในเช้าวันผ่าตัด
Thyroid ผู้ป่วยที่เป็นไทรอยด์ ต้องอยู่ในสภาวะการทางานของไทรอยด์ปกติ
(Euthyroid) ไม่มีอาการมือสั่น และไม่มีก้อนโตกดเบียดหลอดลม
แนวทางปฏิบัติการเตรียมความพร้อมก่อนระงับความรู้สึก (ต่อ)
3. ผลการตรวจ EKG ต้องตรวจดูการทางานของหัวใจ ถ้าเป็น
กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดควรส่งไปรับการผ่าตัดที่ที่มีวิสัญญีแพทย์
4. ผลการตรวจ CXR เพื่อประเมินการทางานของระบบหายใจ
5. ผลการตรวจปัสสาวะ เพื่อประเมินการทางานของระบบขับถ่ายของเสีย
6. ยารักษาโรคประจาตัว (Underlying Dz.)
ยาที่ต้องงดก่อนผ่าตัด
ยารักษาโรคเบาหวาน ควรงดเช้าวันผ่าตัด
ยาต้านเกล็ดเลือด ควรงด 7 – 10 วันก่อนผ่าตัด
ยาขับปัสสาวะ ควรงดก่อนผ่าตัด
แนวทางปฏิบัติการเตรียมความพร้อมก่อนระงับความรู้สึก (ต่อ)
6. ยารักษาโรคประจาตัว (Underlying Dz.)
ยาที่ต้องรับประทานต่อเนื่องจนถึงเช้าวันผ่าตัด
ยาลด HT. ยกเว้น Diuretic
ยาต้านธัยรอยด์ฮอร์โมน
ยาขยายหลอดเลือดหัวใจ
ยาขยายหลอดลม
7. Smoking
กรณี heavy Smoking ควรงดสูบบุรี่ก่อนผ่าตัด 6 สัปดาห์
แนวทางปฏิบัติการเตรียมความพร้อมก่อนระงับความรู้สึก (ต่อ)
สวัสดีค่ะ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57Sirinoot Jantharangkul
 
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานแผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานWuttipong Tubkrathok
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2sarawut chaicharoen
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPrachaya Sriswang
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2supphawan
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารguest6b6fea3
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Nan Natni
 
คู่มือความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลทางจิตใจตามหลักการ EASE
คู่มือความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลทางจิตใจตามหลักการ EASEคู่มือความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลทางจิตใจตามหลักการ EASE
คู่มือความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลทางจิตใจตามหลักการ EASEUtai Sukviwatsirikul
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21Anucha Somabut
 
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์Net Thanagon
 
Pdf 2b3b3f0b6ebbc8a2a150721eceec1f1f 2
Pdf 2b3b3f0b6ebbc8a2a150721eceec1f1f 2Pdf 2b3b3f0b6ebbc8a2a150721eceec1f1f 2
Pdf 2b3b3f0b6ebbc8a2a150721eceec1f1f 2Fujimarutachibana
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพratchadaphun
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการTwatchai Tangutairuang
 
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3tassanee chaicharoen
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลSumon Kananit
 

La actualidad más candente (20)

การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงานแผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
แผนผังความคิดเรื่องพลังงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 สุข ม.2
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
 
Guideline for the treatent of oa
Guideline for the treatent  of oaGuideline for the treatent  of oa
Guideline for the treatent of oa
 
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
Pdทฤษฎีการส่มเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
 
คู่มือความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลทางจิตใจตามหลักการ EASE
คู่มือความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลทางจิตใจตามหลักการ EASEคู่มือความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลทางจิตใจตามหลักการ EASE
คู่มือความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลทางจิตใจตามหลักการ EASE
 
8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)
8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)
8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
กระบวนการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
 
Pdf 2b3b3f0b6ebbc8a2a150721eceec1f1f 2
Pdf 2b3b3f0b6ebbc8a2a150721eceec1f1f 2Pdf 2b3b3f0b6ebbc8a2a150721eceec1f1f 2
Pdf 2b3b3f0b6ebbc8a2a150721eceec1f1f 2
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพ
 
How to prepare MEQ.pdf
How to prepare MEQ.pdfHow to prepare MEQ.pdf
How to prepare MEQ.pdf
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหาร
เกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหารเกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหาร
เกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหาร
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาล
 

Destacado

Brachial plexus injuries by krr
Brachial plexus injuries by krrBrachial plexus injuries by krr
Brachial plexus injuries by krrramachandra reddy
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปากเรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปากอาม อีฟ
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.Pongsa Pongsathorn
 
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - NurseTAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - Nursetaem
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)Aphisit Aunbusdumberdor
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPrachaya Sriswang
 

Destacado (15)

PACU
PACUPACU
PACU
 
Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013
Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013
Service Profile Anesthesia Care Md.KKU 2013
 
Brachial plexus injuries by krr
Brachial plexus injuries by krrBrachial plexus injuries by krr
Brachial plexus injuries by krr
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
The Incidence of Critical Risks of Anesthesia Related Complication in Srinaga...
The Incidence of Critical Risks of Anesthesia Related Complication in Srinaga...The Incidence of Critical Risks of Anesthesia Related Complication in Srinaga...
The Incidence of Critical Risks of Anesthesia Related Complication in Srinaga...
 
Safe Anesthesia Care in Anesth.KKU, Khon Kaen, Thailand.
Safe Anesthesia Care in Anesth.KKU, Khon Kaen, Thailand. Safe Anesthesia Care in Anesth.KKU, Khon Kaen, Thailand.
Safe Anesthesia Care in Anesth.KKU, Khon Kaen, Thailand.
 
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปากเรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
เรื่องของโรคทางระบบ ที่สัมพันธ์กับสุขภาพช่องปาก
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
 
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - NurseTAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการเกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update(16 มิ.ย. 56) service profile update
(16 มิ.ย. 56) service profile update
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 

Más de techno UCH

ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557techno UCH
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม techno UCH
 
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนการดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนtechno UCH
 
Breast presentation
Breast presentation Breast presentation
Breast presentation techno UCH
 
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola techno UCH
 
คุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนคุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนtechno UCH
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์techno UCH
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition techno UCH
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุtechno UCH
 
เห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยเห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยtechno UCH
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นtechno UCH
 
Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring techno UCH
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา techno UCH
 
Emergency rt for nurse
Emergency rt for nurseEmergency rt for nurse
Emergency rt for nursetechno UCH
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 

Más de techno UCH (20)

ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนการดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
 
Breast presentation
Breast presentation Breast presentation
Breast presentation
 
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
 
คุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนคุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียน
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
 
เห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยเห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทย
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
 
Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
Concept pc.
Concept pc.Concept pc.
Concept pc.
 
Case study
Case studyCase study
Case study
 
Assesment
AssesmentAssesment
Assesment
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
 
Emergency rt for nurse
Emergency rt for nurseEmergency rt for nurse
Emergency rt for nurse
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 

การเตรียมผู้ป่วยเพื่อระงับความรู้สึก

  • 1. การเตรียมผู้ป่ วยเพื่อระงับความรู้สึก ในกรณี Elective case โดย อำไพ สำรขันธ์ วิสัญญีพยาบาล โรงพยาบาลมะเร็งอุดรธานี
  • 2. ขั้นตอนการเตรียมการระงับความรู้สึก ก. การเตรียมทางด้านร่างกาย วัตถุประสงค์ - เพื่อให้ทราบปัญหาต่างๆ อันอาจจะทาให้ผู้ป่วยเสี่ยงต่อการวาง ยาสลบและผ่าตัดมากขึ้น - สามารถปรึกษาวิสัญญีแพทย์ ในการจัดให้การดูแลรักษาให้ ผู้ป่วยอยู่ในสภาวะปกติ หรือใกล้เคียงปกติ ก่อนจะนาผู้ป่วยไป รับการวางยาสลบและผ่าตัด - ลดอัตราเสี่ยงการตายของผู้ป่วยลง
  • 3. ประกอบด้วย 1. การซักประวัติ - ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต, โรคประจาตัว - ประวัติการผ่าตัด, การวางยาสลบหรือได้รับยาชาในอดีต ว่ามีปัญหา หรือไม่จะได้ป้องกันไม่ให้เกิดขึ้นอีก เช่น ใส่ท่อช่วยหายใจลาบาก, ตัวเหลือง ภายหลังได้รับยาสลบ หรืออาการแพ้ยาต่างๆ - ประวัติการใช้ยาชาที่ใช้อยู่ประจา ซึ่งมีความสาคัญต่อการวาง ยาสลบ เพราะอาจเกิดปฏิกิริยาของยาเหล่านั้น ในระหว่างดม ยาสลบได้เช่น ยาลดความดันโลหิต, ยากล่อมประสาท, สเตียรอยด์, ยารักษาโรคเบาหวาน เป็นต้น
  • 4. 1. การซักประวัติ (ต่อ) - ประวัติโรคประจาตัวที่มีอยู่ ได้แก่ โรคหัวใจ, ความดันโลหิตสูง, เบาหวาน, โรคตับ, โรคไต, โรคเลือด, หรือโรคภูมิแพ้เป็นต้น - ประวัติอาการที่เคยปรากฏ เช่น เคยเหนื่อยหอบ หรือหายใจไม่ออก อาการหน้ามืดเป็นลม หรือวิงเวียนศีรษะ การไอเรื้อรัง เป็นต้น
  • 5. 2. การตรวจร่างกาย เน้นภาวะที่สาคัญดังนี้ - ตรวจระบบทางเดินหายใจ ว่าปกติดี ไม่มีอุดตั้น หรือคอสั้น คางสั้น กระดูก สันหลังส่วนคอติดกัน ฟันหัก ฟันโยก หรือต่อมธัยรอยด์โตมากๆ จะทาให้ การใส่ท่อช่วยหายใจลาบาก อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ - ตรวจดูโรคของระบบทางเดินหายใจและระบบไหลเวียนโลหิต เช่น ไอ เรื้อรัง, วัณโรคปอด, ความดันโลหิตสูง เบาหวาน เป็นต้น ซึ่งควรรักษาให้ หายดีก่อนหรือให้อยู่ในระยะปลอดภัยต่อการวางยาสลบและการผ่าตัด (ยกเว้นในรายฉุกเฉิน) - ตรวจดูสภาพร่างกายทั่วๆไป เช่นผู้ป่วยอ้วนมากไป จะทาให้การแทงเข็มฉีด ยาเข้าหลอดเลือด และการใส่ท่อช่วยหายใจลาบาก หรือผู้ป่วยที่มีความ ผิดปกติของกระดูกสันหลัง จะทาให้ฉีดยาชาเข้าไขสันหลังลาบาก
  • 6. 3. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่ - การตรวจนับเลือด ทาให้ทราบว่าผู้ป่ วยซีดหรือไม่ ซึ่งเป็นปัจจัย สาคัญในการนาออกซิเจนไปเลี้ยงเนื้อเยื่อ นอกจากนี้ผลการตรวจนับ เลือดยังบอกถึงภาวะบางอย่างของผู้ป่วย เช่นภาวะขาดเกลือ ขาดน้า และการติดเชื้อ โดยทั่วไปถือว่าผู้ป่วยที่อาจจะมารับการวางยาสลบ และผ่าตัดไม่ควรมีระดับฮีโมโกบิลต่ากว่า 10 กรัมต่อ 100 มล. หรือ ค่าฮีมาโตคริต ไม่ต่ากว่าร้อยละ 30 ยกเว้นผู้ป่วยโรคเลือดบางชนิด และภาวะไตวาย ซึ่งวิสัญญีแพทย์จะเป็นผู้พิจารณาเป็นรายต่อไป - การตรวจปัสสาวะ บอกถึงโรคไต เบาหวาน ภาวะขาดเกลือ ขาดน้า ของผู้ป่วย
  • 7. 3. การตรวจทางห้องปฏิบัติการ (ต่อ) - การตรวจหน้าที่ไต หน้าที่ตับ และความเป็นกรดด่างของร่างกาย ได้แก่ การตรวจเลือดหาระดับ BUN, Creatinine, electrolyte, liver function test - การตรวจภาพรังสีปอด สามารถบอกความสามารถในการทางาน ของปอด หรือความรุนแรงของโรคเรื้อรังของปอด เพื่อประเมิน วิธีการวางยาสลบ - การตรวจคลื่นไฟฟ้ าหัวใจ ในผู้ป่วยอายุ 40–45 ปีขึ้นไป หรือผู้มี อาการที่บ่งบอกว่าอาจเป็นโรคหัวใจ
  • 8. ข. การเตรียมทางด้านจิตใจ - เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยคลายความวิตกกังวล โดยเปิดโอกาสให้ซักถามใน สิ่งที่ผู้ป่วยสงสัยหรือข้องใจ - สร้างทัศนคติที่ดีของผู้ป่วยต่อเทคนิคการวางยาสลบหรือให้ยาชา - เพื่อแนะนาการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยต่อเทคนิคการวางยาสลบ การ ให้ยาชา หรือการผ่าตัด เพื่อให้ได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจาก ผู้ป่วย อันเป็นสิ่งที่ช่วยให้การผ่าตัดดาเนินไปได้ด้วยดี
  • 9. แนวทางปฏิบัติการเตรียมความพร้อมก่อนระงับความรู้สึก 1. การงดน้า – งดอาหาร (NPO) Elective case NPO อย่างน้อย 6 – 8 ชั่วโมง Urgency case NPO อย่างน้อย 6 ชั่วโมง Emergency case เท่านั้นที่สามารถผ่าตัดได้เลย ไม่ต้องรอ NPO
  • 10. แนวทางปฏิบัติการเตรียมความพร้อมก่อนระงับความรู้สึก (ต่อ) 2. ผลการตรวจเลือด CBC เพื่อดูภาวะ Anemia Hct > 25% สาหรับผู้ป่วยปกติแข็งแรงดี เป็นการผ่าตัดเล็ก Hct > 30% สาหรับการผ่าตัดใหญ่ ผู้ป่วยที่ Anemia ให้เลือดก่อนวันผ่าตัดแล้ว ควรตรวจสอบซ้าว่า เลือดที่จองไว้สาหรับผ่าตัดมีพร้อมใช้ E’lyte เพื่อดูภาวะสมดุลกรด–ด่าง Serum k+ ถ้าต่ากว่า 3.5 meq/lit ต้องแก้ไขให้อยู่ในระดับ 3.5- 5.5 meq/lit
  • 11. 2. ผลการตรวจเลือด (ต่อ) Bun,cr เพื่อดูการทางานของไต Bun,cr ที่สูงจะมีผลต่อการขับยาออก เสี่ยงต่อการตื่นช้า LFT เพื่อดูการทางานของตับ LFT ที่ผิดปกติมีผลต่อการ metabolite ยา BS. ผู้ป่วยที่เป็นเบาหวาน ต้องควบคุมระดับน้าตาลให้อยู่ในเกณฑ์ที่สามารถ ระงับความรู้สึกได้ B.S. ไม่ควรสูงเกิน 180 mg% ในเช้าวันผ่าตัด Thyroid ผู้ป่วยที่เป็นไทรอยด์ ต้องอยู่ในสภาวะการทางานของไทรอยด์ปกติ (Euthyroid) ไม่มีอาการมือสั่น และไม่มีก้อนโตกดเบียดหลอดลม แนวทางปฏิบัติการเตรียมความพร้อมก่อนระงับความรู้สึก (ต่อ)
  • 12. 3. ผลการตรวจ EKG ต้องตรวจดูการทางานของหัวใจ ถ้าเป็น กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดควรส่งไปรับการผ่าตัดที่ที่มีวิสัญญีแพทย์ 4. ผลการตรวจ CXR เพื่อประเมินการทางานของระบบหายใจ 5. ผลการตรวจปัสสาวะ เพื่อประเมินการทางานของระบบขับถ่ายของเสีย 6. ยารักษาโรคประจาตัว (Underlying Dz.) ยาที่ต้องงดก่อนผ่าตัด ยารักษาโรคเบาหวาน ควรงดเช้าวันผ่าตัด ยาต้านเกล็ดเลือด ควรงด 7 – 10 วันก่อนผ่าตัด ยาขับปัสสาวะ ควรงดก่อนผ่าตัด แนวทางปฏิบัติการเตรียมความพร้อมก่อนระงับความรู้สึก (ต่อ)
  • 13. 6. ยารักษาโรคประจาตัว (Underlying Dz.) ยาที่ต้องรับประทานต่อเนื่องจนถึงเช้าวันผ่าตัด ยาลด HT. ยกเว้น Diuretic ยาต้านธัยรอยด์ฮอร์โมน ยาขยายหลอดเลือดหัวใจ ยาขยายหลอดลม 7. Smoking กรณี heavy Smoking ควรงดสูบบุรี่ก่อนผ่าตัด 6 สัปดาห์ แนวทางปฏิบัติการเตรียมความพร้อมก่อนระงับความรู้สึก (ต่อ)