SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 33
Descargar para leer sin conexión
จริยธรรม
               กับการดําเนินชีวต
                               ิ
                                รศ.วิมล เอมโอช
คณะครุศาสตร
 LOGO




                   มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
จริยธรรมกับการดําเนินชีวิต
รศ.วิมล เอมโอช



      “........คนปจจุบันจํานวนมากมองชีวิตทุกวงการเปนการตอสู
      ระหวางผลประโยชนที่ขัดกัน เกิดเปนฝายนายจางกับลูกจาง
      รัฐบาลกับราษฎร คนมีกับคนจนและแมแตหญิงกับชาย หรือ
      ลูกกับพอแม เมื่อคนถือเอาทรัพยและอํานาจเปนจุดหมายของ
      ชี วิ ต สั ง คมที่ ก ลายเป น สนามต อ สู ร ะหว า งผลประโยชน
      ส ว นตั ว ที่ ขั ด กั น เราก็ เ ลยต อ งเที่ ย วหาจริ ย ธรรมสํ า หรั บ มา
      ปกปองผลประโยชนเหลานั้น นี่คือ “จริยธรรมเชิงลบ”

                                                           มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
จริยธรรมกับการดําเนินชีวิต(ตอ)
รศ.วิมล เอมโอช




     กลาวคือ สังคมยึดหลักผลประโยชนแบบเห็นแกตัว
     โดยถือ “สิทธิของแตละคนที่จะแสวงหาความสุข”
     แลวเราก็เลยตองหาจริยธรรม ดังเชน “สิทธิมนุษย”
     มาคอยกีดกั้นและกันไวไมใหคนมาเชือดคอหอยกัน
     ในระหวางที่กําลังวิ่งหาความสุขนั้น

                                      มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
จริยธรรมกับการดําเนินชีวิต(ตอ)
รศ.วิมล เอมโอช




                 หลักธรรมในพุทธศาสนาเปน “จริยธรรมเชิงบวก”
                 ประโยชนสุขคือจุดหมาย หาใชทรัพยหรืออํานาจไม
                 พระพุทธศาสนาถือวา สังคมเปนสื่อกลางที่ชวยให
                 ทุกคนมีโอกาสอันเทาเทียมกันที่จะพัฒนาตนเองและ
                 เขาถึงประโยชนสุขไดมากที่สุด และนําเอาจริยธรรม
                 มาใชเพื่อเกื้อหนุนจุดหมายที่กลาวนี้....”
                                   พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตโต)


                                         มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
จริยธรรมกับการดําเนินชีวิต(ตอ)
รศ.วิมล เอมโอช

                         มาตรฐานจริยธรรม ( Moral Standards)
                             กําหนดจากแนวสําคัญ 3แนว

                 1. มนุษยธรรมนิยม
                 1. มนุษยธรรมนิยม       2. สัจจนิยม
                                        2. สัจจนิยม           3. ประโยชนนิยม
                                                              3. ประโยชนนิยม

                     ถือวาการกระทํา
                                       ถื อ ว า ค ว า ม ดี      ถื อ ว า พฤติ ก รรมใดที่
                   ใดๆก็ตามเปนไป                                ก อ ให เ กิ ด ประโยชน
                   เพื่อพัฒนา          สากลที่ถูกกําหนด          ต อ ส ว น ร ว ม แ ล ะ
                   คุณภาพมนุษยจัด     โดยศาสนา จัดวา           สังคมอยางกวางขวาง
                                                                 ถื อ ว า เป น มาตรฐาน
                   วาถูกหลัก          เปนจริยธรรม              จริยธรรม
                   จริยธรรม

                                                                 มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
จริยธรรมกับการดําเนินชีวิต(ตอ)
รศ.วิมล เอมโอช

                              มาตรฐานจริยธรรมมีลักษณะสําคัญ 3ประการ
                                 1                                       2                                 3
                 มีความเกี่ยวของกับพฤติกรรม               มี ค ว า ม สํ า คั ญ ม า ก ก ว า   การยอมรับหรือการปฏิบัติ
                 ที่ ก อ ใ ห เ กิ ด ผ ล ก ร ะ ท บ ต อ   ม า ต ร ฐ า น อื่ น ๆ ร ว ม ทั้ ง
                                                                                               ต า ม ม า ต ร ฐ า น ด า น
                 สวั ส ดิ ก ารและการอยู ร ว มกั น        ความเห็นแกประโยชนสวนตน
                 ข อ ง สั ง ค ม ม นุ ษ ย แ ล ะ            ดังนั้นการกําหนดหรือควบคุม          จริยธรรมขึ้นอยูกับเหตุผลที่
                 พฤติกรรมเหลานี้สามารถสราง               ความประพฤติ ข องบุ ค คล             สนับสนุนและอธิบาย
                 ประโยชนและกอใหเกิดโทษตอ               จําเปนตองคํานึงถึงมาตรฐาน
                 ประชาชนทั่วไป                             ดานจริยธรรม




                                                                                               มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
จริยธรรมกับการดําเนินชีวิต(ตอ)
รศ.วิมล เอมโอช

                      มาตรฐานจริยธรรมมีลักษณะสําคัญ 3ประการ
                                           1

                 มีความเกี่ยวของกับพฤติกรรมที่กอใหเกิดผลกระทบ
                 ต อ สวั ส ดิ ก ารและการอยู ร ว มกั น ของสั ง คมมนุ ษ ย
                 และพฤติกรรมเหลานี้สามารถสรางประโยชนและ
                 กอใหเกิดโทษตอประชาชนทั่วไป




                                                                มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
จริยธรรมกับการดําเนินชีวิต(ตอ)
รศ.วิมล เอมโอช

                   มาตรฐานจริยธรรมมีลักษณะสําคัญ 3ประการ

                                       2

                 มี ค วามสํ า คั ญ มากกว า มาตรฐานอื่ น ๆรวมทั้ ง
                 ความเห็นแกประโยชนสวนตน ดังนั้นการกําหนด
                 หรือควบคุมความประพฤติของบุคคล จําเปนตอง
                 คํานึงถึงมาตรฐานดานจริยธรรม




                                                      มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
จริยธรรมกับการดําเนินชีวิต(ตอ)
รศ.วิมล เอมโอช

                   มาตรฐานจริยธรรมมีลักษณะสําคัญ 3ประการ
                                     3

                 การยอมรับหรือการปฏิบัติตามมาตรฐานดานจริยธรรม
                 ขึ้นอยูกับเหตุผลที่สนับสนุนและอธิบาย




                                                  มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
จริยธรรมกับการดําเนินชีวิต(ตอ)
รศ.วิมล เอมโอช

                            การวิเคราะหและวินิจฉัยพฤติกรรมปญหา
                             ดานจริยธรรมใชหลักสําคัญ 3 ประการ

                                                    พฤติกรรมดังกลาวทําใหเกิด
          1.หลักความพอใจ (Utility)              ความพอใจกับผูมีประโยชนรวมทุกฝาย

                                                  พฤติกรรมดังกลาวเคารพสิทธิ
            2.หลักสิทธิ (Rights)
                                                 ของบุคคลอื่นที่เกี่ยวของหรือไม
            3.หลักความยุติธรรม                    พฤติกรรมที่เกิดขึ้นมีความ
                 (Justices)                     สอดคลองกับหลักยุติธรรมหรือไม


                                                            มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
จริยธรรมกับการดําเนินชีวิต(ตอ)
รศ.วิมล เอมโอช

                       ระดับจริยธรรม
                 1   จริยธรรมระดับครัวเรือน




                                              มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
จริยธรรมกับการดําเนินชีวิต(ตอ)
รศ.วิมล เอมโอช

                       ระดับจริยธรรม
                 2   จริยธรรมระดับชุมชนและสังคม




                                             มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
จริยธรรมกับการดําเนินชีวิต(ตอ)
รศ.วิมล เอมโอช


                 1.กฎหมาย (Laws) หมายถึง กฎ ระเบียบ ขอบังคับที่ถกประมวลขึ้นอยางเปน
                                                                 ู
                 ทางการในการที่จะหามหรืออนุญาตใหบุคคลกระทําการอยางใดอยางหนึ่ง


                  การกระทําการที่ถูกกฎหมายอาจจะสอดคลองหรือไมสอดคลองกับหลัก
                  จริยธรรมหรือศีลธรรม


                  การที่บุคคลปฏิบัตตามกฎหมายไมเปนสิ่งทีเ่ พียงพอสําหรับมาตรฐานดาน
                                    ิ
                  จริยธรรมและในทํานองเดียวกัน การที่บุคคลไมปฏิบติตามกฎหมายก็ไมใช
                                                                   ั
                  วาจะไมถูกหลักจริยธรรมเสมอไป


                                                                  มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
จริยธรรมกับการดําเนินชีวิต(ตอ)
รศ.วิมล เอมโอช


          2.มารยาท หมายถึง
          พฤติกรรมที่ไดรับการยอมรับในสังคม หรือความสุภาพ ออนโยนของบุคคลตอผูอน
                                                                                ่ื

         3.จรรยาบรรณ หมายถึง
         ประมวลความประพฤติที่ผูประกอบการอาชีพการงานแตละอยางกําหนดขึ้นเพื่อ
         รักษาและสงเสริมเกียรติคุณชื่อเสียงและฐานะของสมาชิก อาจเขียนเปนลายลักษณ
         อักษรหรือไมกได
                      ็

          โดยทั่วไปสมาชิกของวิชาชีพนันๆจะเขาใจและยอมรับรวมกันที่จะปฏิบติตาม
                                     ้                                  ั
  จรรยาบรรณที่กาหนดขึนถาหากทําผิดจรรยาบรรณก็จะไมไดรบการยอมรับจากผูที่อยูใน
                 ํ     ้                               ั
  วงการวิชาชีพเดียวกัน
                                                        มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
จริยธรรมกับการดําเนินชีวิต(ตอ)
รศ.วิมล เอมโอช



                        ในการดํ า เนิ น ชี วิ ต การ
                        ประกอบอาชี พ ต า ง ๆ ชาว
                        พุ ท ธ มั ก นํ า ห ลั ก คิ ด
                        หลักธรรมดานพุทธศาสนา
                        มาเปนขอเตือนใจเสมอ




                                         มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
จริยธรรมกับการดําเนินชีวิต(ตอ)
รศ.วิมล เอมโอช

1.จริยธรรมของนักศึกษา
                        เด็กและเยาวชนทั้งหลายเปนความหวัง
                        ของชาติในอนาคต เด็ก เยาวชน และ
                        นักศึกษา ตองเติบโตเปนผูใหญ เปนผู
                        นําพาประเทศชาติสืบตอไป มีคํากลาว
                        ว า “เด็ ก ในวั น นี้ คื อ ผู ใ หญ ใ นวั น หน า ”
                        ดั ง นั้ น จึ ง ต อ งเตรี ย มตั ว ให พ ร อ มที่ จ ะ
                        เปนผูใหญที่ดีในวันหนาใหได

                                            มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                            ิ
    รศ.วิมล เอมโอช
                         ประเทศชาติตั้งความหวังไววา คนไทยจะตองมี

                                                      คิ ด ดี พู ด ดี ทํา ดี มี ค า นิ ย มและวั ฒ นธรรมที่ ดี รู จั ก บาป-บุ ญ
                       1.มีคุณธรรมจริยธรรม           คุณโทษ ไมติดในอบายมุข

                                                      เคารพกฎจราจร ตรงตอเวลาแตงกายเรียบรอย รูบทบาท
                             2.มีระเบียบวินัย        หนาที่
คุณลักษณะคนดีที่พึง
ประสงคของคนไทย                                          มีความละอาย ความเกรงกลัวต อบาป เห็ นอกเห็นใจผูอื่น
                              3.มีจิตสํานึกที่ดี     รูกาลเทศะ ไมคุยกันขณะฟงบรรยาย รูจักชวยเหลือผูอื่น
10 ประการ
                                                        โลกทุ ก วั น นี้ มีก ารเปลี่ ย นแปลงตลอดเวลาและรวดเร็ว มาก
                              4.รักการเรียนรู       ดังนั้นมีความรูใหมๆเกิดขึ้นตลอดเวลาในโลกใบนี้ดังนั้นจึงตอง
                                                     รักการเรียนรูจึงจะสามารถอยูไดอยางมีความสุข

                      5.มีความรัก ผูกพัน เอื้ออาทร   ความรัก=เปนพลังอันยิ่งใหญ ครอบครัวที่เข็มแข็ง มีความรัก
                         หวงใยบุคคลในครอบครัว       หวงใย เอื้ออาทรตอกันจะเปนตนทุนที่ดีในการพัฒนาเยาวชน


                                                                                 มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                            ิ
    รศ.วิมล เอมโอช
                      ประเทศชาติตั้งความหวังไววา คนไทยจะตองมี(ตอ)

                                                  วัฒนธรรมประเพณีไทยเปนมรดกที่ล้ําคาเปนสิ่งที่แสดงความ
                       6.รักความเปนไทย           เปนไทย ชาติไทย
                       และวัฒนธรรมไทย
                            7.มีสุขภาพกาย         พลังความคิดสติปญญายอมอยูในรางกายที่เข็งแรง สุขภาพจิต
                                                  เปนสิ่งสําคัญที่ทําใหรางกายแข็งแรง เกิดสติปญญาตองปฏิบัติ
คุณลักษณะคนดีที่พึง         และสุขภาพจิตดี        ในชีวิตจริงที่มิใชอยูในแตหนังสือ
ประสงคของคนไทย              8.มีวิถีชีวตแบบ
                                        ิ
                                                  - คารวะธรรม - สามัคคีธรรม - ปญญาธรรม
10 ประการ                    ประชาธิปไตย
                                                       สิ่งชั่วรายหกประการจะทําใหชีวิต ควรหลีกหนีใหพน
                           9.ไมมั่วสุมอบายมุข                 เกียจคราน- เที่ยวกลางคืน - ดูการละเลน
                                                               เลนการพนัน - คบคนชัว- ดื่มของมึนเมา
                                                                                      ่

                      10.ดําเนินชีวตแบบ
                                   ิ               ความพอเพียงหมายถึง
                                                   -ความพอประมาณ - ความมีเหตุผล – มีระบบภูมิคมกัน    ุ
                      เศรษฐกิจพอเพียง              มีคุณธรรม (ซื่อสัตย สุจริต แบงปน ใชความรอบรู)
                                                                                                   
                                                   ดําเนินชีวิต (ดวยความเพียร อดทน มีสติปญญา สามัคคี)
                                                                      มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                        ิ
รศ.วิมล เอมโอช



                   จะปลูกพืชตองเตรียมดิน
                   จะกินตองเตรียมอาหาร
                   จะพัฒนาการตองเตรียมคน
                   จะพัฒนาคนตองเริมที่ใจ
                                   ่
                   จะพัฒนาใครเขา ก็ตองเริ่มที่เรากอน




                                                  มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                         ิ
 รศ.วิมล เอมโอช

           1.สติ        1.หลักธรรมมีอุปการะมาก มี 2 ประการ   2.สัมปชัญญะ



      คือ ความระลึกได                            คือ ความรูตัว ปฏิบัติ
      ไมประมาท                                   ในทางถูกตองเหมาะสม
      ไมเลินเลอ                                 เตือนตนใหรอดพน
      ไมเผลอตัว

ธรรมะ 2 ประการนี้ จะทําใหผประพฤติปฏิบัติรอดพนภัยไดเสมอ คนมักพบกับความทุกข
                             ู
ตาง ๆ อันเนื่องจากขาดสติสัมปชัญญะ
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                        ิ
รศ.วิมล เอมโอช
                                2.ธรรมคุมครองโลก
                                        

                                      มี 2 ประการคือ


     1.หิ ริ คื อ ค ว า ม                                        2.โอตัปปะ คือ ความ
     ละอายแกใจ ละเวน                                           เกรงกลัวตอบาป
     จ า ก ก า ร ป ร ะ พ ฤ ติ                                    การทุจริตหรือการ
     ปฏิบัติชั่วทั้งปวง                                          ประพฤติชั่วทั้งปวง


  ผูมีคุณธรรม 2 ประการนี้ยอมทําใหสังคมเปนสุข ไมเบียดเบียนซึงกันและกัน
                                                                ่
  (มีความเกรงใจกัน เอื้ออาทรตอกัน เห็นอกเห็นใจกัน ไมเห็นแกได ไมเห็นแกตัวฯลฯ)
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                        ิ
รศ.วิมล เอมโอช

       3. อิทธิบาท 4 คือ ธรรมที่จะสงเสริมใหผูปฏิบัติพบกับความสําเร็จสมประสงค 4 ประการ

             1      ฉันทะ : พอใจรักใครในสิงนั้น
                                           ่

             2        วิริยะ : เพียรหมั่นประกอบในสิงนัน
                                                   ่ ้

             3        จิตตะ : เอาใจฝกใฝในสิ่งนั้นไมวางเฉย


             4       วิมังสา : หมั่นตรึกตรอง พิจารณาหาเหตุผลในสิงนั้น ๆ เพื่อพัฒนาตอไป
                                                                ่

อิทธิบาท 4 สอนใหบุคคลมีสํานึกที่ดีมีความรับผิดชอบตอตนเองและหนาที่สูง ตองยึดถือและปฏิบติ
                                                                                         ั
ใหครบ 4 ขอ จึงจะประสบความสําเร็จ (ไมใชมีเพียงแค 1 ขอ ฉันทะเทานันอาจไมสําเร็จ)
                                                                      ้
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                        ิ
รศ.วิมล เอมโอช
                                      4. สังคหวัตถุ 4

  1.ทาน : ใหปนสิ่งของของตนแกผูอื่นตามควร
                                                        สังคหวัตถุ แปลวา สิ่ง
                                                        เ ป น ที่ ตั้ ง แ ห ง ก า ร
2.ปยวาจา : เจรจาดวยถอยคําออนนอม ออนหวาน           สงเคราะห สิ่ ง อั น เป น
                                                        ความเอื้ อ เฟ อ เกื้ อ กู ล
3.อัตถจริยา : ประพฤติปฏิบัติในสิ่งที่เปนประโยชน       เป น ธรรมที่ ยึ ด เหนี่ ย ว
                                                        ใจผูอื่นใหผูกพันไวไดมี
                                                        4 ประการ
4.สมานัตตา : ความเปนคนเสมอตนเสมอปลายไมถือตัว
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                        ิ
รศ.วิมล เอมโอช

                                              5.หัวใจนักปราชญ
                                              5.หัวใจนักปราชญ
เปนธรรมที่สงงเสริมใหผูปฏิบัตเิ เิ ปนนักปราชญ เปนผูรอบรูใในศาสตรตาางๆ ตามที่ปรารถนา มี 4 ประการ
 เปนธรรมที่ส  เสริมใหผูปฏิบัต ปนนักปราชญ เปนผูรอบรู นศาสตรต งๆ ตามที่ปรารถนา มี 4 ประการ


                                     ผูประพฤติปฏิบัติอยางสม่ําเสมอและ
                                     ครบถวนทุกประการจะนําไปสูความ
                                        เปนผูรอบรู ผูเชี่ยวชาญ และเปน
                                                   นักปราชญ
         1                           2                                 3                        4

        สุ                           จิ                              ปุ                        ลิ

สุตตะ ฟงอยางตั้งใจ       จินตะ คิดตามในสิ่งที่ฟง
                                                         ปุจฉา ซักถาม พิจารณา        ลิขิต /จด/ เขียน บันทึก
รวมทั้งการอานดวย                                        ทบทวน ไตรตรอง ทดลอง
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                        ิ
รศ.วิมล เอมโอช
                            6. มิตรเทียม (มิตรปฏิรูปก)
           มิตรเทียม หรือศัตรูที่มาในรางมิตรไมควรคบอยางยิ่งมี 4 ประเภท
                  6.1 มิตรปอกลอก มีแตเอาของเพื่อน เบียดเบียนเพื่อน

             6.1.1 คิดเอาแตไดฝายเดียว


            6.2.2 ยอมเสียนอยโดยหวังจะเอามากกวา


            6.1.3 ตัวมีภัย จึงมาชวยทํากิจเพื่อน เพื่อหวังผลใหชวยเหลือ


            6.1.4 คบเพื่อนเพราะเห็นแกผลประโยชนของตนเมื่อเขาสิ้นอํานาจวาสนาก็จะตีจากไป
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                          ิ
  รศ.วิมล เอมโอช
                               6. มิตรเทียม (มิตรปฏิรูปก) ตอ
               มิตรเทียม หรือศัตรูที่มาในรางมิตรไมควรคบอยางยิ่งมี 4 ประเภท
                                                 6.2 มิตรดีแตพูด

6.2.1 เก็บเอาของลวงแลวมาปราศรัย (เชน “คิดจะแบงใหแตรออยูไมเห็นมา ขณะนี้หมดแลว”)


6.2.2   อางเอาของที่ยังไมมีมาปราศรัย เพื่อปลุกปลอบใจ เพื่อใหชวยทําธุระให (เชน “ถาทํางานนี้เสร็จจะใหเพื่อ 50 %เลย)



6.2.3 สงเคราะหดวยสิ่งทําประโยชนมิได (พูดในสิ่งไรสาระ ไมมีคุณคา ไมมประโยชนอันใด)
                                                                          ี


6.2.4 เมื่อเพื่อนมีกิจอางแตเหตุขัดของ (เพือขอความชวยเหลือจะอางเหตุขัดของไปตาง ๆ นานา)
                                             ่
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                        ิ
รศ.วิมล เอมโอช
                           6. มิตรเทียม (มิตรปฏิรูปก) ตอ
           มิตรเทียม หรือศัตรูที่มาในรางมิตรไมควรคบอยางยิ่งมี 4 ประเภท
                                  6.3 มิตรหัวประจบ

                     6.3.1   จะทําชัวก็คลอยตาม
                                    ่

                    6.3.2    จะทําดีก็คลอยตาม

                    6.3.3    ตอหนาสรรเสริญ

                    6.3.4     ลับหลังนินทา
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                        ิ
รศ.วิมล เอมโอช
                           6. มิตรเทียม (มิตรปฏิรูปก) ตอ
           มิตรเทียม หรือศัตรูที่มาในรางมิตรไมควรคบอยางยิ่งมี 4 ประเภท
                                 6.4 มิตรชวนไปในทางฉิบหาย

            6.4.1 ชักชวนเพื่อนดื่มน้ําเมา


            6.4.2 ชักชวนเพื่อนเที่ยวกลางคืน


            6.4.3 ชักชวนใหมัวเมาในการละเลนตาง ๆ


            6.4.4 ชักชวนในการเลนการพนัน
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                        ิ
รศ.วิมล เอมโอช
                                      7. มิตรแท
     มิตรแทเปนเพื่อนที่แทจริง จะนําพาไปสูความเจริญและเปนสุข มี 4 ประเภท
                                7.1 มิตรมีอุปการะมีลักษณะ4

             7.2.1 ปองกันเพื่อผูประมาท ชวยรักษาเพื่อน ตักเตือน


            7.2.2 ปองกันชวยรักษาทรัพยสมบัติของเพื่อนผูประมาท


            7.2.3 เมื่อมีภัยเปนที่พึ่งของเพื่อนได


            7.2.4 เมื่อมีกิจจําเปน ชวยออกทรัพยใหเกินกวาจะใหเพื่อนออกปากรองขอ
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                        ิ
รศ.วิมล เอมโอช
                                   7.มิตรแท (ตอ)
     มิตรแทเปนเพื่อนที่แทจริง จะนําพาไปสูความเจริญและเปนสุข มี 4 ประเภท
                         7.2 มิตรรวมสุขรวมทุกข มีลักษณะ4

                      7.2.1 บอกความลับแกเพื่อน


                      7.2.2   รักษาความลับของเพื่อน

                      7.2.3 มีภัยอันตรายไมละทิ้ง


                      7.2.4 แมชวิตก็อาจสละแทนได
                                ี
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                        ิ
รศ.วิมล เอมโอช
                                   7. มิตรแท (ตอ)
     มิตรแทเปนเพื่อนที่แทจริง จะนําพาไปสูความเจริญและเปนสุข มี 4 ประเภท
                             7.3 มิตรแนะนําประโยชน มีลักษณะ 4

                     7.3.1    หามไมใหทําชั่ว

                    7.3.2      แนะนําใหตั้งอยูในความดี

                    7.3.3      ใหฟงในสิ่งที่ยังไมเคยฟง

                    7.3.4      บอกทางสวรรคให
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                        ิ
รศ.วิมล เอมโอช
                                   7.มิตรแท (ตอ)
     มิตรแทเปนเพื่อนที่แทจริง จะนําพาไปสูความเจริญและเปนสุข มี 4 ประเภท
                               7.4 มิตรมีใจรัก มีลักษณะ 4

            7.4.1 เพื่อนมีทกข ทุกขดวย
                           ุ

            7.4.2 เพื่อนมีสุข สุขดวย


            7.4.3 เพื่อนถูกติเตียน ชวยแกไขให


            7.4.4 เพื่อนไดรับการสรรเสริญชวยสงเสริม
จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ)
                          ิ
  รศ.วิมล เอมโอช
                        ตั้งใจ
            ถาหมั่นเพียร เรียนอะไร ก็ตองรู
      ถาหมั่นดู ดูอะไร ก็ตองเห็น
     ถาหมั่นทํา ทําอะไร ก็ตองเปน
     ถาไมเลน หมั่นแตทํา จักจําเริญ
            ถาครานเรียน เรียนอะไร ก็ไมรู
     ถาครานดู ดูอะไร ก็ไมเห็น
     ถาครานทํา ทําอะไร ก็ไมเปน
     ตองลําเค็ญ เปนขอทาน เพราะครานเอย
                        จาก วัดสวนแกว
ขอคิดเตือนใจสําหรับนักเรียนนักศึกษา เพือนําไปสูความสําเร็จในชีวิต
                                        ่

Más contenido relacionado

Similar a 10 ethics and lifestyle

บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์Development Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปีPa'rig Prig
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บรรพต แคไธสง
 
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1Prapaporn Boonplord
 
human security integrated development
human security integrated developmenthuman security integrated development
human security integrated developmenttpsinfo
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาPadvee Academy
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมpajaree_musikapong
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)pajaree_musikapong
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมpajaree_musikapong
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมMai New
 
Topicค ณธรรม (2)
Topicค ณธรรม (2)Topicค ณธรรม (2)
Topicค ณธรรม (2)Min Chatchadaporn
 
ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ
ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ
ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ สุรพล ศรีบุญทรง
 
09 moral education
09 moral education09 moral education
09 moral educationetcenterrbru
 
เตรียมสอบ O net 57 สังคมชุด2
เตรียมสอบ O net 57  สังคมชุด2เตรียมสอบ O net 57  สังคมชุด2
เตรียมสอบ O net 57 สังคมชุด2jutarattubtim
 

Similar a 10 ethics and lifestyle (20)

05 ethics
05 ethics05 ethics
05 ethics
 
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่111 3-ปี
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
 
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
 
human security integrated development
human security integrated developmenthuman security integrated development
human security integrated development
 
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุรินพยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคม
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคม
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)ความเป นธรรมในส งคม (2)
ความเป นธรรมในส งคม (2)
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
ความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคมความเป็นธรรมในสังคม
ความเป็นธรรมในสังคม
 
ความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคมความเป นธรรมในส งคม
ความเป นธรรมในส งคม
 
Topicค ณธรรม (2)
Topicค ณธรรม (2)Topicค ณธรรม (2)
Topicค ณธรรม (2)
 
ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ
ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ
ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ
 
09 moral education
09 moral education09 moral education
09 moral education
 
เตรียมสอบ O net 57 สังคมชุด2
เตรียมสอบ O net 57  สังคมชุด2เตรียมสอบ O net 57  สังคมชุด2
เตรียมสอบ O net 57 สังคมชุด2
 

Más de etcenterrbru

บทที่ 11 การสื่อสารการตลาด
บทที่ 11 การสื่อสารการตลาดบทที่ 11 การสื่อสารการตลาด
บทที่ 11 การสื่อสารการตลาดetcenterrbru
 
บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคลบทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคลetcenterrbru
 
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์etcenterrbru
 
6161103 11.7 stability of equilibrium
6161103 11.7 stability of equilibrium6161103 11.7 stability of equilibrium
6161103 11.7 stability of equilibriumetcenterrbru
 
6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies
6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies
6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodiesetcenterrbru
 
6161103 11 virtual work
6161103 11 virtual work6161103 11 virtual work
6161103 11 virtual worketcenterrbru
 
6161103 10.9 mass moment of inertia
6161103 10.9 mass moment of inertia6161103 10.9 mass moment of inertia
6161103 10.9 mass moment of inertiaetcenterrbru
 
6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia
6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia
6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertiaetcenterrbru
 
6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes
6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes
6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axesetcenterrbru
 
6161103 10.6 inertia for an area
6161103 10.6 inertia for an area6161103 10.6 inertia for an area
6161103 10.6 inertia for an areaetcenterrbru
 
6161103 10.5 moments of inertia for composite areas
6161103 10.5 moments of inertia for composite areas6161103 10.5 moments of inertia for composite areas
6161103 10.5 moments of inertia for composite areasetcenterrbru
 
6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration
6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration
6161103 10.4 moments of inertia for an area by integrationetcenterrbru
 
6161103 10.10 chapter summary and review
6161103 10.10 chapter summary and review6161103 10.10 chapter summary and review
6161103 10.10 chapter summary and reviewetcenterrbru
 
6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body
6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body
6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a bodyetcenterrbru
 
6161103 9.6 fluid pressure
6161103 9.6 fluid pressure6161103 9.6 fluid pressure
6161103 9.6 fluid pressureetcenterrbru
 
6161103 9.3 composite bodies
6161103 9.3 composite bodies6161103 9.3 composite bodies
6161103 9.3 composite bodiesetcenterrbru
 
6161103 9.7 chapter summary and review
6161103 9.7 chapter summary and review6161103 9.7 chapter summary and review
6161103 9.7 chapter summary and reviewetcenterrbru
 
6161103 8.4 frictional forces on screws
6161103 8.4 frictional forces on screws6161103 8.4 frictional forces on screws
6161103 8.4 frictional forces on screwsetcenterrbru
 
6161103 8.3 wedges
6161103 8.3 wedges6161103 8.3 wedges
6161103 8.3 wedgesetcenterrbru
 
6161103 8.2 problems involving dry friction
6161103 8.2 problems involving dry friction6161103 8.2 problems involving dry friction
6161103 8.2 problems involving dry frictionetcenterrbru
 

Más de etcenterrbru (20)

บทที่ 11 การสื่อสารการตลาด
บทที่ 11 การสื่อสารการตลาดบทที่ 11 การสื่อสารการตลาด
บทที่ 11 การสื่อสารการตลาด
 
บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคลบทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
 
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
บทที่ 7 การประชาสัมพันธ์
 
6161103 11.7 stability of equilibrium
6161103 11.7 stability of equilibrium6161103 11.7 stability of equilibrium
6161103 11.7 stability of equilibrium
 
6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies
6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies
6161103 11.3 principle of virtual work for a system of connected rigid bodies
 
6161103 11 virtual work
6161103 11 virtual work6161103 11 virtual work
6161103 11 virtual work
 
6161103 10.9 mass moment of inertia
6161103 10.9 mass moment of inertia6161103 10.9 mass moment of inertia
6161103 10.9 mass moment of inertia
 
6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia
6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia
6161103 10.8 mohr’s circle for moments of inertia
 
6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes
6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes
6161103 10.7 moments of inertia for an area about inclined axes
 
6161103 10.6 inertia for an area
6161103 10.6 inertia for an area6161103 10.6 inertia for an area
6161103 10.6 inertia for an area
 
6161103 10.5 moments of inertia for composite areas
6161103 10.5 moments of inertia for composite areas6161103 10.5 moments of inertia for composite areas
6161103 10.5 moments of inertia for composite areas
 
6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration
6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration
6161103 10.4 moments of inertia for an area by integration
 
6161103 10.10 chapter summary and review
6161103 10.10 chapter summary and review6161103 10.10 chapter summary and review
6161103 10.10 chapter summary and review
 
6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body
6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body
6161103 9.2 center of gravity and center of mass and centroid for a body
 
6161103 9.6 fluid pressure
6161103 9.6 fluid pressure6161103 9.6 fluid pressure
6161103 9.6 fluid pressure
 
6161103 9.3 composite bodies
6161103 9.3 composite bodies6161103 9.3 composite bodies
6161103 9.3 composite bodies
 
6161103 9.7 chapter summary and review
6161103 9.7 chapter summary and review6161103 9.7 chapter summary and review
6161103 9.7 chapter summary and review
 
6161103 8.4 frictional forces on screws
6161103 8.4 frictional forces on screws6161103 8.4 frictional forces on screws
6161103 8.4 frictional forces on screws
 
6161103 8.3 wedges
6161103 8.3 wedges6161103 8.3 wedges
6161103 8.3 wedges
 
6161103 8.2 problems involving dry friction
6161103 8.2 problems involving dry friction6161103 8.2 problems involving dry friction
6161103 8.2 problems involving dry friction
 

10 ethics and lifestyle

  • 1. จริยธรรม กับการดําเนินชีวต ิ รศ.วิมล เอมโอช คณะครุศาสตร LOGO มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
  • 2. จริยธรรมกับการดําเนินชีวิต รศ.วิมล เอมโอช “........คนปจจุบันจํานวนมากมองชีวิตทุกวงการเปนการตอสู ระหวางผลประโยชนที่ขัดกัน เกิดเปนฝายนายจางกับลูกจาง รัฐบาลกับราษฎร คนมีกับคนจนและแมแตหญิงกับชาย หรือ ลูกกับพอแม เมื่อคนถือเอาทรัพยและอํานาจเปนจุดหมายของ ชี วิ ต สั ง คมที่ ก ลายเป น สนามต อ สู ร ะหว า งผลประโยชน ส ว นตั ว ที่ ขั ด กั น เราก็ เ ลยต อ งเที่ ย วหาจริ ย ธรรมสํ า หรั บ มา ปกปองผลประโยชนเหลานั้น นี่คือ “จริยธรรมเชิงลบ” มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
  • 3. จริยธรรมกับการดําเนินชีวิต(ตอ) รศ.วิมล เอมโอช กลาวคือ สังคมยึดหลักผลประโยชนแบบเห็นแกตัว โดยถือ “สิทธิของแตละคนที่จะแสวงหาความสุข” แลวเราก็เลยตองหาจริยธรรม ดังเชน “สิทธิมนุษย” มาคอยกีดกั้นและกันไวไมใหคนมาเชือดคอหอยกัน ในระหวางที่กําลังวิ่งหาความสุขนั้น มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
  • 4. จริยธรรมกับการดําเนินชีวิต(ตอ) รศ.วิมล เอมโอช หลักธรรมในพุทธศาสนาเปน “จริยธรรมเชิงบวก” ประโยชนสุขคือจุดหมาย หาใชทรัพยหรืออํานาจไม พระพุทธศาสนาถือวา สังคมเปนสื่อกลางที่ชวยให ทุกคนมีโอกาสอันเทาเทียมกันที่จะพัฒนาตนเองและ เขาถึงประโยชนสุขไดมากที่สุด และนําเอาจริยธรรม มาใชเพื่อเกื้อหนุนจุดหมายที่กลาวนี้....” พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตโต) มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
  • 5. จริยธรรมกับการดําเนินชีวิต(ตอ) รศ.วิมล เอมโอช มาตรฐานจริยธรรม ( Moral Standards) กําหนดจากแนวสําคัญ 3แนว 1. มนุษยธรรมนิยม 1. มนุษยธรรมนิยม 2. สัจจนิยม 2. สัจจนิยม 3. ประโยชนนิยม 3. ประโยชนนิยม ถือวาการกระทํา ถื อ ว า ค ว า ม ดี ถื อ ว า พฤติ ก รรมใดที่ ใดๆก็ตามเปนไป ก อ ให เ กิ ด ประโยชน เพื่อพัฒนา สากลที่ถูกกําหนด ต อ ส ว น ร ว ม แ ล ะ คุณภาพมนุษยจัด โดยศาสนา จัดวา สังคมอยางกวางขวาง ถื อ ว า เป น มาตรฐาน วาถูกหลัก เปนจริยธรรม จริยธรรม จริยธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
  • 6. จริยธรรมกับการดําเนินชีวิต(ตอ) รศ.วิมล เอมโอช มาตรฐานจริยธรรมมีลักษณะสําคัญ 3ประการ 1 2 3 มีความเกี่ยวของกับพฤติกรรม มี ค ว า ม สํ า คั ญ ม า ก ก ว า การยอมรับหรือการปฏิบัติ ที่ ก อ ใ ห เ กิ ด ผ ล ก ร ะ ท บ ต อ ม า ต ร ฐ า น อื่ น ๆ ร ว ม ทั้ ง ต า ม ม า ต ร ฐ า น ด า น สวั ส ดิ ก ารและการอยู ร ว มกั น ความเห็นแกประโยชนสวนตน ข อ ง สั ง ค ม ม นุ ษ ย แ ล ะ ดังนั้นการกําหนดหรือควบคุม จริยธรรมขึ้นอยูกับเหตุผลที่ พฤติกรรมเหลานี้สามารถสราง ความประพฤติ ข องบุ ค คล สนับสนุนและอธิบาย ประโยชนและกอใหเกิดโทษตอ จําเปนตองคํานึงถึงมาตรฐาน ประชาชนทั่วไป ดานจริยธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
  • 7. จริยธรรมกับการดําเนินชีวิต(ตอ) รศ.วิมล เอมโอช มาตรฐานจริยธรรมมีลักษณะสําคัญ 3ประการ 1 มีความเกี่ยวของกับพฤติกรรมที่กอใหเกิดผลกระทบ ต อ สวั ส ดิ ก ารและการอยู ร ว มกั น ของสั ง คมมนุ ษ ย และพฤติกรรมเหลานี้สามารถสรางประโยชนและ กอใหเกิดโทษตอประชาชนทั่วไป มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
  • 8. จริยธรรมกับการดําเนินชีวิต(ตอ) รศ.วิมล เอมโอช มาตรฐานจริยธรรมมีลักษณะสําคัญ 3ประการ 2 มี ค วามสํ า คั ญ มากกว า มาตรฐานอื่ น ๆรวมทั้ ง ความเห็นแกประโยชนสวนตน ดังนั้นการกําหนด หรือควบคุมความประพฤติของบุคคล จําเปนตอง คํานึงถึงมาตรฐานดานจริยธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
  • 9. จริยธรรมกับการดําเนินชีวิต(ตอ) รศ.วิมล เอมโอช มาตรฐานจริยธรรมมีลักษณะสําคัญ 3ประการ 3 การยอมรับหรือการปฏิบัติตามมาตรฐานดานจริยธรรม ขึ้นอยูกับเหตุผลที่สนับสนุนและอธิบาย มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
  • 10. จริยธรรมกับการดําเนินชีวิต(ตอ) รศ.วิมล เอมโอช การวิเคราะหและวินิจฉัยพฤติกรรมปญหา ดานจริยธรรมใชหลักสําคัญ 3 ประการ พฤติกรรมดังกลาวทําใหเกิด 1.หลักความพอใจ (Utility) ความพอใจกับผูมีประโยชนรวมทุกฝาย พฤติกรรมดังกลาวเคารพสิทธิ 2.หลักสิทธิ (Rights) ของบุคคลอื่นที่เกี่ยวของหรือไม 3.หลักความยุติธรรม พฤติกรรมที่เกิดขึ้นมีความ (Justices) สอดคลองกับหลักยุติธรรมหรือไม มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
  • 11. จริยธรรมกับการดําเนินชีวิต(ตอ) รศ.วิมล เอมโอช ระดับจริยธรรม 1 จริยธรรมระดับครัวเรือน มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
  • 12. จริยธรรมกับการดําเนินชีวิต(ตอ) รศ.วิมล เอมโอช ระดับจริยธรรม 2 จริยธรรมระดับชุมชนและสังคม มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
  • 13. จริยธรรมกับการดําเนินชีวิต(ตอ) รศ.วิมล เอมโอช 1.กฎหมาย (Laws) หมายถึง กฎ ระเบียบ ขอบังคับที่ถกประมวลขึ้นอยางเปน ู ทางการในการที่จะหามหรืออนุญาตใหบุคคลกระทําการอยางใดอยางหนึ่ง การกระทําการที่ถูกกฎหมายอาจจะสอดคลองหรือไมสอดคลองกับหลัก จริยธรรมหรือศีลธรรม การที่บุคคลปฏิบัตตามกฎหมายไมเปนสิ่งทีเ่ พียงพอสําหรับมาตรฐานดาน ิ จริยธรรมและในทํานองเดียวกัน การที่บุคคลไมปฏิบติตามกฎหมายก็ไมใช ั วาจะไมถูกหลักจริยธรรมเสมอไป มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
  • 14. จริยธรรมกับการดําเนินชีวิต(ตอ) รศ.วิมล เอมโอช 2.มารยาท หมายถึง พฤติกรรมที่ไดรับการยอมรับในสังคม หรือความสุภาพ ออนโยนของบุคคลตอผูอน ่ื 3.จรรยาบรรณ หมายถึง ประมวลความประพฤติที่ผูประกอบการอาชีพการงานแตละอยางกําหนดขึ้นเพื่อ รักษาและสงเสริมเกียรติคุณชื่อเสียงและฐานะของสมาชิก อาจเขียนเปนลายลักษณ อักษรหรือไมกได ็ โดยทั่วไปสมาชิกของวิชาชีพนันๆจะเขาใจและยอมรับรวมกันที่จะปฏิบติตาม ้ ั จรรยาบรรณที่กาหนดขึนถาหากทําผิดจรรยาบรรณก็จะไมไดรบการยอมรับจากผูที่อยูใน ํ ้ ั วงการวิชาชีพเดียวกัน มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
  • 15. จริยธรรมกับการดําเนินชีวิต(ตอ) รศ.วิมล เอมโอช ในการดํ า เนิ น ชี วิ ต การ ประกอบอาชี พ ต า ง ๆ ชาว พุ ท ธ มั ก นํ า ห ลั ก คิ ด หลักธรรมดานพุทธศาสนา มาเปนขอเตือนใจเสมอ มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
  • 16. จริยธรรมกับการดําเนินชีวิต(ตอ) รศ.วิมล เอมโอช 1.จริยธรรมของนักศึกษา เด็กและเยาวชนทั้งหลายเปนความหวัง ของชาติในอนาคต เด็ก เยาวชน และ นักศึกษา ตองเติบโตเปนผูใหญ เปนผู นําพาประเทศชาติสืบตอไป มีคํากลาว ว า “เด็ ก ในวั น นี้ คื อ ผู ใ หญ ใ นวั น หน า ” ดั ง นั้ น จึ ง ต อ งเตรี ย มตั ว ให พ ร อ มที่ จ ะ เปนผูใหญที่ดีในวันหนาใหได มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
  • 17. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช ประเทศชาติตั้งความหวังไววา คนไทยจะตองมี คิ ด ดี พู ด ดี ทํา ดี มี ค า นิ ย มและวั ฒ นธรรมที่ ดี รู จั ก บาป-บุ ญ 1.มีคุณธรรมจริยธรรม คุณโทษ ไมติดในอบายมุข เคารพกฎจราจร ตรงตอเวลาแตงกายเรียบรอย รูบทบาท 2.มีระเบียบวินัย หนาที่ คุณลักษณะคนดีที่พึง ประสงคของคนไทย มีความละอาย ความเกรงกลัวต อบาป เห็ นอกเห็นใจผูอื่น 3.มีจิตสํานึกที่ดี รูกาลเทศะ ไมคุยกันขณะฟงบรรยาย รูจักชวยเหลือผูอื่น 10 ประการ โลกทุ ก วั น นี้ มีก ารเปลี่ ย นแปลงตลอดเวลาและรวดเร็ว มาก 4.รักการเรียนรู ดังนั้นมีความรูใหมๆเกิดขึ้นตลอดเวลาในโลกใบนี้ดังนั้นจึงตอง รักการเรียนรูจึงจะสามารถอยูไดอยางมีความสุข 5.มีความรัก ผูกพัน เอื้ออาทร ความรัก=เปนพลังอันยิ่งใหญ ครอบครัวที่เข็มแข็ง มีความรัก หวงใยบุคคลในครอบครัว หวงใย เอื้ออาทรตอกันจะเปนตนทุนที่ดีในการพัฒนาเยาวชน มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
  • 18. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช ประเทศชาติตั้งความหวังไววา คนไทยจะตองมี(ตอ) วัฒนธรรมประเพณีไทยเปนมรดกที่ล้ําคาเปนสิ่งที่แสดงความ 6.รักความเปนไทย เปนไทย ชาติไทย และวัฒนธรรมไทย 7.มีสุขภาพกาย พลังความคิดสติปญญายอมอยูในรางกายที่เข็งแรง สุขภาพจิต เปนสิ่งสําคัญที่ทําใหรางกายแข็งแรง เกิดสติปญญาตองปฏิบัติ คุณลักษณะคนดีที่พึง และสุขภาพจิตดี ในชีวิตจริงที่มิใชอยูในแตหนังสือ ประสงคของคนไทย 8.มีวิถีชีวตแบบ ิ - คารวะธรรม - สามัคคีธรรม - ปญญาธรรม 10 ประการ ประชาธิปไตย สิ่งชั่วรายหกประการจะทําใหชีวิต ควรหลีกหนีใหพน 9.ไมมั่วสุมอบายมุข เกียจคราน- เที่ยวกลางคืน - ดูการละเลน เลนการพนัน - คบคนชัว- ดื่มของมึนเมา ่ 10.ดําเนินชีวตแบบ ิ ความพอเพียงหมายถึง -ความพอประมาณ - ความมีเหตุผล – มีระบบภูมิคมกัน ุ เศรษฐกิจพอเพียง มีคุณธรรม (ซื่อสัตย สุจริต แบงปน ใชความรอบรู)  ดําเนินชีวิต (ดวยความเพียร อดทน มีสติปญญา สามัคคี) มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
  • 19. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช จะปลูกพืชตองเตรียมดิน จะกินตองเตรียมอาหาร จะพัฒนาการตองเตรียมคน จะพัฒนาคนตองเริมที่ใจ ่ จะพัฒนาใครเขา ก็ตองเริ่มที่เรากอน มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี
  • 20. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช 1.สติ 1.หลักธรรมมีอุปการะมาก มี 2 ประการ 2.สัมปชัญญะ คือ ความระลึกได คือ ความรูตัว ปฏิบัติ ไมประมาท ในทางถูกตองเหมาะสม ไมเลินเลอ เตือนตนใหรอดพน ไมเผลอตัว ธรรมะ 2 ประการนี้ จะทําใหผประพฤติปฏิบัติรอดพนภัยไดเสมอ คนมักพบกับความทุกข ู ตาง ๆ อันเนื่องจากขาดสติสัมปชัญญะ
  • 21. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช 2.ธรรมคุมครองโลก  มี 2 ประการคือ 1.หิ ริ คื อ ค ว า ม 2.โอตัปปะ คือ ความ ละอายแกใจ ละเวน เกรงกลัวตอบาป จ า ก ก า ร ป ร ะ พ ฤ ติ การทุจริตหรือการ ปฏิบัติชั่วทั้งปวง ประพฤติชั่วทั้งปวง ผูมีคุณธรรม 2 ประการนี้ยอมทําใหสังคมเปนสุข ไมเบียดเบียนซึงกันและกัน ่ (มีความเกรงใจกัน เอื้ออาทรตอกัน เห็นอกเห็นใจกัน ไมเห็นแกได ไมเห็นแกตัวฯลฯ)
  • 22. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช 3. อิทธิบาท 4 คือ ธรรมที่จะสงเสริมใหผูปฏิบัติพบกับความสําเร็จสมประสงค 4 ประการ 1 ฉันทะ : พอใจรักใครในสิงนั้น ่ 2 วิริยะ : เพียรหมั่นประกอบในสิงนัน ่ ้ 3 จิตตะ : เอาใจฝกใฝในสิ่งนั้นไมวางเฉย 4 วิมังสา : หมั่นตรึกตรอง พิจารณาหาเหตุผลในสิงนั้น ๆ เพื่อพัฒนาตอไป ่ อิทธิบาท 4 สอนใหบุคคลมีสํานึกที่ดีมีความรับผิดชอบตอตนเองและหนาที่สูง ตองยึดถือและปฏิบติ ั ใหครบ 4 ขอ จึงจะประสบความสําเร็จ (ไมใชมีเพียงแค 1 ขอ ฉันทะเทานันอาจไมสําเร็จ) ้
  • 23. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช 4. สังคหวัตถุ 4 1.ทาน : ใหปนสิ่งของของตนแกผูอื่นตามควร สังคหวัตถุ แปลวา สิ่ง เ ป น ที่ ตั้ ง แ ห ง ก า ร 2.ปยวาจา : เจรจาดวยถอยคําออนนอม ออนหวาน สงเคราะห สิ่ ง อั น เป น ความเอื้ อ เฟ อ เกื้ อ กู ล 3.อัตถจริยา : ประพฤติปฏิบัติในสิ่งที่เปนประโยชน เป น ธรรมที่ ยึ ด เหนี่ ย ว ใจผูอื่นใหผูกพันไวไดมี 4 ประการ 4.สมานัตตา : ความเปนคนเสมอตนเสมอปลายไมถือตัว
  • 24. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช 5.หัวใจนักปราชญ 5.หัวใจนักปราชญ เปนธรรมที่สงงเสริมใหผูปฏิบัตเิ เิ ปนนักปราชญ เปนผูรอบรูใในศาสตรตาางๆ ตามที่ปรารถนา มี 4 ประการ เปนธรรมที่ส  เสริมใหผูปฏิบัต ปนนักปราชญ เปนผูรอบรู นศาสตรต งๆ ตามที่ปรารถนา มี 4 ประการ ผูประพฤติปฏิบัติอยางสม่ําเสมอและ ครบถวนทุกประการจะนําไปสูความ เปนผูรอบรู ผูเชี่ยวชาญ และเปน นักปราชญ 1 2 3 4 สุ จิ ปุ ลิ สุตตะ ฟงอยางตั้งใจ จินตะ คิดตามในสิ่งที่ฟง  ปุจฉา ซักถาม พิจารณา ลิขิต /จด/ เขียน บันทึก รวมทั้งการอานดวย ทบทวน ไตรตรอง ทดลอง
  • 25. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช 6. มิตรเทียม (มิตรปฏิรูปก) มิตรเทียม หรือศัตรูที่มาในรางมิตรไมควรคบอยางยิ่งมี 4 ประเภท 6.1 มิตรปอกลอก มีแตเอาของเพื่อน เบียดเบียนเพื่อน 6.1.1 คิดเอาแตไดฝายเดียว 6.2.2 ยอมเสียนอยโดยหวังจะเอามากกวา 6.1.3 ตัวมีภัย จึงมาชวยทํากิจเพื่อน เพื่อหวังผลใหชวยเหลือ 6.1.4 คบเพื่อนเพราะเห็นแกผลประโยชนของตนเมื่อเขาสิ้นอํานาจวาสนาก็จะตีจากไป
  • 26. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช 6. มิตรเทียม (มิตรปฏิรูปก) ตอ มิตรเทียม หรือศัตรูที่มาในรางมิตรไมควรคบอยางยิ่งมี 4 ประเภท 6.2 มิตรดีแตพูด 6.2.1 เก็บเอาของลวงแลวมาปราศรัย (เชน “คิดจะแบงใหแตรออยูไมเห็นมา ขณะนี้หมดแลว”) 6.2.2 อางเอาของที่ยังไมมีมาปราศรัย เพื่อปลุกปลอบใจ เพื่อใหชวยทําธุระให (เชน “ถาทํางานนี้เสร็จจะใหเพื่อ 50 %เลย) 6.2.3 สงเคราะหดวยสิ่งทําประโยชนมิได (พูดในสิ่งไรสาระ ไมมีคุณคา ไมมประโยชนอันใด) ี 6.2.4 เมื่อเพื่อนมีกิจอางแตเหตุขัดของ (เพือขอความชวยเหลือจะอางเหตุขัดของไปตาง ๆ นานา) ่
  • 27. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช 6. มิตรเทียม (มิตรปฏิรูปก) ตอ มิตรเทียม หรือศัตรูที่มาในรางมิตรไมควรคบอยางยิ่งมี 4 ประเภท 6.3 มิตรหัวประจบ 6.3.1 จะทําชัวก็คลอยตาม ่ 6.3.2 จะทําดีก็คลอยตาม 6.3.3 ตอหนาสรรเสริญ 6.3.4 ลับหลังนินทา
  • 28. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช 6. มิตรเทียม (มิตรปฏิรูปก) ตอ มิตรเทียม หรือศัตรูที่มาในรางมิตรไมควรคบอยางยิ่งมี 4 ประเภท 6.4 มิตรชวนไปในทางฉิบหาย 6.4.1 ชักชวนเพื่อนดื่มน้ําเมา 6.4.2 ชักชวนเพื่อนเที่ยวกลางคืน 6.4.3 ชักชวนใหมัวเมาในการละเลนตาง ๆ 6.4.4 ชักชวนในการเลนการพนัน
  • 29. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช 7. มิตรแท มิตรแทเปนเพื่อนที่แทจริง จะนําพาไปสูความเจริญและเปนสุข มี 4 ประเภท 7.1 มิตรมีอุปการะมีลักษณะ4 7.2.1 ปองกันเพื่อผูประมาท ชวยรักษาเพื่อน ตักเตือน 7.2.2 ปองกันชวยรักษาทรัพยสมบัติของเพื่อนผูประมาท 7.2.3 เมื่อมีภัยเปนที่พึ่งของเพื่อนได 7.2.4 เมื่อมีกิจจําเปน ชวยออกทรัพยใหเกินกวาจะใหเพื่อนออกปากรองขอ
  • 30. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช 7.มิตรแท (ตอ) มิตรแทเปนเพื่อนที่แทจริง จะนําพาไปสูความเจริญและเปนสุข มี 4 ประเภท 7.2 มิตรรวมสุขรวมทุกข มีลักษณะ4 7.2.1 บอกความลับแกเพื่อน 7.2.2 รักษาความลับของเพื่อน 7.2.3 มีภัยอันตรายไมละทิ้ง 7.2.4 แมชวิตก็อาจสละแทนได ี
  • 31. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช 7. มิตรแท (ตอ) มิตรแทเปนเพื่อนที่แทจริง จะนําพาไปสูความเจริญและเปนสุข มี 4 ประเภท 7.3 มิตรแนะนําประโยชน มีลักษณะ 4 7.3.1 หามไมใหทําชั่ว 7.3.2 แนะนําใหตั้งอยูในความดี 7.3.3 ใหฟงในสิ่งที่ยังไมเคยฟง 7.3.4 บอกทางสวรรคให
  • 32. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช 7.มิตรแท (ตอ) มิตรแทเปนเพื่อนที่แทจริง จะนําพาไปสูความเจริญและเปนสุข มี 4 ประเภท 7.4 มิตรมีใจรัก มีลักษณะ 4 7.4.1 เพื่อนมีทกข ทุกขดวย ุ 7.4.2 เพื่อนมีสุข สุขดวย 7.4.3 เพื่อนถูกติเตียน ชวยแกไขให 7.4.4 เพื่อนไดรับการสรรเสริญชวยสงเสริม
  • 33. จริยธรรมกับการดําเนินชีวต(ตอ) ิ รศ.วิมล เอมโอช ตั้งใจ ถาหมั่นเพียร เรียนอะไร ก็ตองรู ถาหมั่นดู ดูอะไร ก็ตองเห็น ถาหมั่นทํา ทําอะไร ก็ตองเปน ถาไมเลน หมั่นแตทํา จักจําเริญ ถาครานเรียน เรียนอะไร ก็ไมรู ถาครานดู ดูอะไร ก็ไมเห็น ถาครานทํา ทําอะไร ก็ไมเปน ตองลําเค็ญ เปนขอทาน เพราะครานเอย จาก วัดสวนแกว ขอคิดเตือนใจสําหรับนักเรียนนักศึกษา เพือนําไปสูความสําเร็จในชีวิต ่