SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 3
จั ก รวาล
         หากคุณไปศึกษาตำาราสมัยก่อนคุณจะพบกับคำาว่า “ระบบสุริยะ
จักรวาล” ซึ่งเป็นคำากล่าวที่ไม่ถูกต้องอย่างยิ่ง เนื่องจากปัจจุบันคำาว่า “ระบบ
สุริยะ” คือ ระบบดาวที่มีดาวฤกษ์เป็นศูนย์กลาง และมีดาวเคราะห์เป็นบริวาร
โคจรอยู่โดยรอบ ส่วนคำาว่า “จักรวาล”นั้น มีความหมายที่ต่างออกไปคือ “จั
กรวาล” หรือ“เอกภพ” หมายถึง พื้นที่อันกว้างใหญ่มหาศาลสุดที่จะ
จินตนาการได้
         นับตั้งแต่อริสโตเติลเสนอแนวคิดเรื่อง โลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาล
โดยมีดวงอาทิตย์ และดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ โคจรรอบโลก ซึ่งแนวคิดนี้เป็น
แนวคิดเดียวกับศาสนาคริสต์ มนุษย์ก็เชื่อแนวคิดนี้เรื่อยมา จนถึงสมัยกลาง
ของชาวยุโรป แต่ในปลายสมัยกลาง นิโคลัส โคเปอร์นิคัส นักดาราศาสตร์
ชาวโปแลนด์ได้เสนอแนวคิดเรื่องดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของระบบสุริยะ
และแนวคิดนี้ก็เป็นที่ยอมรับและน่าเชื่อถือมากที่สุดในสมัยนั้น ต่อมา
โจฮันเนส เคปเลอร์ นักดาราศาสตร์ ชาวเยอรมัน ค้นพบว่าดาวเคราะห์
เคลื่อนที่เป็นรูปวงรีรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งเขาได้ตั้งเป็น “กฎการเคลื่อนที่ของ
ดาวเคราะห์”ในเวลาต่อมา หลังจากนั้นกาลิเลโอ กาลิเลอี นักดาราศาสตร์
ชาวอิตาลี ได้ประดิษฐ์กล้องโทรทัศน์ขึ้นมา ซึ่งสิ่งประดิษฐ์ชิ้นนี้เป็นอุปกรณ์
ที่มีความสำาคัญมากในการศึกษาวิชาดาราศาสตร์มาจนถึงปัจจุบัน ต่อมา จึง
มีการค้นพบว่า ระบบสุริยะอยู่ในกาแล็กซี่(ดาราจักร)ทางช้างเผือก และกา
แล็กซี่ทางช้างเผือกก็อยู่ในจักรวาล
         แล้วจักรวาลเกิดขึ้นได้อย่างไร เริ่มต้นจากจุดไหน แล้วจะจบลง
อย่างไร? คงเป็นคำาถามที่ทุกคนสงสัย และอยากรู้คำาตอบ เช่นเดียวกับนัก
วิทยาศาสตร์หลายท่านที่พยายามหาคำาตอบอยู่ ในปัจจุบันมีทฤษฎีการ
กำาเนิดจักรวาลที่ยอมรับโดยทั่วไปอยู่สองทฤษฎีนั้นคือ ทฤษฎีการระเบิด
ครั้งยิ่งใหญ่หรือบิกแบง (big bang theory) และทฤษฎีสภาวะคงที่
(steady state theory)
         ทฤษฎีการระเบิดครั้งยิ่งใหญ่(มหากัมปนาท)หรือบิกแบง ถูกเสนอ
ครั้งแรกโดย Abbe George Lemaitre พระและนักดาราศาสตร์ชาว
เบลเยียม เมื่อปี ค.ศ.1927 เขาได้แนวคิดเรื่องกำาเนิดจักรวาลแบบ Big
Bang จากการค้นพบของ Edwin Hubble ว่า จักรวาลประกอบด้วยกาแล็กซี
ต่างๆ มากมาย และกาแล็กซีต่างๆ ก็กำาลังเคลื่อนที่หนีออกจากกัน Lemait
re จึงเสนอเป็นความคิดต่อว่า เป็นไปได้ที่บรรดากาแล็กซีต่างๆ ที่กำาลัง
เคลื่อนที่หนีออกจากกันนั้น จริงๆ แล้วบรรดากาแล็กซีเหล่านั้นกำาลัง
เคลื่อนที่ออกจากจุดกำาเนิดในอดีตซึ่งเป็นจุดเดียวกัน กล่าวคือ ถ้ามนุษย์
สามารถหมุนเวลาย้อนสู่อดีตได้ ก็เป็นไปได้ที่จะได้เห็นบรรดากาแล็กซี
ต่างๆ ซึ่งกระจัดกระจายกันอยู่ในปัจจุบัน มีจุดกำาเนิดร่วมกันในอดีต เมื่อ
ประมาณ สองหมื่นล้านปีมาแล้ว (ตัวเลขอายุของจักรวาลในปัจจุบัน คือ
ประมาณหนึ่งหมืนสามพัน หรือหนึ่งหมืนสี่พันล้านปีในอดีต) หรือเราจะได้
                    ่                    ่
เห็นบรรดากาแล็กซีต่างๆ ถอยหลังวิ่งเข้าหาจุดเดียวกัน และจุดกำาเนิด
เดียวกันนั้น ก็คือ จุดกำาเนิดจักรวาลที่รุนแรงเป็นแบบ Big Bang ทฤษฎี
กำาเนิดจักรวาลแบบ Big Bang นี้ได้รับการปรับปรุงต่อๆ มา โดย George
Gamow และ
        จากคำากล่าวเรื่องบิกแบงร้อนของ Stephen Hawking ในหนังสือ
The Universe in a Nutshell (จักรวาลในเปลือกนัท ฉบับภาษาไทยแปล
โดย ดร. ชัยวัฒน์ คุประตกุล) ว่า “ถ้าทฤษฎีสัมพันธภาพของ อัลเบิร์ต ไอน์ส
ไตน์ ถูกต้อง หลังจากเกิดบิกแบง จักรวาลเริ่มต้นด้วยอุณหภูมิและความหนา
แน่นสูงมาก ในขณะที่จักรวาลกำาลังขยายตัว อุณหภูมิของรังสีลดลง เวลา
ประมาณเศษหนึ่งส่วนร้อยของวินาที อุณหภูมิของจักรวาลคงจะอยู่สูงถึง
หนึ่งแสนล้านองศา ขณะนั้นจักรวาลจะประกอบด้วยโฟตอน อิเล็กตรอน
และนิวตริโน (อนุภาคที่เบามาก ๆ ) เป็นส่วนใหญ่ โดยมีโปรตอนและ
นิวตรอนอยู่บ้าง สามนาทีต่อจากนั้น ในขณะที่จักรวาลเย็นลง เป็นประมาณ
หนึ่งพันล้านองศา โปรตรอนและนิวตรอนก็เริ่มรวมกันเป็นนิวเคลียสของ
ฮีเลียม ไฮโดรเจน และธาตุเบาอื่น ๆ
        หลายแสนปีต่อมาเมื่ออุณหภูมิลดลงเป็นไม่กี่พันองศา อิเล็กตรอนจะ
เคลื่อนที่ช้าลง จนกระทั่งถูกจับโดยนิวเคลียสของธาตุเบาเพื่อเป็นอะตอม
อย่างไรก็ตาม บรรดาธาตุหนัก ดังเช่น คาร์บอน และออกซิเจน ก็ยังไม่เกิด
จนกระทั่งอีกพันล้านปีต่อมา จากการเผาไหม้ของฮีเลียมในใจกลาง
ดาวฤกษ์
        ภาพระยะแรกของจักรวาลที่หนาแน่นและร้อนนี้ ถูกเสนอโดยนัก
วิทยาศาสตร์ จอร์จ กามอฟ ในปี ค.ศ.1948 ในบทความวิชาการที่เขาเขียน
ร่วมกับ ราล์ฟ อัลเฟอร์ ซึ่งได้พยากรณ์อย่างน่าทึ่งว่า รังสีจากระยะแรกที่
ร้อนนี้ จะยังเหลืออยู่ถึงทุกวันนี้ การพยากรณ์ของพวกเขาได้รับการยืนยัน
ในปี ค.ศ.1965 เมื่อนักฟิสิกส์ อาร์โน เพนเซียส และโรเบิร์ต วิลสัน ตรวจพบ
รังสีไมโครเวฟฉากหลังคอสมิก”
        จากคำากล่าวข้างต้นเป็นหนึ่งในหลายๆคำากล่าวที่สนับสนุนบิกแบง อีก
ทั้งนักดาราศาสตร์ยังพบหลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบงจนได้รับการตั้ง
ชื่อว่า แบบจำาลองมาตรฐานโดยมีเหตุผลสำาคัญ คือ การขยายตัวของ
จักรวาล ที่ Edwin Hubble ได้ยืนยันในปี ค.ศ.1929 และการค้นพบ
พลังงานความร้อนระดับไมโครเวฟที่ 3 เคลวิน กระจายอยู่ทั่วไปในจักรวาล
คือ เป็นพลังงานที่หลงเหลือจาก Big Bang ในอดีตถึงปัจจุบัน
        อีกทฤษฎีหนึ่งคือ “ทฤษฎีสภาวะคงที่ทฤษฎีนี้กล่าวโดย Fred Hoyle,
Hermann Bondi, Thomas Gold ความว่า จักรวาลไม่มีจุดกำาเนิดและไม่มี
วาระสุดท้าย ความเปลี่ยนแปลงภายในจักรวาลเกิดขึ้นได้ ดวงดาวมีการเกิด
และตายได้ แต่โดยภาพรวมแล้ว จักรวาลมีสภาพดังที่เป็นอยู่ในปัจจุบันมา
นานแล้ว และจะมีสภาพเป็นดังนี้ตลอดไปชั่วนิรันดรมาถึงปัจจุบันนี้ แต่
ทฤษฎีนี้ก็ไม่เป็นที่ยอมรับมากนัก
        จักวาลเริ่มต้นจากความเป็นศูนย์ ไม่มีเวลา ไม่มีแม้แต่ความว่างเปล่า
หลังจาก Big Bang เอกภพก็เริ่มขยายตัวออก อนุภาคมูลฐาน อะตอม
โมเลกุล ต่าง ๆ ค่อย ๆ เกิดขึ้น หลังจากนั้นแก็สต่างๆก็เริ่มหมุนวนด้วย
ความเร็วจนเกิดแรงดึงดูดมหาศาล และปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น สุดท้าย
กลุ่มแก็สเหล่านั้นก็กำาเนิดเป็นดาวฤกษ์ และต่อมาดาวเคราะห์ก็ได้กำาเนิด
ตามมา หากดาวเคราะห์ดวงใดอยู่ในสภาพเหมาะสมกับการดำารงชีวิตแล้วก็
จะมีสิ่งมีชีวิตเกิดขึ้นมาเช่นเดียวกับโลกของเรานั้นเอง




                                                   เรียบเรียงโดย
                                                 นันทมาส นาคผู้

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพโลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพMoukung'z Cazino
 
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกโครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกttt ttt
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลMiewz Tmioewr
 
Astronomy VII
Astronomy VIIAstronomy VII
Astronomy VIIChay Kung
 
Universe
UniverseUniverse
Universeyokyoi
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra1111
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์T
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงnang_phy29
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์Ta Lattapol
 
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวงมหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวงmayuree_jino
 
ดวงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์ดวงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์Arisara Sutachai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์pimnarayrc
 
ระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar systemระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar systemnative
 

La actualidad más candente (19)

ดาราศาสตร
ดาราศาสตร ดาราศาสตร
ดาราศาสตร
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์
 
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพโลกและดาราศาสตร์ เรื่อง  เอกภพ
โลกและดาราศาสตร์ เรื่อง เอกภพ
 
ทฤษฏีบิกแบง
ทฤษฏีบิกแบงทฤษฏีบิกแบง
ทฤษฏีบิกแบง
 
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลกโครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
โครงสร้างโลกและการกำเนิดโลก
 
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาลระบบส ร ยะจ_กรวาล
ระบบส ร ยะจ_กรวาล
 
Astronomy VII
Astronomy VIIAstronomy VII
Astronomy VII
 
Universe
UniverseUniverse
Universe
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
 
Astronomy V
Astronomy VAstronomy V
Astronomy V
 
กลุ่มที่ 4
กลุ่มที่ 4กลุ่มที่ 4
กลุ่มที่ 4
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวงมหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
มหัศจรรย์ระบบสุริยะอันน่าพิศวง
 
ดวงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์ดวงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar systemระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar system
 

Destacado

Rotary District3350 Thailand Enews issue2
Rotary District3350 Thailand Enews issue2Rotary District3350 Thailand Enews issue2
Rotary District3350 Thailand Enews issue2Charmaar Ka'
 
รายชื่อ จังหวัด อำเภอ (เขต) ในประเทศไทย | List of Province and District (Khet...
รายชื่อ จังหวัด อำเภอ (เขต) ในประเทศไทย | List of Province and District (Khet...รายชื่อ จังหวัด อำเภอ (เขต) ในประเทศไทย | List of Province and District (Khet...
รายชื่อ จังหวัด อำเภอ (เขต) ในประเทศไทย | List of Province and District (Khet...WiseKnow Thailand
 
What Makes Great Infographics
What Makes Great InfographicsWhat Makes Great Infographics
What Makes Great InfographicsSlideShare
 
STOP! VIEW THIS! 10-Step Checklist When Uploading to Slideshare
STOP! VIEW THIS! 10-Step Checklist When Uploading to SlideshareSTOP! VIEW THIS! 10-Step Checklist When Uploading to Slideshare
STOP! VIEW THIS! 10-Step Checklist When Uploading to SlideshareEmpowered Presentations
 
How To Get More From SlideShare - Super-Simple Tips For Content Marketing
How To Get More From SlideShare - Super-Simple Tips For Content MarketingHow To Get More From SlideShare - Super-Simple Tips For Content Marketing
How To Get More From SlideShare - Super-Simple Tips For Content MarketingContent Marketing Institute
 
Masters of SlideShare
Masters of SlideShareMasters of SlideShare
Masters of SlideShareKapost
 
10 Ways to Win at SlideShare SEO & Presentation Optimization
10 Ways to Win at SlideShare SEO & Presentation Optimization10 Ways to Win at SlideShare SEO & Presentation Optimization
10 Ways to Win at SlideShare SEO & Presentation OptimizationOneupweb
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksSlideShare
 

Destacado (9)

Rotary District3350 Thailand Enews issue2
Rotary District3350 Thailand Enews issue2Rotary District3350 Thailand Enews issue2
Rotary District3350 Thailand Enews issue2
 
รายชื่อ จังหวัด อำเภอ (เขต) ในประเทศไทย | List of Province and District (Khet...
รายชื่อ จังหวัด อำเภอ (เขต) ในประเทศไทย | List of Province and District (Khet...รายชื่อ จังหวัด อำเภอ (เขต) ในประเทศไทย | List of Province and District (Khet...
รายชื่อ จังหวัด อำเภอ (เขต) ในประเทศไทย | List of Province and District (Khet...
 
What Makes Great Infographics
What Makes Great InfographicsWhat Makes Great Infographics
What Makes Great Infographics
 
You Suck At PowerPoint!
You Suck At PowerPoint!You Suck At PowerPoint!
You Suck At PowerPoint!
 
STOP! VIEW THIS! 10-Step Checklist When Uploading to Slideshare
STOP! VIEW THIS! 10-Step Checklist When Uploading to SlideshareSTOP! VIEW THIS! 10-Step Checklist When Uploading to Slideshare
STOP! VIEW THIS! 10-Step Checklist When Uploading to Slideshare
 
How To Get More From SlideShare - Super-Simple Tips For Content Marketing
How To Get More From SlideShare - Super-Simple Tips For Content MarketingHow To Get More From SlideShare - Super-Simple Tips For Content Marketing
How To Get More From SlideShare - Super-Simple Tips For Content Marketing
 
Masters of SlideShare
Masters of SlideShareMasters of SlideShare
Masters of SlideShare
 
10 Ways to Win at SlideShare SEO & Presentation Optimization
10 Ways to Win at SlideShare SEO & Presentation Optimization10 Ways to Win at SlideShare SEO & Presentation Optimization
10 Ways to Win at SlideShare SEO & Presentation Optimization
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
 

Similar a สารคดีจักรวาล

ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะkalita123
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2kominoni09092518
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะratchaneeseangkla
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3Sukumal Ekayodhin
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกochestero
 
ระบสุริยะ2.
ระบสุริยะ2.ระบสุริยะ2.
ระบสุริยะ2.pangpon
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra1111
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra2556
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra
 
ประวัติฟิสิกส์
ประวัติฟิสิกส์ประวัติฟิสิกส์
ประวัติฟิสิกส์thanakit553
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้าWichai Likitponrak
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra2557
 

Similar a สารคดีจักรวาล (20)

Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Contentastrounit3
Contentastrounit3Contentastrounit3
Contentastrounit3
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลก
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 
ระบสุริยะ2.
ระบสุริยะ2.ระบสุริยะ2.
ระบสุริยะ2.
 
Contentastrounit1
Contentastrounit1Contentastrounit1
Contentastrounit1
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ประวัติฟิสิกส์
ประวัติฟิสิกส์ประวัติฟิสิกส์
ประวัติฟิสิกส์
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
 
Contentastrounit2
Contentastrounit2Contentastrounit2
Contentastrounit2
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 

สารคดีจักรวาล

  • 1. จั ก รวาล หากคุณไปศึกษาตำาราสมัยก่อนคุณจะพบกับคำาว่า “ระบบสุริยะ จักรวาล” ซึ่งเป็นคำากล่าวที่ไม่ถูกต้องอย่างยิ่ง เนื่องจากปัจจุบันคำาว่า “ระบบ สุริยะ” คือ ระบบดาวที่มีดาวฤกษ์เป็นศูนย์กลาง และมีดาวเคราะห์เป็นบริวาร โคจรอยู่โดยรอบ ส่วนคำาว่า “จักรวาล”นั้น มีความหมายที่ต่างออกไปคือ “จั กรวาล” หรือ“เอกภพ” หมายถึง พื้นที่อันกว้างใหญ่มหาศาลสุดที่จะ จินตนาการได้ นับตั้งแต่อริสโตเติลเสนอแนวคิดเรื่อง โลกเป็นศูนย์กลางของจักรวาล โดยมีดวงอาทิตย์ และดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ โคจรรอบโลก ซึ่งแนวคิดนี้เป็น แนวคิดเดียวกับศาสนาคริสต์ มนุษย์ก็เชื่อแนวคิดนี้เรื่อยมา จนถึงสมัยกลาง ของชาวยุโรป แต่ในปลายสมัยกลาง นิโคลัส โคเปอร์นิคัส นักดาราศาสตร์ ชาวโปแลนด์ได้เสนอแนวคิดเรื่องดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางของระบบสุริยะ และแนวคิดนี้ก็เป็นที่ยอมรับและน่าเชื่อถือมากที่สุดในสมัยนั้น ต่อมา โจฮันเนส เคปเลอร์ นักดาราศาสตร์ ชาวเยอรมัน ค้นพบว่าดาวเคราะห์ เคลื่อนที่เป็นรูปวงรีรอบดวงอาทิตย์ ซึ่งเขาได้ตั้งเป็น “กฎการเคลื่อนที่ของ ดาวเคราะห์”ในเวลาต่อมา หลังจากนั้นกาลิเลโอ กาลิเลอี นักดาราศาสตร์ ชาวอิตาลี ได้ประดิษฐ์กล้องโทรทัศน์ขึ้นมา ซึ่งสิ่งประดิษฐ์ชิ้นนี้เป็นอุปกรณ์ ที่มีความสำาคัญมากในการศึกษาวิชาดาราศาสตร์มาจนถึงปัจจุบัน ต่อมา จึง มีการค้นพบว่า ระบบสุริยะอยู่ในกาแล็กซี่(ดาราจักร)ทางช้างเผือก และกา แล็กซี่ทางช้างเผือกก็อยู่ในจักรวาล แล้วจักรวาลเกิดขึ้นได้อย่างไร เริ่มต้นจากจุดไหน แล้วจะจบลง อย่างไร? คงเป็นคำาถามที่ทุกคนสงสัย และอยากรู้คำาตอบ เช่นเดียวกับนัก วิทยาศาสตร์หลายท่านที่พยายามหาคำาตอบอยู่ ในปัจจุบันมีทฤษฎีการ กำาเนิดจักรวาลที่ยอมรับโดยทั่วไปอยู่สองทฤษฎีนั้นคือ ทฤษฎีการระเบิด ครั้งยิ่งใหญ่หรือบิกแบง (big bang theory) และทฤษฎีสภาวะคงที่ (steady state theory) ทฤษฎีการระเบิดครั้งยิ่งใหญ่(มหากัมปนาท)หรือบิกแบง ถูกเสนอ ครั้งแรกโดย Abbe George Lemaitre พระและนักดาราศาสตร์ชาว เบลเยียม เมื่อปี ค.ศ.1927 เขาได้แนวคิดเรื่องกำาเนิดจักรวาลแบบ Big Bang จากการค้นพบของ Edwin Hubble ว่า จักรวาลประกอบด้วยกาแล็กซี ต่างๆ มากมาย และกาแล็กซีต่างๆ ก็กำาลังเคลื่อนที่หนีออกจากกัน Lemait re จึงเสนอเป็นความคิดต่อว่า เป็นไปได้ที่บรรดากาแล็กซีต่างๆ ที่กำาลัง เคลื่อนที่หนีออกจากกันนั้น จริงๆ แล้วบรรดากาแล็กซีเหล่านั้นกำาลัง เคลื่อนที่ออกจากจุดกำาเนิดในอดีตซึ่งเป็นจุดเดียวกัน กล่าวคือ ถ้ามนุษย์ สามารถหมุนเวลาย้อนสู่อดีตได้ ก็เป็นไปได้ที่จะได้เห็นบรรดากาแล็กซี ต่างๆ ซึ่งกระจัดกระจายกันอยู่ในปัจจุบัน มีจุดกำาเนิดร่วมกันในอดีต เมื่อ ประมาณ สองหมื่นล้านปีมาแล้ว (ตัวเลขอายุของจักรวาลในปัจจุบัน คือ ประมาณหนึ่งหมืนสามพัน หรือหนึ่งหมืนสี่พันล้านปีในอดีต) หรือเราจะได้ ่ ่ เห็นบรรดากาแล็กซีต่างๆ ถอยหลังวิ่งเข้าหาจุดเดียวกัน และจุดกำาเนิด เดียวกันนั้น ก็คือ จุดกำาเนิดจักรวาลที่รุนแรงเป็นแบบ Big Bang ทฤษฎี
  • 2. กำาเนิดจักรวาลแบบ Big Bang นี้ได้รับการปรับปรุงต่อๆ มา โดย George Gamow และ จากคำากล่าวเรื่องบิกแบงร้อนของ Stephen Hawking ในหนังสือ The Universe in a Nutshell (จักรวาลในเปลือกนัท ฉบับภาษาไทยแปล โดย ดร. ชัยวัฒน์ คุประตกุล) ว่า “ถ้าทฤษฎีสัมพันธภาพของ อัลเบิร์ต ไอน์ส ไตน์ ถูกต้อง หลังจากเกิดบิกแบง จักรวาลเริ่มต้นด้วยอุณหภูมิและความหนา แน่นสูงมาก ในขณะที่จักรวาลกำาลังขยายตัว อุณหภูมิของรังสีลดลง เวลา ประมาณเศษหนึ่งส่วนร้อยของวินาที อุณหภูมิของจักรวาลคงจะอยู่สูงถึง หนึ่งแสนล้านองศา ขณะนั้นจักรวาลจะประกอบด้วยโฟตอน อิเล็กตรอน และนิวตริโน (อนุภาคที่เบามาก ๆ ) เป็นส่วนใหญ่ โดยมีโปรตอนและ นิวตรอนอยู่บ้าง สามนาทีต่อจากนั้น ในขณะที่จักรวาลเย็นลง เป็นประมาณ หนึ่งพันล้านองศา โปรตรอนและนิวตรอนก็เริ่มรวมกันเป็นนิวเคลียสของ ฮีเลียม ไฮโดรเจน และธาตุเบาอื่น ๆ หลายแสนปีต่อมาเมื่ออุณหภูมิลดลงเป็นไม่กี่พันองศา อิเล็กตรอนจะ เคลื่อนที่ช้าลง จนกระทั่งถูกจับโดยนิวเคลียสของธาตุเบาเพื่อเป็นอะตอม อย่างไรก็ตาม บรรดาธาตุหนัก ดังเช่น คาร์บอน และออกซิเจน ก็ยังไม่เกิด จนกระทั่งอีกพันล้านปีต่อมา จากการเผาไหม้ของฮีเลียมในใจกลาง ดาวฤกษ์ ภาพระยะแรกของจักรวาลที่หนาแน่นและร้อนนี้ ถูกเสนอโดยนัก วิทยาศาสตร์ จอร์จ กามอฟ ในปี ค.ศ.1948 ในบทความวิชาการที่เขาเขียน ร่วมกับ ราล์ฟ อัลเฟอร์ ซึ่งได้พยากรณ์อย่างน่าทึ่งว่า รังสีจากระยะแรกที่ ร้อนนี้ จะยังเหลืออยู่ถึงทุกวันนี้ การพยากรณ์ของพวกเขาได้รับการยืนยัน ในปี ค.ศ.1965 เมื่อนักฟิสิกส์ อาร์โน เพนเซียส และโรเบิร์ต วิลสัน ตรวจพบ รังสีไมโครเวฟฉากหลังคอสมิก” จากคำากล่าวข้างต้นเป็นหนึ่งในหลายๆคำากล่าวที่สนับสนุนบิกแบง อีก ทั้งนักดาราศาสตร์ยังพบหลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบงจนได้รับการตั้ง ชื่อว่า แบบจำาลองมาตรฐานโดยมีเหตุผลสำาคัญ คือ การขยายตัวของ จักรวาล ที่ Edwin Hubble ได้ยืนยันในปี ค.ศ.1929 และการค้นพบ พลังงานความร้อนระดับไมโครเวฟที่ 3 เคลวิน กระจายอยู่ทั่วไปในจักรวาล คือ เป็นพลังงานที่หลงเหลือจาก Big Bang ในอดีตถึงปัจจุบัน อีกทฤษฎีหนึ่งคือ “ทฤษฎีสภาวะคงที่ทฤษฎีนี้กล่าวโดย Fred Hoyle, Hermann Bondi, Thomas Gold ความว่า จักรวาลไม่มีจุดกำาเนิดและไม่มี วาระสุดท้าย ความเปลี่ยนแปลงภายในจักรวาลเกิดขึ้นได้ ดวงดาวมีการเกิด และตายได้ แต่โดยภาพรวมแล้ว จักรวาลมีสภาพดังที่เป็นอยู่ในปัจจุบันมา นานแล้ว และจะมีสภาพเป็นดังนี้ตลอดไปชั่วนิรันดรมาถึงปัจจุบันนี้ แต่ ทฤษฎีนี้ก็ไม่เป็นที่ยอมรับมากนัก จักวาลเริ่มต้นจากความเป็นศูนย์ ไม่มีเวลา ไม่มีแม้แต่ความว่างเปล่า หลังจาก Big Bang เอกภพก็เริ่มขยายตัวออก อนุภาคมูลฐาน อะตอม โมเลกุล ต่าง ๆ ค่อย ๆ เกิดขึ้น หลังจากนั้นแก็สต่างๆก็เริ่มหมุนวนด้วย ความเร็วจนเกิดแรงดึงดูดมหาศาล และปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น สุดท้าย กลุ่มแก็สเหล่านั้นก็กำาเนิดเป็นดาวฤกษ์ และต่อมาดาวเคราะห์ก็ได้กำาเนิด