SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 31
Descargar para leer sin conexión
จริยศึกษาเพือการพัฒนาตน
                  ่
(Moral Education for Self Development)
แนวคิดทางจริยธรรม
แนวคิดของนักปรัชญาและศาสนา
    มนุษยมีเจตนจํานงเสรีหรือถูกบงการ
             เจตนจํ
    ชีวตที่ดทสดควรเปนอยางไร
       ิ    ี ี่ ุ
    คุณคาความดีแบบสัมพัทธนิยมและสัมบูรณนิยม
    เจตนากับผล
แนวคิดของนักจิตวิทยา
    ทฤษฎีจริยธรรมของโคลเบอรก
    ทฤษฎีตนไมจริยธรรม
1. มนุษยเปนอิสระ หรือ ถูกบงการ ?


  ปญหาเจตนจํานงเสรี (Free Will)
             จํ
                VS
     ลัทธิบงการ(Determinism)
การถูกบงการ
  หมายถึง
• การกระทําทีไมมีความเปนอิสระในตนเอง แตถูกบงการ
                 ่
  โดยสิ่งที่มอิทธิพลเหนือกวา
             ี
• ดังนั้นการกระทําจึงไมใชของบุคคลนั้น เนื่องจากเขาไมไดเลือก
  หรือปรารถนาจะกระทํา (แตกระทําเพราะถูกบงการ)
• เขาจึงไมตองรับผิดชอบในผลที่เกิดขึ้น แตผูบงการหรือผูบังคับ
               
  ใหกระทําตองเปนผูรับผิดชอบตอการกระทํานัน ้
การกระทําโดยเสรี
หมายถึง
สามารถเลือกกระทําไดมากกวา 1 ทาง หรือ
เลือกที่จะกระทําหรือไมกระทําได
“การเลือกได” เปนสาเหตุททําใหถือวา
                           ี่
เปนการกระทําของบุคคลนั้น
เมื่อบุคคลเปนเจาของการกระทํา
จึงทําใหตองรับผิดชอบในผลการกระทําที่เกิดขึ้นนั้นดวย
วิทยาศาสตร (SCIENCE)

          ไมมีอะไรเปนอิสระ
ทุกสิ่งทุกอยางอยูภายใตการควบคุม
        โดยกฎแหงเหตุและผล
          ที่มีอยูในธรรมชาติ
ศาสนาคริสต (CHRIST)
  หลักตรีเอกานุภาพ / ตรีเอกภาพ (TRINITY)
                พระยะโฮวา



  พระบิดา        พระบุตร            พระจิต
(The Father)     (The Son)     (The Holy Spirit)
พระบิดา(The Father)
    พระเจาสรางโลกโดยใชเวลา 7 วัน
วันที่ 1 สรางความสวาง
วันที่ 2 สรางทองฟาอากาศ
วันที่ 3 สรางแผนดินและพืชพันธธัญญาหาร
วันที่ 4 สรางดวงอาทิตย ดวงจันทร และดวงดาว
วันที่ 5 สรางสรรพสัตว
วันที่ 6 สรางมนุษย
วันที่ 7 ทรงหยุดพัก
ศาสนาคริสตเปนเจตนจํานงเสรีหรือถูกบงการ ?
                    จํ
 เปนทั้งสองอยาง
 ในแงของการถูกบงการ คือ พระเจาสรางทุกสิ่งทุก
 อยางในจักรวาล
 ในแงของเจตนจํานงเสรี คือ พระเจาสรางแตเฉพาะ
                 จํ
 รางกายมนุษย แตพระเจาใหเจตนจํานงเสรีแกมนุษย
                             เจตนจํ
 ในการที่จะเลือกเปนคนดีหรือคนชัวดวยตัวมนุษยเอง
                                 ่
 ดังนั้น มนุษยจึงตองรับผิดชอบในการเลือกของตนเอง
พระพุทธศาสนา
          เสรีภาพ และ กฎแหงกรรม
ในแงเจตนจํานงเสรี คือ มนุษยมีเสรีภาพในการที่จะ
     เจตนจํ
เลือกกระทําไดโดยดูจากเจตนาของผูกระทําเอง ซึ่ง
เรียกวา กรรม(แปลวาการกระทํา) ดังนั้น จึงตองรับ
ผลของการกระทํานั้น ซึงเรียกวา วิบากกรรม(แปลวา
                       ่
ผลของการกระทํา)
ในแงถูกบงการ คือ กฎแหงกรรมที่จะเปนตัวบงการให
แตละคนไดรับผลของกรรมหรือการกระทํานันดวย้
ตัวเองเสมอ เปรียบดั่งเงาที่ตดตามตัวบุคคล
                            ิ
2. ชีวิตที่ดีที่สุดควรเปนอยางไร ?
                  ลัทธิสุขนิยม (Hedonism)
           ความสุขทางกายเปนยอดปรารถนาที่สด
                                          ุ


อัตนิยม(Egoism):ความสุขเพื่อตนเอง

                ประโยชนนยม(Utilitarianism):ความสุขเพื่อมหาชน
                         ิ
ลัทธิอสุขนิยม(Non - Hedonism)
                   อสุ
            สิ่งทีดีท่สดไมใชความสุขทางกาย
                  ่ ี ุ


ลัทธิปญญานิยม
(Intellectualism):ปญญาดีท่สด
                           ี ุ

                                 ลัทธิวิมุตินยม
                                             ิ
                                 (Skepticism):จิตสงบดีท่ีสุด
3. คุณคาความดี
 สัมพัทธนิยม(Relativism) กับ สัมบูรณนิยม(Absolutism)
              สัมพัทธนิยม(Relativism)
     เปนลักษณะคุณคาทางอัตวิสย / อัตนัยนิยม (Subjectivism)
                                 ั
     คุณคาความดีเปลี่ยนแปลงไดโดยขึ้นกับ
1.   ความเชื่อ เชน การฆาพอแมเมื่ออายุครบ 60ปของชาว
     เกาะทะเลใต
2.   การปรับตัวเขากับสภาพแวดลอม เชน การทิ้งพอแมของ
     ชาวเอสกิโม
3.   ยุคสมัยทีเปลี่ยนแปลงไปทําใหคานิยมเปลี่ยนไป
              ่
สัมบูรณนิยม(Absolutism)
เปนลักษณะคุณคาทางวัตถุวสัย / ปรนัยนิยม(Objectivism)
                             ิ
คุณคามีความสมบูรณดวยตัวเอง ไมขึ้นกับสิ่งใดหรือเงื่อนไข
ใด เปนความจริงสากล และเปนนามธรรม
เปนเปาหมายสูงสุด(Highest Goal or Summum Bonum)ไมใช
เปนวิถี/วิธีการ(Mean)
เปนคุณคาในตัวเอง(Intrinsic Value)
4. เจตนา กับ ผล
      แนวคิดทีถือ “เจตนา”เปนหลักตัดสิน
                ่
ทฤษฎีหนาที่นยมของคานท(Kant)
             ิ
       กฎศีลธรรมตองเปนกฎสากล
       การทําตามกฎศีลธรรมตองถือเปนหนาที่
       การทําหนาทีคือการทําตามคําสั่งเด็ดขาด
                      ่
       (Categorical Imperative)
       ไมใชคําสั่งแบบมีเงื่อนไข
       (Hypothetical Imperative)
แนวคิดที่ถือเอา “ผล”เปนหลักตัดสิน

ลทธิอัตนิยม(Egoism):ผลประโยชนที่ดทสุดสําหรับบุคคล
                                     ี ี่
ลัทธิประโยชนนิยม(Utilitarianism):หลักมหสุข
         ประโยชนสุขทียาวนานกวา
                      ่
         ประโยชนสขเกิดกับคนจํานวนมากที่สุด
                   ุ
เกณฑการตัดสินดี-ชั่วของพระพุทธศาสนา
1.   เจตนา กรรม
     กรรม แบงออกเปน 3 ประเภท คือ
     กายกรรม วจีกรรม และ มโนกรรม
2.   การกระทําตามเจตนา สําเร็จหรือไมสําเร็จ
3.   ผลทีเกิดขึ้นจากการกระทํา หนักเบา/ มากนอยเพียงใด
         ่
เจตนา    การกระทํา       ผล
(กอน)   ดี หรือ ชั่ว   (หลัง)
ทฤษฎีทางจริยธรรมของโคลเบอรก(Kohlberg)
        ขั้นของพัฒนาการทางสติปญญาและจริยธรรม 6 ขั้น

    ระดับจริยธรรม          ขั้นการใหเหตุผลเชิงจริยธรรม

                          ขั้นที่ 1 การหลบหลีกการถูกลงโทษ
1.ระดับกอนกฎเกณฑสังคม
                          หรือการลงโทษและการเชื่อฟง
(Preconventional Level)   (อายุ 2-7ป)
   อายุ 2-10ป            ขั้นที่ 2 การแสวงหารางวัล หรือ การ
                          สนองความตองการ
                          (อายุ 7-10ป)
ทฤษฎีทางจริยธรรมของโคลเบอรก (ตอ)
    ระดับจริยธรรม         ขั้นการใหเหตุผลเชิงจริยธรรม

2.ระดับตามกฎเกณฑสังคม   ขั้นที่ 3 การทําตามสิ่งที่ผูอื่นเห็นชอบ
(Conventional Level)     หรือการคาดหวังทางสังคม
อายุ10 - 16ป
    10                   (อายุ 10 – 13 ป)
                         ขั้นที่ 4 การทําตามหนาที่ทางสังคม
                         หรือระบบสังคมและมโนธรรม
                         (อายุ 13 – 16 ป)
ทฤษฎีทางจริยธรรมของโคลเบอรก (ตอ)
    ระดับจริยธรรม            ขั้นการใหเหตุผลเชิงจริยธรรม

3.ระดับเหนือกฎเกณฑสังคม ขั้นที่ 5 การทําตามคํามั่นสัญญา
(Postconventional Level) หรือสัญญาสังคมและสิทธิสวนบุคคล
อายุ 16 ปขึ้นไป         (อายุ 16ปขึ้นไป)
                         ขั้นที่ 6 การยึดถืออุดมคติสากล หรือ
                         จริยธรรมสากล
                         (วัยผูใหญ)
ลักษณะของพัฒนาการทางจริยธรรม
1.   พัฒนาการทางจริยธรรมตองเปนไปตามลําดับขั้นและไมมี
     การขามขั้น
2.   ความสามารถในการใหเหตุผลจะแตกตางไปตามลําดับขั้น
3.   บุคคลมีอัตราในการพัฒนาดานจริยธรรมแตกตางกัน
4.   ขั้นของอัตราพัฒนาการจะเปนไปตามระดับสติปญญา
5.   ประสบการณในการอภิปรายปญหาคุณธรรมและ
     จริยธรรมมีสวนชวยในการพัฒนาทักษะในการใหเหตุผลไป
     ยังขั้นที่สูงขึ้นได
องคประกอบที่สําคัญของพัฒนาการทางจริยธรรม
            1.   สติปญญาหรือความคิด
            2.   ประสบการณทางสังคม


   บางครั้งเราเรียกทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมวา
          “ทฤษฎีการใหเหตุผลเชิงจริยธรรม”
แบบทดสอบการจัดขั้นพัฒนาการทางจริยธรรม
สามีภรรยาที่มีฐานะยากจนคูหนึ่ง
ภรรยาปวยหนักใกลจะเสียชีวิต
 แพทยแนะนําใหสามีไปซื้อยาจากเภสัชกรซึ่งมียาทีสามารถรักษา
                                               ่
ภรรยาใหหายได
เภสัชกรคิดคายาแพงมาก แมขอรองก็ไมยอมลดราคาให
ในที่สดสามีจึงตัดสินใจขโมยยาเพื่อไปใหภรรยาไดจนเปนผลสําเร็จ
      ุ

ถาทานเปนสามีในเรื่องนี้ ทานจะทําเชนนีหรือไม?......เพราะเหตุใด?
                                          ้
เหตุผลเชิงจริยธรรม
1.สามีไมควรขโมย เพราะอาจจะถูกจับและตองติดคุก
2.สามีไมควรจะขโมย เพราะถาหากภรรยาตองเสียชีวตไป เขาก็สามารถ
                                               ิ
    จะหาผูหญิงมาแตงงานเปนภรรยาคนใหมได
             
3.สามีควรจะขโมย เพื่อรักษาชีวตภรรยาที่รกและรวมทุกขสุขกันมานาน
                                    ิ   ั
4.สามีไมควรจะขโมย เพราะเปนการทําผิดกฎหมายและจะตองไดรับโทษ
    ถาไมมกฎหมายลงโทษ สังคมก็จะสับสนวุนวาย
           ี
5.สามีไมควรจะขโมย เพราะการขโมยเปนการละเมิดสิทธิในทรัพยสิน
    ของผูอื่น ซึ่งเปนสิ่งที่ไมควรทํา
6.แมวาการขโมยจะเปนการผิดกฎหมาย แตในครั้งนี้เปนการรักษาชีวต
                                                             ิ
    มนุษย ในทางจริยธรรมนาจะทําไดเพราะชีวตมนุษยนาจะสําคัญ
                                           ิ
    มากกวาทรัพยสิน
เฉลย
                     เหตุผลเชิงจริยธรรม                          ขั้น
1.สามีไมควรขโมยเพราะอาจจะถูกจับและตองติดคุก                    1
2.สามีไมควรจะขโมย เพราะถาภรรยาเสียชีวต เขาก็สามารถจะแตงงาน
                                        ิ
    ใหมได                                                      2
3.สามีควรจะขโมย เพื่อรักษาชีวตภรรยาอันเปนที่รก
                                    ิ         ั                  3
4.สามีไมควรจะขโมย เพราะเปนการทําผิดกฎหมาย ถาไมมกฎหมาย
                                                     ี
    ลงโทษ สังคมก็จะสับสนวุนวาย                                  4
5.สามีไมควรจะขโมย เพราะการขโมยเปนการละเมิดสิทธิในทรัพยสิน
    ของผูอื่น ซึ่งเปนสิ่งที่ไมควรทํา                          5
6.แมวาการขโมยจะเปนการผิดกฎหมาย แตในครั้งนี้เปนการรักษาชีวต
                                                            ิ
    มนุษย ในทางจริยธรรมนาจะทําไดเพราะชีวตนาจะสําคัญ
                                           ิ
                                                                 6
    มากกวาทรัพยสน    ิ
ทฤษฎีตนไมจริยธรรม ศ.ดร.ดวงเดือน พันธุมนาวิน
 เปรียบเทียบพฤติกรรมคนดีคนเกงกับสวนตางๆของตนไม 3 สวน

     สวนที่เปน “ดอกและผลไม” คือ พฤติกรรมของคนดี คนเกง
     เปนพฤติกรรมที่นาพึงปรารถนา แบงเปน 4 กลุมใหญ
1. พฤติกรรมไมเบียดเบียนตนเอง
2. พฤติกรรมการไมเบียดเบียนผูอน
                               ื่
3. พฤติกรรมการทําตามหนาที(เรียน ทํางาน รักษาสาธารณสมบัติ)
                          ่
4. พฤติกรรมการพัฒนาตนเองและสังคม
ทฤษฎีตนไมจริยธรรม ศ.ดร.ดวงเดือน พันธุมนาวิน
 พฤติกรรม 4 กลุมดังกลาว มีสาเหตุทางจิตใจอยู 2 กลุม

 กลุมที่ 1 สาเหตุทางจิตใจที่เปนสวน “ลําตน”ของตนไม
 ประกอบดวย จิตลักษณะ 5 ดาน คือ
 1. เหตุผลเชิงจริยธรรม
 2. มุงอนาคตและการควบคุมตนเอง
 3. ความเชื่อในอํานาจตน
 4. แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์
 5. ทัศนคติ คุณธรรม และคานิยม
ทฤษฎีตนไมจริยธรรม ศ.ดร.ดวงเดือน พันธุมนาวิน
พฤติกรรม 4 กลุมดังกลาว มีสาเหตุทางจิตใจอยู 2 กลุม

กลุมที่ 2 เปนสาเหตุทางจิตที่เปน “ราก”ของตนไม
ประกอบดวย จิตลักษณะ 3 ดาน
1. สติปญญา
2. ประสบการณทางสังคม
3. สุขภาพจิต
ภาพทฤษฎีตนไมจริยธรรม(ดวงเดือน พันธุมนาวิน, 2524; 2538)
สรุป การพัฒนาใหเปนคนเกง คนดี
ตองพัฒนาจิต 4 ดาน ประกอบดวย
1. เหตุผลเชิงจริยธรรม คือ เหตุผลหรือเจตนาในการกระทํา

2. ความเชื่ออํานาจในตน คือ การเรียนรูจากสภาพรอบตัวถึงผลดี/
    ผลเสียที่จะเกิดขึ้นจากการตัดสินใจของตนเอง
3. แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ คือ ความมุงมั่นที่จะทําใหสําเร็จ ไมยอทอ
    เตรียมการแกไขทุกดานอยางรอบคอบ
4. ลักษณะมุงอนาคต – ควบคุมตน

    มุงอนาคต คือการมีวิสัยทัศนตอสิงที่ยังไมเกิดขึ้น เปนนามธรรม
                                      ่
    ควบคุมตน คือ การบริหารจัดการวางแผนอยางเปนระบบ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูปแนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูปpatthanan18
 
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3ฟองเพียร ใจติ๊บ
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารPanuwat Beforetwo
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์Watcharin Chongkonsatit
 
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1Prapaporn Boonplord
 
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธNopporn Thepsithar
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาppompuy pantham
 
ว เคราะห และส_งเคราะห_มารยาทและจร_ยธรรมทางว_ชาการ(2)
ว เคราะห และส_งเคราะห_มารยาทและจร_ยธรรมทางว_ชาการ(2)ว เคราะห และส_งเคราะห_มารยาทและจร_ยธรรมทางว_ชาการ(2)
ว เคราะห และส_งเคราะห_มารยาทและจร_ยธรรมทางว_ชาการ(2)เอกภพ พันธุ์จันทร์
 
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ruttanaphareenoon
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมpentanino
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660CUPress
 
022การพัฒนาชีวิตตามแนวไตรสิกขา
022การพัฒนาชีวิตตามแนวไตรสิกขา022การพัฒนาชีวิตตามแนวไตรสิกขา
022การพัฒนาชีวิตตามแนวไตรสิกขาniralai
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาศศิพร แซ่เฮ้ง
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาศศิพร แซ่เฮ้ง
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขาppompuy pantham
 

La actualidad más candente (20)

ปฏิบัตินิยม
ปฏิบัตินิยมปฏิบัตินิยม
ปฏิบัตินิยม
 
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูปแนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
 
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
การนำเสนอคุณธรรมและจริยธรรมสำหรับผู้นำ3
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
 
7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์7 พฤติกรรมศาสตร์
7 พฤติกรรมศาสตร์
 
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
 
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
ว เคราะห และส_งเคราะห_มารยาทและจร_ยธรรมทางว_ชาการ(2)
ว เคราะห และส_งเคราะห_มารยาทและจร_ยธรรมทางว_ชาการ(2)ว เคราะห และส_งเคราะห_มารยาทและจร_ยธรรมทางว_ชาการ(2)
ว เคราะห และส_งเคราะห_มารยาทและจร_ยธรรมทางว_ชาการ(2)
 
ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1ทฤษฏีสนามรัตนา1
ทฤษฏีสนามรัตนา1
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
 
6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ6 พฤติกรรมสุขภาพ
6 พฤติกรรมสุขภาพ
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660
 
022การพัฒนาชีวิตตามแนวไตรสิกขา
022การพัฒนาชีวิตตามแนวไตรสิกขา022การพัฒนาชีวิตตามแนวไตรสิกขา
022การพัฒนาชีวิตตามแนวไตรสิกขา
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
10
1010
10
 

Similar a 09 moral education

แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
แนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมแนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมJinwara Sriwichai
 
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตกจริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตกBeeBee ComEdu
 
152010010020
152010010020152010010020
152010010020Aaesah
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บรรพต แคไธสง
 
กฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมกฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมjune_yenta4
 
ส งคมศ กษา
ส งคมศ กษาส งคมศ กษา
ส งคมศ กษาAoy Amm Mee
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาruttanaphareenoon
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์
ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์
ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์ruttanaphareenoon
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาruttanaphareenoon
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาruttanaphareenoon
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตchonlataz
 

Similar a 09 moral education (20)

แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
แนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมแนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคม
 
333
333333
333
 
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตกจริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
จริยธรรมในทรรศนะของนักปรัชญาตะวันตก
 
152010010020
152010010020152010010020
152010010020
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
 
กฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรมกฏแห่งกรรม
กฏแห่งกรรม
 
ส งคมศ กษา
ส งคมศ กษาส งคมศ กษา
ส งคมศ กษา
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนา
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์
ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์
ทฤษฏีสนามของรัตนา ภารีนนท์
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนา
 
ทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนาทฤษฏีสนามของรัตนา
ทฤษฏีสนามของรัตนา
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 11051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
 
Original psychoanalysis
Original psychoanalysisOriginal psychoanalysis
Original psychoanalysis
 
Original psychoanalysis
Original psychoanalysisOriginal psychoanalysis
Original psychoanalysis
 

Más de etcenterrbru

บทที่ 11 การสื่อสารการตลาด
บทที่ 11 การสื่อสารการตลาดบทที่ 11 การสื่อสารการตลาด
บทที่ 11 การสื่อสารการตลาดetcenterrbru
 
บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคลบทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคลetcenterrbru
 
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์etcenterrbru
 
6161103 11.7 stability of equilibrium
6161103 11.7 stability of equilibrium6161103 11.7 stability of equilibrium
6161103 11.7 stability of equilibriumetcenterrbru
 
6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies
6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies
6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodiesetcenterrbru
 
6161103 11 virtual work
6161103 11 virtual work6161103 11 virtual work
6161103 11 virtual worketcenterrbru
 
6161103 10.9 mass moment of inertia
6161103 10.9 mass moment of inertia6161103 10.9 mass moment of inertia
6161103 10.9 mass moment of inertiaetcenterrbru
 
6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia
6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia
6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertiaetcenterrbru
 
6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes
6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes
6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axesetcenterrbru
 
6161103 10.6 inertia for an area
6161103 10.6 inertia for an area6161103 10.6 inertia for an area
6161103 10.6 inertia for an areaetcenterrbru
 
6161103 10.5 moments of inertia for composite areas
6161103 10.5 moments of inertia for composite areas6161103 10.5 moments of inertia for composite areas
6161103 10.5 moments of inertia for composite areasetcenterrbru
 
6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration
6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration
6161103 10.4 moments of inertia for an area by integrationetcenterrbru
 
6161103 10.10 chapter summary and review
6161103 10.10 chapter summary and review6161103 10.10 chapter summary and review
6161103 10.10 chapter summary and reviewetcenterrbru
 
6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body
6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body
6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a bodyetcenterrbru
 
6161103 9.6 fluid pressure
6161103 9.6 fluid pressure6161103 9.6 fluid pressure
6161103 9.6 fluid pressureetcenterrbru
 
6161103 9.3 composite bodies
6161103 9.3 composite bodies6161103 9.3 composite bodies
6161103 9.3 composite bodiesetcenterrbru
 
6161103 9.7 chapter summary and review
6161103 9.7 chapter summary and review6161103 9.7 chapter summary and review
6161103 9.7 chapter summary and reviewetcenterrbru
 
6161103 8.4 frictional forces on screws
6161103 8.4 frictional forces on screws6161103 8.4 frictional forces on screws
6161103 8.4 frictional forces on screwsetcenterrbru
 
6161103 8.3 wedges
6161103 8.3 wedges6161103 8.3 wedges
6161103 8.3 wedgesetcenterrbru
 
6161103 8.2 problems involving dry friction
6161103 8.2 problems involving dry friction6161103 8.2 problems involving dry friction
6161103 8.2 problems involving dry frictionetcenterrbru
 

Más de etcenterrbru (20)

บทที่ 11 การสื่อสารการตลาด
บทที่ 11 การสื่อสารการตลาดบทที่ 11 การสื่อสารการตลาด
บทที่ 11 การสื่อสารการตลาด
 
บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคลบทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
 
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
 
6161103 11.7 stability of equilibrium
6161103 11.7 stability of equilibrium6161103 11.7 stability of equilibrium
6161103 11.7 stability of equilibrium
 
6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies
6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies
6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies
 
6161103 11 virtual work
6161103 11 virtual work6161103 11 virtual work
6161103 11 virtual work
 
6161103 10.9 mass moment of inertia
6161103 10.9 mass moment of inertia6161103 10.9 mass moment of inertia
6161103 10.9 mass moment of inertia
 
6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia
6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia
6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia
 
6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes
6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes
6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes
 
6161103 10.6 inertia for an area
6161103 10.6 inertia for an area6161103 10.6 inertia for an area
6161103 10.6 inertia for an area
 
6161103 10.5 moments of inertia for composite areas
6161103 10.5 moments of inertia for composite areas6161103 10.5 moments of inertia for composite areas
6161103 10.5 moments of inertia for composite areas
 
6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration
6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration
6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration
 
6161103 10.10 chapter summary and review
6161103 10.10 chapter summary and review6161103 10.10 chapter summary and review
6161103 10.10 chapter summary and review
 
6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body
6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body
6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body
 
6161103 9.6 fluid pressure
6161103 9.6 fluid pressure6161103 9.6 fluid pressure
6161103 9.6 fluid pressure
 
6161103 9.3 composite bodies
6161103 9.3 composite bodies6161103 9.3 composite bodies
6161103 9.3 composite bodies
 
6161103 9.7 chapter summary and review
6161103 9.7 chapter summary and review6161103 9.7 chapter summary and review
6161103 9.7 chapter summary and review
 
6161103 8.4 frictional forces on screws
6161103 8.4 frictional forces on screws6161103 8.4 frictional forces on screws
6161103 8.4 frictional forces on screws
 
6161103 8.3 wedges
6161103 8.3 wedges6161103 8.3 wedges
6161103 8.3 wedges
 
6161103 8.2 problems involving dry friction
6161103 8.2 problems involving dry friction6161103 8.2 problems involving dry friction
6161103 8.2 problems involving dry friction
 

09 moral education

  • 2. แนวคิดทางจริยธรรม แนวคิดของนักปรัชญาและศาสนา มนุษยมีเจตนจํานงเสรีหรือถูกบงการ เจตนจํ ชีวตที่ดทสดควรเปนอยางไร ิ ี ี่ ุ คุณคาความดีแบบสัมพัทธนิยมและสัมบูรณนิยม เจตนากับผล แนวคิดของนักจิตวิทยา ทฤษฎีจริยธรรมของโคลเบอรก ทฤษฎีตนไมจริยธรรม
  • 3. 1. มนุษยเปนอิสระ หรือ ถูกบงการ ? ปญหาเจตนจํานงเสรี (Free Will) จํ VS ลัทธิบงการ(Determinism)
  • 4. การถูกบงการ หมายถึง • การกระทําทีไมมีความเปนอิสระในตนเอง แตถูกบงการ ่ โดยสิ่งที่มอิทธิพลเหนือกวา ี • ดังนั้นการกระทําจึงไมใชของบุคคลนั้น เนื่องจากเขาไมไดเลือก หรือปรารถนาจะกระทํา (แตกระทําเพราะถูกบงการ) • เขาจึงไมตองรับผิดชอบในผลที่เกิดขึ้น แตผูบงการหรือผูบังคับ  ใหกระทําตองเปนผูรับผิดชอบตอการกระทํานัน ้
  • 5. การกระทําโดยเสรี หมายถึง สามารถเลือกกระทําไดมากกวา 1 ทาง หรือ เลือกที่จะกระทําหรือไมกระทําได “การเลือกได” เปนสาเหตุททําใหถือวา ี่ เปนการกระทําของบุคคลนั้น เมื่อบุคคลเปนเจาของการกระทํา จึงทําใหตองรับผิดชอบในผลการกระทําที่เกิดขึ้นนั้นดวย
  • 6. วิทยาศาสตร (SCIENCE) ไมมีอะไรเปนอิสระ ทุกสิ่งทุกอยางอยูภายใตการควบคุม โดยกฎแหงเหตุและผล ที่มีอยูในธรรมชาติ
  • 7. ศาสนาคริสต (CHRIST) หลักตรีเอกานุภาพ / ตรีเอกภาพ (TRINITY) พระยะโฮวา พระบิดา พระบุตร พระจิต (The Father) (The Son) (The Holy Spirit)
  • 8. พระบิดา(The Father) พระเจาสรางโลกโดยใชเวลา 7 วัน วันที่ 1 สรางความสวาง วันที่ 2 สรางทองฟาอากาศ วันที่ 3 สรางแผนดินและพืชพันธธัญญาหาร วันที่ 4 สรางดวงอาทิตย ดวงจันทร และดวงดาว วันที่ 5 สรางสรรพสัตว วันที่ 6 สรางมนุษย วันที่ 7 ทรงหยุดพัก
  • 9. ศาสนาคริสตเปนเจตนจํานงเสรีหรือถูกบงการ ? จํ เปนทั้งสองอยาง ในแงของการถูกบงการ คือ พระเจาสรางทุกสิ่งทุก อยางในจักรวาล ในแงของเจตนจํานงเสรี คือ พระเจาสรางแตเฉพาะ จํ รางกายมนุษย แตพระเจาใหเจตนจํานงเสรีแกมนุษย เจตนจํ ในการที่จะเลือกเปนคนดีหรือคนชัวดวยตัวมนุษยเอง ่ ดังนั้น มนุษยจึงตองรับผิดชอบในการเลือกของตนเอง
  • 10. พระพุทธศาสนา เสรีภาพ และ กฎแหงกรรม ในแงเจตนจํานงเสรี คือ มนุษยมีเสรีภาพในการที่จะ เจตนจํ เลือกกระทําไดโดยดูจากเจตนาของผูกระทําเอง ซึ่ง เรียกวา กรรม(แปลวาการกระทํา) ดังนั้น จึงตองรับ ผลของการกระทํานั้น ซึงเรียกวา วิบากกรรม(แปลวา ่ ผลของการกระทํา) ในแงถูกบงการ คือ กฎแหงกรรมที่จะเปนตัวบงการให แตละคนไดรับผลของกรรมหรือการกระทํานันดวย้ ตัวเองเสมอ เปรียบดั่งเงาที่ตดตามตัวบุคคล ิ
  • 11. 2. ชีวิตที่ดีที่สุดควรเปนอยางไร ? ลัทธิสุขนิยม (Hedonism) ความสุขทางกายเปนยอดปรารถนาที่สด ุ อัตนิยม(Egoism):ความสุขเพื่อตนเอง ประโยชนนยม(Utilitarianism):ความสุขเพื่อมหาชน ิ
  • 12. ลัทธิอสุขนิยม(Non - Hedonism) อสุ สิ่งทีดีท่สดไมใชความสุขทางกาย ่ ี ุ ลัทธิปญญานิยม (Intellectualism):ปญญาดีท่สด ี ุ ลัทธิวิมุตินยม ิ (Skepticism):จิตสงบดีท่ีสุด
  • 13. 3. คุณคาความดี สัมพัทธนิยม(Relativism) กับ สัมบูรณนิยม(Absolutism) สัมพัทธนิยม(Relativism) เปนลักษณะคุณคาทางอัตวิสย / อัตนัยนิยม (Subjectivism) ั คุณคาความดีเปลี่ยนแปลงไดโดยขึ้นกับ 1. ความเชื่อ เชน การฆาพอแมเมื่ออายุครบ 60ปของชาว เกาะทะเลใต 2. การปรับตัวเขากับสภาพแวดลอม เชน การทิ้งพอแมของ ชาวเอสกิโม 3. ยุคสมัยทีเปลี่ยนแปลงไปทําใหคานิยมเปลี่ยนไป ่
  • 14. สัมบูรณนิยม(Absolutism) เปนลักษณะคุณคาทางวัตถุวสัย / ปรนัยนิยม(Objectivism) ิ คุณคามีความสมบูรณดวยตัวเอง ไมขึ้นกับสิ่งใดหรือเงื่อนไข ใด เปนความจริงสากล และเปนนามธรรม เปนเปาหมายสูงสุด(Highest Goal or Summum Bonum)ไมใช เปนวิถี/วิธีการ(Mean) เปนคุณคาในตัวเอง(Intrinsic Value)
  • 15. 4. เจตนา กับ ผล แนวคิดทีถือ “เจตนา”เปนหลักตัดสิน ่ ทฤษฎีหนาที่นยมของคานท(Kant) ิ กฎศีลธรรมตองเปนกฎสากล การทําตามกฎศีลธรรมตองถือเปนหนาที่ การทําหนาทีคือการทําตามคําสั่งเด็ดขาด ่ (Categorical Imperative) ไมใชคําสั่งแบบมีเงื่อนไข (Hypothetical Imperative)
  • 16. แนวคิดที่ถือเอา “ผล”เปนหลักตัดสิน ลทธิอัตนิยม(Egoism):ผลประโยชนที่ดทสุดสําหรับบุคคล ี ี่ ลัทธิประโยชนนิยม(Utilitarianism):หลักมหสุข ประโยชนสุขทียาวนานกวา ่ ประโยชนสขเกิดกับคนจํานวนมากที่สุด ุ
  • 17. เกณฑการตัดสินดี-ชั่วของพระพุทธศาสนา 1. เจตนา กรรม กรรม แบงออกเปน 3 ประเภท คือ กายกรรม วจีกรรม และ มโนกรรม 2. การกระทําตามเจตนา สําเร็จหรือไมสําเร็จ 3. ผลทีเกิดขึ้นจากการกระทํา หนักเบา/ มากนอยเพียงใด ่
  • 18. เจตนา การกระทํา ผล (กอน) ดี หรือ ชั่ว (หลัง)
  • 19. ทฤษฎีทางจริยธรรมของโคลเบอรก(Kohlberg) ขั้นของพัฒนาการทางสติปญญาและจริยธรรม 6 ขั้น ระดับจริยธรรม ขั้นการใหเหตุผลเชิงจริยธรรม ขั้นที่ 1 การหลบหลีกการถูกลงโทษ 1.ระดับกอนกฎเกณฑสังคม หรือการลงโทษและการเชื่อฟง (Preconventional Level) (อายุ 2-7ป) อายุ 2-10ป ขั้นที่ 2 การแสวงหารางวัล หรือ การ สนองความตองการ (อายุ 7-10ป)
  • 20. ทฤษฎีทางจริยธรรมของโคลเบอรก (ตอ) ระดับจริยธรรม ขั้นการใหเหตุผลเชิงจริยธรรม 2.ระดับตามกฎเกณฑสังคม ขั้นที่ 3 การทําตามสิ่งที่ผูอื่นเห็นชอบ (Conventional Level) หรือการคาดหวังทางสังคม อายุ10 - 16ป 10 (อายุ 10 – 13 ป) ขั้นที่ 4 การทําตามหนาที่ทางสังคม หรือระบบสังคมและมโนธรรม (อายุ 13 – 16 ป)
  • 21. ทฤษฎีทางจริยธรรมของโคลเบอรก (ตอ) ระดับจริยธรรม ขั้นการใหเหตุผลเชิงจริยธรรม 3.ระดับเหนือกฎเกณฑสังคม ขั้นที่ 5 การทําตามคํามั่นสัญญา (Postconventional Level) หรือสัญญาสังคมและสิทธิสวนบุคคล อายุ 16 ปขึ้นไป (อายุ 16ปขึ้นไป) ขั้นที่ 6 การยึดถืออุดมคติสากล หรือ จริยธรรมสากล (วัยผูใหญ)
  • 22. ลักษณะของพัฒนาการทางจริยธรรม 1. พัฒนาการทางจริยธรรมตองเปนไปตามลําดับขั้นและไมมี การขามขั้น 2. ความสามารถในการใหเหตุผลจะแตกตางไปตามลําดับขั้น 3. บุคคลมีอัตราในการพัฒนาดานจริยธรรมแตกตางกัน 4. ขั้นของอัตราพัฒนาการจะเปนไปตามระดับสติปญญา 5. ประสบการณในการอภิปรายปญหาคุณธรรมและ จริยธรรมมีสวนชวยในการพัฒนาทักษะในการใหเหตุผลไป ยังขั้นที่สูงขึ้นได
  • 23. องคประกอบที่สําคัญของพัฒนาการทางจริยธรรม 1. สติปญญาหรือความคิด 2. ประสบการณทางสังคม บางครั้งเราเรียกทฤษฎีพัฒนาการทางจริยธรรมวา “ทฤษฎีการใหเหตุผลเชิงจริยธรรม”
  • 24. แบบทดสอบการจัดขั้นพัฒนาการทางจริยธรรม สามีภรรยาที่มีฐานะยากจนคูหนึ่ง ภรรยาปวยหนักใกลจะเสียชีวิต แพทยแนะนําใหสามีไปซื้อยาจากเภสัชกรซึ่งมียาทีสามารถรักษา ่ ภรรยาใหหายได เภสัชกรคิดคายาแพงมาก แมขอรองก็ไมยอมลดราคาให ในที่สดสามีจึงตัดสินใจขโมยยาเพื่อไปใหภรรยาไดจนเปนผลสําเร็จ ุ ถาทานเปนสามีในเรื่องนี้ ทานจะทําเชนนีหรือไม?......เพราะเหตุใด? ้
  • 25. เหตุผลเชิงจริยธรรม 1.สามีไมควรขโมย เพราะอาจจะถูกจับและตองติดคุก 2.สามีไมควรจะขโมย เพราะถาหากภรรยาตองเสียชีวตไป เขาก็สามารถ ิ จะหาผูหญิงมาแตงงานเปนภรรยาคนใหมได  3.สามีควรจะขโมย เพื่อรักษาชีวตภรรยาที่รกและรวมทุกขสุขกันมานาน ิ ั 4.สามีไมควรจะขโมย เพราะเปนการทําผิดกฎหมายและจะตองไดรับโทษ ถาไมมกฎหมายลงโทษ สังคมก็จะสับสนวุนวาย ี 5.สามีไมควรจะขโมย เพราะการขโมยเปนการละเมิดสิทธิในทรัพยสิน ของผูอื่น ซึ่งเปนสิ่งที่ไมควรทํา 6.แมวาการขโมยจะเปนการผิดกฎหมาย แตในครั้งนี้เปนการรักษาชีวต  ิ มนุษย ในทางจริยธรรมนาจะทําไดเพราะชีวตมนุษยนาจะสําคัญ ิ มากกวาทรัพยสิน
  • 26. เฉลย เหตุผลเชิงจริยธรรม ขั้น 1.สามีไมควรขโมยเพราะอาจจะถูกจับและตองติดคุก 1 2.สามีไมควรจะขโมย เพราะถาภรรยาเสียชีวต เขาก็สามารถจะแตงงาน ิ ใหมได 2 3.สามีควรจะขโมย เพื่อรักษาชีวตภรรยาอันเปนที่รก ิ ั 3 4.สามีไมควรจะขโมย เพราะเปนการทําผิดกฎหมาย ถาไมมกฎหมาย ี ลงโทษ สังคมก็จะสับสนวุนวาย  4 5.สามีไมควรจะขโมย เพราะการขโมยเปนการละเมิดสิทธิในทรัพยสิน ของผูอื่น ซึ่งเปนสิ่งที่ไมควรทํา 5 6.แมวาการขโมยจะเปนการผิดกฎหมาย แตในครั้งนี้เปนการรักษาชีวต  ิ มนุษย ในทางจริยธรรมนาจะทําไดเพราะชีวตนาจะสําคัญ ิ 6 มากกวาทรัพยสน ิ
  • 27. ทฤษฎีตนไมจริยธรรม ศ.ดร.ดวงเดือน พันธุมนาวิน เปรียบเทียบพฤติกรรมคนดีคนเกงกับสวนตางๆของตนไม 3 สวน สวนที่เปน “ดอกและผลไม” คือ พฤติกรรมของคนดี คนเกง เปนพฤติกรรมที่นาพึงปรารถนา แบงเปน 4 กลุมใหญ 1. พฤติกรรมไมเบียดเบียนตนเอง 2. พฤติกรรมการไมเบียดเบียนผูอน ื่ 3. พฤติกรรมการทําตามหนาที(เรียน ทํางาน รักษาสาธารณสมบัติ) ่ 4. พฤติกรรมการพัฒนาตนเองและสังคม
  • 28. ทฤษฎีตนไมจริยธรรม ศ.ดร.ดวงเดือน พันธุมนาวิน พฤติกรรม 4 กลุมดังกลาว มีสาเหตุทางจิตใจอยู 2 กลุม กลุมที่ 1 สาเหตุทางจิตใจที่เปนสวน “ลําตน”ของตนไม ประกอบดวย จิตลักษณะ 5 ดาน คือ 1. เหตุผลเชิงจริยธรรม 2. มุงอนาคตและการควบคุมตนเอง 3. ความเชื่อในอํานาจตน 4. แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ 5. ทัศนคติ คุณธรรม และคานิยม
  • 29. ทฤษฎีตนไมจริยธรรม ศ.ดร.ดวงเดือน พันธุมนาวิน พฤติกรรม 4 กลุมดังกลาว มีสาเหตุทางจิตใจอยู 2 กลุม กลุมที่ 2 เปนสาเหตุทางจิตที่เปน “ราก”ของตนไม ประกอบดวย จิตลักษณะ 3 ดาน 1. สติปญญา 2. ประสบการณทางสังคม 3. สุขภาพจิต
  • 31. สรุป การพัฒนาใหเปนคนเกง คนดี ตองพัฒนาจิต 4 ดาน ประกอบดวย 1. เหตุผลเชิงจริยธรรม คือ เหตุผลหรือเจตนาในการกระทํา 2. ความเชื่ออํานาจในตน คือ การเรียนรูจากสภาพรอบตัวถึงผลดี/ ผลเสียที่จะเกิดขึ้นจากการตัดสินใจของตนเอง 3. แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ คือ ความมุงมั่นที่จะทําใหสําเร็จ ไมยอทอ เตรียมการแกไขทุกดานอยางรอบคอบ 4. ลักษณะมุงอนาคต – ควบคุมตน มุงอนาคต คือการมีวิสัยทัศนตอสิงที่ยังไมเกิดขึ้น เปนนามธรรม ่ ควบคุมตน คือ การบริหารจัดการวางแผนอยางเปนระบบ