SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 37
จัดทำโดย
นส.ศศิพิมพ์ คุณำรูป เลขที่ 16
นำยพีรดนย์ สุริยะธง เลขที่ 31
ชั้น ม.6/2
เสนอ
คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์
 1. ปะการัง
 2. ความสาคัญของแนวปะการัง
 3. ปะการังฟอกขาว
 4. สาเหตุทาให้เกิดปะการังฟอกขาว
 5. ผลกระทบของภาวะโลกร้อนที่มีต่อปะการัง
 6. ปรากฏการณ์ Greenhouse Effect
 7. อนาคตของปะการังเนื่องมาจากภาวะโลกร้อน
 8. ผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
 9. แนวทางการแก้ไข
 10. รูปภาพเปรียบเทียบปะการัง
ปะการัง จัดอยู่ในประเภทสัตว์ทะเลที่ไม่มีกระดูกสันหลัง (ที่มีกระดูกสันหลังคือปลา
ต่างๆ) ปะการังมีมากมายหลายชนิดมีทั้งปะการังแข็ง ปะการังอ่อน หลากสีสันและหลากหลาย
รูปร่าง เช่น ปะการังเขากวาง ปะการังดอกเห็ด และอีกมากมาย ประเทศไทยเรามีปะการัง
มากมายเพราะประเทศเราอยู่เขตร้อน ปะการังอยู่ได้เฉพาะเขตร้อนและใกล้เขตร้อนที่อุณหภูมิ
ของน้าไม่ต่ากว่า 18 องศาเซลเซียส ดังนั้นประเทศในเขตหนาวจึงไม่มีปะการัง และปะการังยัง
เป็นทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลที่สาคัญ เป็นที่อยู่อาศัยของพืชและสัตว์น้า เป็นแหล่งอาหาร
เพื่อการเจริญเติบโต เป็นแหล่งเพราะพันธุ์และวางไข่ เป็นแหล่งหลบภัยของสัตว์น้าต่างๆ
ดังนั้นปะการังจึงเป็นเหมือนผู้ผลิตและเป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตในทะเล
ปะการังมีสาหร่ายซูแซนเทลลี (zooxanthellae) ซึ่งเป็นสาหร่ายเซลล์เดียวอาศัยอยู่
ร่วมกันภายในเนื้อเยื่อของปะการัง สาหร่ายซูแซนเทลลีให้พลังงานที่เป็นผลจากการสังเคราะห์
แสงแก่ปะการังที่ใช้เป็นที่อาศัยอีกทั้งให้สีสันที่หลากหลายกับปะการังด้วยดังนั้นหากปะการัง
เหล่านี้ไม่มีสาหร่ายซูแซนเทลลีแล้วปะการังจะได้รับพลังงานไม่เพียงพอต่อการดารงชีวิต และ
ปะการังก็จะมีแต่สีขาว ซึ่งเป็นสีของโครงร่างหินปูนที่เป็นแคลเซียมคาร์บอเนตเท่านั้นสีสัน
ของโลกใต้น้าบริเวณแนว ปะการังก็คงไม่งดงามเหมือนที่เห็นเช่นปัจจุบัน
1. เป็นแหล่งอาหารที่สาคัญ เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของปลาและสัตว์น้าหลายชนิด
2. ความสวยงามของปะการัง รูปร่างต่าง ๆ ใช้ในการประดับสถานที่และที่อยู่อาศัย
3. โครงสร้างหินปูนของปะการังสามารถนามาใช้เป็นวัสดุก่อสร้างได้
4. หินปูนจากปะการังและสาหร่ายบางชนิดใช้เป็นองค์ประกอบของยาบางชนิด
5. ปลาในแนวปะการัง ซึ่งเป็นปลาสวยงาม ใช้ประดับในตู้ปลาและกลายเป็นสินค้าออก
ที่สาคัญ
6. ทัศนียภาพความสวยงาม จากตัวแนวปะการังเองและสิ่งมีชีวิตที่อยู่อาศัยอยู่ เช่น ฝูง
ปลาสวยงาม เป็นต้น นับเป็นแหล่งดึงดูดการท่องเที่ยวที่สาคัญ
7. แนวปะการังจะช่วยป้ องกันการกัดเซาะของชายหาดเนื่องจากคลื่นและพายุ
8. คุณค่าในด้านการศึกษาและการอนุรักษ์ สภาพไว้เพื่อการทดลอง
ปะการังฟอกขาว เป็นสภาวะที่ปะการังสูญเสียสาหร่ายเซลล์เดียวที่อาศัยอยู่ภายใน
เนื้อเยื่อ ทาให้ปะการังอ่อนแอเพราะได้รับสารอาหารไม่เพียงพอแลปะการังอาจตายไปในที่สุด
ถ้าหากไม่สามารถทนต่อสภาวะนี้ได้ สาเหตุที่ทาให้ปะการังฟอกขาวเป็นพื้นที่กว้างครอบคลุม
พื้นที่น่านน้าในระดับประเทศหรือครอบคลุมอาณาเขตกว้างในระดับภูมิภาคได้คือ อุณหภูมิน้า
ทะเลที่สูงขึ้นอย่างผิดปกติ ซึ่งในน่านน้าไทย เคยได้รับผลกระทบเช่นนี้เมื่อปี พ.ศ.2534 2538
2541 2546 2548 และ 2550 โดยปี พ.ศ.2534 และ 2538 แนวปะการังทางฝั่งทะเลอันดา
มันได้รับความเสียหายมาก พบว่าปะการังตายประมาณ 10-20% ส่วนในปี พ.ศ.2541
ก่อให้เกิดความเสียหายมากทางฝั่งอ่าวไทย แต่ปีต่อๆ มาเกิดทางฝั่งอันดามันแต่ไม่พบความ
เสียหายมากนัก เพราะปะการังสามารถฟื้นตัวกลับคืนสู่สภาพปกติได้เนื่ องจากลมมรสุม
ตะวันตกเฉียงใต้ซึ่งมาเร็วในตอนต้นฤดูช่วยบรรเทาทาให้อุณหภูมิน้าทะเลลดลงได้
สาหรับในปี พ.ศ.2553 นับเป็นปีที่แนวปะการังเสียหายมากที่สุดเป็นประวัติการณ์
อุณหภูมิน้าทะเลจากปกติ 29 องศาเซลเซียสได้เริ่มสูงขึ้นเป็น 30 องศาเซลเซียสตั้งแต่ปลาย
เดือนมีนาคม พ.ศ.2553 สามสัปดาห์ต่อมาปะการังได้เริ่มฟอกขาวแผ่พื้นที่เป็นวงกว้างคลุม
ทะเลทั้งฝั่งอันดามันและอ่าวไทย จากการสารวจโดยหลายหน่วยงาน พบว่าในแต่ละพื้นที่มี
ปะการังฟอกขาวมากน้อยต่างกันไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับว่าบริเวณนั้นมีปะการังชนิดใดเป็นพวกที่ขึ้น
ครอบคลุมพื้นที่มาก (dominant group) หากพวกที่ขึ้นคลุมพื้นที่มากเป็นพวกที่ไวต่อการฟอก
ขาว พื้นที่นั้นก็จะได้รับผลกระทบมาก อย่างเช่น แนวปะการังที่มีปะการังเขากวาง
(Acropora spp.) ขึ้นเป็นดงกว้างใหญ่ พื้นที่นั้นก็จะได้รับผลกระทบมาก
นอกจากนี้ยังขึ้นอยู่กับว่าชายฝั่งที่แนวปะกรังขึ้นอยู่นั้นได้รับอิทธิพลจากคลื่นลมมาก
น้อยเพียงไรด้วย ด้านที่รับแรงจากคลื่นลมจะเป็นด้านที่อุณหภูมิไม่สูงอยู่ตลอดเวลา (เช่น ด้าน
ตะวันตกของเกาะต่างๆ ทางฝั่งทะเลอันดามัน) ปะการังจึงฟอกขาวน้อยกว่าด้านอื่น เมื่อ
ประมาณโดยภาพรวมทั่วประเทศแล้ว พบว่าปะการังแต่ละแห่งฟอกขาวมากถึง 30-95%
ปะการังทุกชนิดฟอกขาวเกือบทั้งหมด ยกเว้นเพียง 3-4 ชนิดเท่านั้นที่ยังคงต้านอยู่ได้ เช่น
ปะการังสีน้าเงิน (Heliopora coerulea) ปะการังลายดอกไม้ (Pavona decussata) และ
ปะการังดาวใหญ่ (Diploastrea heliopora)
สาเหตุเกิดหลายสาเหตุด้วยกัน เช่น ปรากฏการณ์ แอลนิลโญ่ อุณหภูมิมีการ
เปลี่ยนแปลง รังสีจากดวงอาทิตย์ การถูกแดด-ลมฝนกระทา ตะกอนและความขุ่นของน้า
ทะเล ความเค็ม สภาพและธาตุอาหารในน้าทะเล สารเคมี หรือสารชีวภาพที่มนุษย์ใช้ใน
ชีวิตปะจาวัน
สาเหตุสาคัญเกิดจากภาวะโลกร้อน โดยอุณหภูมิน้าในทะเลสูงขึ้นประมาณ 1-2
องศาเซลเซียส หรือผลจากความเข้มข้นของแสง หรือสองปัจจัยนี้ร่วมกัน ส่งผลให้
สาหร่ายซูแซนเทลลี ที่อาศัยอยู่ในปะการังทนอยู่ไม่ได้และหนีออกจากปะการัง ทาให้
ปะการังกลายเป็นสีขาว ไม่มีสีสัน คล้ายหินปูน หากอุณหภูมิน้าทะเลหรือสภาพแวดล้อม
กลับคืนสู่สภาพปกติ ปะการังจะสามารถปรับสภาพและฟื้นตัวได้ ดังนั้นหากในช่วง 2-3
สัปดาห์ อากาศมีอุณหภูมิลดลง หรือมีฝนตกลงมาเล็กน้อย จะช่วยให้อุณหภูมิน้าลดลง
ปะการังจะกลับมามีชีวิตและมีสีสันอีกครั้ง
ปะการังที่ปราศจากสาหร่ายเหล่านี้ก็ไม่มีโอกาสได้รับพลังงานเสริมที่เพียงพอในการ
ดารงชีวิตหากสถานการณ์ดารงเช่นนี้ต่อไปปะการังก็จะตายในที่สุดเมื่อสาหร่ายซูแซนเทลลี
ซึ่งเป็นสีสันของปะการัง ออกจากตัวปะการังไปแล้วปะการังก็จะกลับคืนมาเป็นสีขาวซึ่งคือสี
ของปะการังเองดังนั้นปรากฏการณ์ที่ทาให้สาหร่ายซูแซนเทลลีออกจากปะการังจึงเรียกว่า
ปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว (coral bleaching)
สาหรับในพื้นที่ที่เป็นสถานที่ท่องเที่ยว ควรลดหรืองดกิจกรรมท่องเที่ยวทางทะเล เพื่อ
ช่วยลดมลพิษที่จะถูกปล่อยลงสู่ทะเล และให้เวลาปะการังในการฟื้นตัวกลับคืนสู่สภาพเดิมอีก
ครั้ง
ภาวะโลกร้อน (global warming) หมายถึง การที่อุณหภูมิของโลกเพิ่มขึ้น อัน
เนื่ องมาจาก ปัจจัยหลายประการโดยเฉพาะ ปัจจัยที่เกิดจาก ภาวะ เรือนกระจก (green
house effect) ตั้งแต่ศตวรรษที่ผ่านมา มนุษย์ได้หันไปพึ่งพาการเผาผลาญเชื้อเพลิงที่ได้มาจาก
ฟอสซิล เช่น น้ามัน ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ เพื่อผลิตพลังงานในกระบวนการการเผาผลาญ
เชื้อเพลิงทาให้มีก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เกิดขึ้นจานวนมาก ก๊าซนี้เมื่อถูกปล่อยออกไป
แล้วจะถูกสะสมอยู่ที่ชั้นบรรยากาศ และคอยกันความร้อนต่างๆ ที่ถูกปล่อยออกจากพื้นผิวโลก
ไม่ให้ความร้อนสามารถระบายออกสู่นอกชั้นบรรยากาศได้จึงเรียกก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ว่า
เป็นก๊าซเรือนกระจกและเรียกภาวะที่เกิดขึ้นว่าภาวะเรือนกระจก ซึ่งส่งผลให้เกิดภาวะโลกร้อน
ขึ้นตามมา
สันนิษฐานว่าเป็นผลกระทบมาจากปรากฏการณ์ เอลนินโญ่ ซึ่งทาให้อุณหภูมิของ โลก
และน้าทะเล สูงขึ้น จนทาให้ปะการัง และสัตว์อื่นในบริเวณ แนวปะการังได้แก่ ดอกไม้ทะเล
ถ้วย ทะเลและปะการังอ่อน เปลี่ยนจากสีต่างๆ เป็นสีขาวและค่อยๆ ตายไป จากการสารวจ
พบว่าขณะนี้ปะการังในอ่าวไทยเปลี่ยนสีไปแล้วประมา ณ 60 - 80%
ปรากฏการณ์ GREENHOUSE EFFECT
HTTP://WWW.WEATHERQUESTIONS.COM/WHAT_IS_THE_GREENHOUSE_EFFECT.HTM
กระแสน้าอุ่น กระแสน้าเย็น
HTTP://EMMARRGGH.DIARYIS.COM
วิกฤตปะการังฟอกขาวในไทย
แนวปะการังบริเวณฝั่งตะวันตกตามเกาะต่าง ๆ ทางฝั่งทะเลอันดามัน มีแนวโน้ม
การเกิดฟอกขาวน้อยกว่าด้านอื่นของเกาะ ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากการเคลื่อนที่ของมวล
น้าจากทะเลลึกที่เข้ามาช่วยบรรเทาผลของอุณหภูมิน้าทะเล นอกจากนี้ยังพบว่า
ปะการังลายดอกไม้ (Pavona decussata) ปะการังดาวใหญ่ (Diploastrea heliopora )
เป็นชนิดที่มีแนวโน้มต้านทานต่อการฟอกขาวได้ดี
อนาคตของปะการังเนื่องมาจากภาวะโลกร้อน
ปะการังเป็นสิ่งมีชีวิตที่เก่าแก่สิ่งหนึ่งที่ปรากฏอยู่บนโลกมานานกว่า 200 ล้านปี ปัจจุบันแนว
ปะการังได้ลดลงไปอย่างมากเมื่อเทียบกับในอดีต สาเหตุสาคัญที่ทาให้ปะการังถูกทาลายและลดจานวน
ลงอย่างมากเนื่องมาจากกิจกรรมที่เป็นผลจากการกระทา ของมนุษย์ เช่นการทาประมงที่มากเกินไป
การท่องเที่ยว เป็นต้น นอกจากนั้นภาวะโลกร้อนก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่สาคัญในปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์
คาดการณ์ว่าร้อยละ 70 ของปะการังจะตายภายใน 40 ปีข้างหน้าหากพวกเรา ไม่ช่วยกันป้ องกันหรือ
อนุรักษ์ปะการัง การให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับภาวะโลกร้อนและผลกระทบที่ตามมาก็เป็นอีกวิธีการ
หนึ่ง ที่สามารถสร้างความเข้าใจให้ประชาชนร่วมกันปกป้ องรักษาปะการังได้ผลกระทบที่ตามมาเหล่านี้
สุดท้ายอาจสะท้อนกลับมาสู่มนุษย์เราผู้เริ่มต้นของปัญหาต่าง ๆ นั่นเอง เมื่อปะการังได้รับผลกระทบ
สิ่งมีชีวิตต่าง ๆ หลากหลายที่อาศัยแนวปะการังเป็น ที่อยู่อาศัยเป็นแหล่งหาอาหารหรือเป็นแหล่งหลบ
ภัย ก็ไม่สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ รวมทั้งสัตว์เศรษฐกิจอีกมากมายที่มนุษย์เราใช้ประโยชน์ที่อาศัยอยู่ใน
แนวปะการังก็จะลดน้อยลง อีกทั้งสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ สถานที่ท่องเที่ยวอีกมากมายก็จะสูญหายไป
ด้วย หากมนุษย์เราไม่คานึงกันตั้งแต่บัดนี้ วันที่เราไม่อยากเห็นก็อาจปรากฏได้เร็วมากขึ้นอย่างหลีกเลี่ยง
ไม่ได้
พื้นที่ที่มีปะกำรังฟอกขำวในแนวปะกำรังเหตุกำรณ์สำคัญที่เกิดขึ้นในช่วง 15 ปีที่
ผ่ำน YELLOW SPOTS INDICATE MAJOR BLEACHING EVENTS. จุดสีเหลืองบ่งบอกถึง
เหตุกำรณ์ที่สำคัญกำรฟอกสี
HTTP://WWW.MARINEBIOLOGY.ORG/CORALBLEACHING.HTM
HTTP://MRVOP.WORDPRESS.COM
HTTP://WWW.DMCR.GO.TH/MARINECENTER/CORAL-LESSON6.PHP
จากกราฟแสดงอุณหภูมิน้าทะเลในแนวปะการังบริเวณเกาะภูเก็ตตั้งแต่ มกราคม พ.ศ.2552 –
กันยายน พ.ศ.2553 พบว่าข้อมูลในกรอบเป็นช่วงที่อุณหภูมิน้าทะเลขึ้นสูงกว่า 30 องศาเซลเซียสต่อเนื่องกัน
เป็นเวลาประมาณ 3 เดือน ทั้งนี้ประมาณไว้ว่า ณ อุณหภูมิตั้งแต่ 30 องศาเซลเซียสขึ้นไป เป็นจุดวิกฤตที่
กระตุ้นให้เกิดการฟอกขาวของปะการัง ทั้งนี้ขึ้นกับองค์ประกอบอื่นด้วยที่เป็นตัวกระตุ้นร่วม โดยเฉพาะความเข้ม
ของแสงแดด
HTTP://WWW.DMCR.GO.TH/MARINECENTER/CORAL-LESSON6.PHP
HTTP://WWW.DMCR.GO.TH/MARINECENTER/CORAL-LESSON6.PHP
 1. ปะการังเกิดความเสื่อมโทรม ส่งผลกระทบต่อภาคการท่องเที่ยว
 2. ปะการังฟอกขาวทาให้แนวปะการังเสื่อมโทรม ส่งผลให้กระทบต่อสมดุลในระบบนิเวศ
แนวปะการัง โดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงสร้างประชาคมปลาในแนวปะการังและสิ่งมีชีวิตใน
แนวปะการังชนิดอื่นๆ
 3. เพิ่มอัตราการกร่อนทางชีวภาพ (bioerosion) และทาลายโครงสร้างของแนวปะการัง
 4. สังคมสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ อาจเจริญเติบโตแทนที่แนวปะการังเดิม
1. ลดการใช้สารเคมีที่มี ปฏิกิริยาเรือนกระจกและเพิ่มเติมการปลูกป่า สร้างความชุ่มชื้นให้ผิวดิน
2. สร้างความรู้ ความเข้าใจแก่ประชาชน นักท่องเที่ยว ผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยว
3.ลดผลกระทบจากกิจกรรมการท่องเที่ยวที่ส่งผลกระทบต่อแนวปะการัง ด้วยการกาหนดพื้นที่
รูปแบบกิจกรรม
4.ผลักดันให้เรือท่องเที่ยวปรับปรุงเรือ โดยให้มีถังกักเก็บของเสียในเรือ
5.มีการจัดการอย่างเข้มงวดเพื่อลดปริมาณตะกอนจากแผ่นดินลงสู่ทะเล
6.กาหนดมาตรการป้ องกันกิจกรรมประมงที่ส่งผลกระทบต่อแนวปะการัง
7.ปิดพื้นที่ไม่ให้มีการใช้ประโยชน์ใดๆ ในพื้นที่แนวปะการัง
8.จัดสร้างแหล่งดาน้าใหม่ หรือปะการังเทียมเสริมในบริเวณที่เหมาะสม
แนวปะการังในอ่าวทางทิศเหนือของเกาะราชาใหญ่ มีปะการังเขากวาง
(Acropora austera) ขึ้นอยู่เป็ นดงกว้างใหญ่เริ่มฟอกขาวตั้งแต่เดือนพฤษภาคม
พ.ศ.2553 (ซ้าย) หลังจากนั้นในเดือนกันยายน เมื่อตรวจสอบอีกครั้งพบว่าปะการัง
เขากวางตายไปทั้งหมด (ขวา)
แนวปะการังสีน้าเงิน (Heliopora coerulea) ที่อ่าวฝั่งตะวันตกของเกาะราชา
ใหญ่ (ซ้าย) อ่าวทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะปายู (ขวา) ยังคงอยู่ในสภาพดี
ไม่ได้รับผลกระทบจากการฟอกขา
ปะการังโขด (Porites lutea) เริ่มกลับมามีสีน้าตาล เมื่ออุณหภูมิน้าลดลงสู่
ปกติในปลายเดือนมิถุนายน (ซ้าย) และจากการประเมินในหลายพื้นที่ พบว่า
ปะการังโขด (P. lutea) ตายจากการฟอกขาว 25-50% (ขวา)
แนวปะการังบริเวณหมู่เกาะสุรินทร์ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2553 มีความ
สมบูรณ์มาก (ซ้าย) หลังจากเกิดการฟอกขาวทาให้แนวปะการังกลับอยู่ในสภาพ
เสียหายมาก (ขวา)
แนวปะการังตามเวิ้งอ่าวทางฝั่งตะวันตกของเกาะต่างๆ ทางฝั่งทะเลอันดามัน
ได้รับอิทธิพลจากคลื่นใต้น้า (internal waves) ผลกระทบจากปะการังฟอกขาวจึงไม่
รุนแรงมาก
วัตถุประสงค์
 เพื่อศึกษำเกี่ยวกับกำรเปลี่ยนแปลงของปะกำรัง
 เพื่อศึกษำสำเหตุของกำรเกิดปะกำรังฟอกขำว
 เพื่อศึกษำแนวทำงกำรป้ องกันกำรเกิดปะกำรังฟอกขำว
 เพื่อศึกษำถึงวิธีกำรอนุรักษ์ปะกำรัง
หลักการและทฤษฎี
ปะกำรังฟอกขำว เป็นสภำวะที่ปะกำรังสูญเสียสำหร่ำยเซลล์เดียวที่
อำศัยอยู่ภำยในเนื้อเยื่อ ทำให้ปะกำรังอ่อนแอเพรำะได้รับสำรอำหำรไม่
เพียงพอแลปะกำรังอำจตำยไปในที่สุดถ้ำหำกไม่สำมำรถทนต่อสภำวะนี้ได้
ปะการัง จัดอยู่ในประเภทสัตว์ทะเลที่ไม่มีกระดูกสันหลัง (ที่มีกระดูก
สันหลังคือปลำต่ำงๆ) ปะกำรังมีมำกมำยหลำยชนิดมีทั้งปะกำรังแข็ง ปะกำรัง
อ่อน หลำกสีสันและหลำกหลำยรูปร่ำง
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
 ได้รับควำมรู้เกี่ยวกับกำรเปลี่ยนแปลงของปะกำรัง
 ได้ศึกษำสำเหตุของกำรเกิดปะกำรังฟอกขำว
 ได้ศึกษำแนวทำงกำรป้ องกันกำรเกิดปะกำรังฟอกขำว
 ได้ศึกษำถึงวิธีกำรอนุรักษ์ปะกำรัง
 เวลำไปท่องเที่ยวบริเวณทะเลที่มีปะกำรังเรำก็จะได้ช่วยกันอนุรักษ์ปะกำรัง
ที่มาและความสาคัญ
ปะกำรังเป็นสิ่งมี่ชีวิตซึ่งจัดเป็นสิ่งมีชีวิตที่ไม่มีกระดูสันหลัง ที่อำศัยอยู่ใต้
ท้องทะเลโดยปะกำรังเป็นแหล่งอำศัยและกันภัยของสิ่งมีชีวิต ใต้ท้องทะเล และ
ปะกำรังยังสำมำรถบ่งบอกถึงควำมอุดมสมบูรณ์ของสิ่งมีชีวิตภำยใต้ท้องทะเลนั้นอีก
ด้วย ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่ำนมำแนวปะกำรังทั่วโลกต้องเผชิญกับภำวะฟอกขำวที่นับวัน
จะทวีควำมรุนแรงและมีควำมถี่ในกำรเกิดบ่อยครั้งมำกขึ้นโดยแม้ขณะนี้ยังไม่มี
คำตอบที่แน่ชัดของสำเหตุกำรเกิดปะกำรังฟอกขำวแต่นักวิชำกำรส่วนใหญ่เชื่อว่ำ
เป็นผลมำจำกกำรแปรปรวนสภำพอำกำศเนื่องจำกภำวะโลกร้อนและปะกำรังยังเป็น
ที่พักอำศัยและที่ป้ องกันภัยของปลำ สัตว์ต่ำงๆที่อำศัยอยู่ในท้องทะเลและส่งผลให้
แนวปะกำรังขำดควำมสวยงำมและระบบนิเวศเสื่อมโทรม อีกทั้งกำรเดปะกำรังฟอก
ขำวยังส่งผลในวงกว้ำงของระบบนิเวศ ทำให้เกิดปัญหำอย่ำงรุนแรง ดังนั้นปะกำรัง
ใต้ทะเลเป็นสิ่งที่เรำควรเห็นคุณค่ำของปะกำรังอย่ำงมำกและควรที่จะได้รับรู้เกี่ยวกับ
กำรอนุรักษ์แนวปะกำรังและตัวปะกำรังเพื่อช่วยอนุรักษ์ปะกำรัง
ขอบเขตโครงงาน
 1. จัดทำโครงงำนคอมพิวเตอร์ เรื่องปะกำรังฟอกขำว
โดยนำเสนอในรูปแบบpowerpoint
 2. ศึกษำเรื่องปะกำรังฟอกขำว ว่ำเกิดขึ้นได้อย่ำงไร
และจะมีแนวทำงอนุรักษ์ได้อย่ำงไรบ้ำง
วิธีการดาเนินการ
แนวทำงกำรดำเนินงำน
 1 คิดหัวข้อโครงงำนเพื่อนำเสนอครูที่ปรึกษำโครงงำน
 2 ศึกษำและค้นคว้ำข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจ คือเรื่องปะกำรังฟอกขำว ว่ำมีเนื้อหำมำก
น้อยเพียงใด และต้องศึกษำค้นคว้ำเพิ่มเติมเพียงใดจำกเว็บไซต์ต่ำงๆ และเก็บข้อมูลไว้เพื่อจัดทำ
เนื้อหำต่อไป
 3จัดทำโครงร่ำงโครงงำนคอมพิวเตอร์เพื่อนำเสนอครูที่ปรึกษำ
 4 ปฏิบัติกำรจัดทำโครงงำนคอมพิวเตอร์ เรื่องปะกำรังฟอกขำว
 5 นำเสนอรำยงำนควำมก้ำวหน้ำเป็นระยะๆ โดยแจ้งให้ครูที่ปรึกษำโครงงำนเข้ำไปตรวจ
ควำมก้ำวหน้ำของโครงงำนผ่ำนของเรำ ซึ่งครูที่ปรึกษำจะให้ข้อเสนอแนะต่ำงๆ เพื่อให้จัดทำ
เนื้อหำและกำรนำเสนอที่น่ำสนใจต่อไป ทั้งนี้เมื่อได้รับคำแนะนำก็จะนำมำปรับปรุง แก้ไขให้เป็นที่
สนใจยิ่งขึ้น
 6 ประเมินผลงำน โดยกำรนำเสนอผ่ำน powerpoint แล้วให้ครูที่ปรึกษำประเมินผลงำน
วิธีการดาเนินการ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
 1 เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ำยอินเทอร์เน็ต
 2 เว็บไซต์ที่ใช้ในกำรติดต่อสื่อสำร เช่น www.facebook.com
www.hotmail.com www.google.com
 3 โปรแกรมตัดต่อและตกแต่งรูปภำพ เช่นAdobe Photoshop
CS4 และ PhotoScape2.0
แหล่งอ้างอิง
 http://marinegiscenter.dmcr.go.th/km/coral-
blenching/
 http://www.mkh.in.th/index.php/2010-03-22-
18-05-34/2011-08-24-04-53-51

Más contenido relacionado

Destacado

Disabilityactsinindia 121130112710-phpapp02
Disabilityactsinindia 121130112710-phpapp02Disabilityactsinindia 121130112710-phpapp02
Disabilityactsinindia 121130112710-phpapp02Hardik Singh
 
Kupu kupu--pljrn agr kuat
Kupu kupu--pljrn agr kuatKupu kupu--pljrn agr kuat
Kupu kupu--pljrn agr kuatluffysay
 
La informatica en la educacion
La informatica en la educacionLa informatica en la educacion
La informatica en la educacionalexander199517
 
Viestintäkoulutusesittely
ViestintäkoulutusesittelyViestintäkoulutusesittely
ViestintäkoulutusesittelyCamilla Lehtinen
 
World of profession
World of professionWorld of profession
World of professionmamadra
 
network foundation
network foundationnetwork foundation
network foundationRofael_Zhang
 
Mis metas yariri lizarazo
Mis metas yariri lizarazoMis metas yariri lizarazo
Mis metas yariri lizarazonacional711
 
Offline freelancerViet chủ đề: "What's new on Social Media"
Offline freelancerViet chủ đề: "What's new on Social Media"Offline freelancerViet chủ đề: "What's new on Social Media"
Offline freelancerViet chủ đề: "What's new on Social Media"FreelancerViet
 

Destacado (12)

Saving Money
Saving MoneySaving Money
Saving Money
 
Disabilityactsinindia 121130112710-phpapp02
Disabilityactsinindia 121130112710-phpapp02Disabilityactsinindia 121130112710-phpapp02
Disabilityactsinindia 121130112710-phpapp02
 
Kupu kupu--pljrn agr kuat
Kupu kupu--pljrn agr kuatKupu kupu--pljrn agr kuat
Kupu kupu--pljrn agr kuat
 
La informatica en la educacion
La informatica en la educacionLa informatica en la educacion
La informatica en la educacion
 
Mohamed Ashraf 2016
Mohamed Ashraf 2016 Mohamed Ashraf 2016
Mohamed Ashraf 2016
 
Viestintäkoulutusesittely
ViestintäkoulutusesittelyViestintäkoulutusesittely
Viestintäkoulutusesittely
 
World of profession
World of professionWorld of profession
World of profession
 
Esitlus
EsitlusEsitlus
Esitlus
 
Lakshmi ajith
Lakshmi ajithLakshmi ajith
Lakshmi ajith
 
network foundation
network foundationnetwork foundation
network foundation
 
Mis metas yariri lizarazo
Mis metas yariri lizarazoMis metas yariri lizarazo
Mis metas yariri lizarazo
 
Offline freelancerViet chủ đề: "What's new on Social Media"
Offline freelancerViet chủ đề: "What's new on Social Media"Offline freelancerViet chủ đề: "What's new on Social Media"
Offline freelancerViet chủ đề: "What's new on Social Media"
 

Similar a Coral reef-bleaching

บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
รายงานสังคม
รายงานสังคมรายงานสังคม
รายงานสังคมthnaporn999
 
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืนกลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืนfreelance
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11melody_fai
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11Jar 'zzJuratip
 
อัศจรรย์ รุ้งกินน้ำ
อัศจรรย์ รุ้งกินน้ำอัศจรรย์ รุ้งกินน้ำ
อัศจรรย์ รุ้งกินน้ำLapatsara Khoprakhon
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1NooAry Diiz'za
 

Similar a Coral reef-bleaching (11)

Response to stimuli in plants
Response to stimuli in plantsResponse to stimuli in plants
Response to stimuli in plants
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
รายงานสังคม
รายงานสังคมรายงานสังคม
รายงานสังคม
 
บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)
 
Howto
HowtoHowto
Howto
 
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืนกลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
กลุ่มHome --เมื่อโลกเอาคืน
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
อัศจรรย์ รุ้งกินน้ำ
อัศจรรย์ รุ้งกินน้ำอัศจรรย์ รุ้งกินน้ำ
อัศจรรย์ รุ้งกินน้ำ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

Más de firstyuppedu

ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์firstyuppedu
 
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์firstyuppedu
 
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์firstyuppedu
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์firstyuppedu
 
ข้อสบโค้วตา มช วิชา สังคมศึกษา ปี2552
ข้อสบโค้วตา มช วิชา สังคมศึกษา ปี2552ข้อสบโค้วตา มช วิชา สังคมศึกษา ปี2552
ข้อสบโค้วตา มช วิชา สังคมศึกษา ปี2552firstyuppedu
 
ข้อสอบโค้วตา มช ปี 2552 วิชาภาษาไทย
ข้อสอบโค้วตา มช ปี 2552 วิชาภาษาไทยข้อสอบโค้วตา มช ปี 2552 วิชาภาษาไทย
ข้อสอบโค้วตา มช ปี 2552 วิชาภาษาไทยfirstyuppedu
 
ข้อสอบโค้วตา มช วิชาวิทยาศาสตร์1 ปี2552
ข้อสอบโค้วตา มช วิชาวิทยาศาสตร์1 ปี2552ข้อสอบโค้วตา มช วิชาวิทยาศาสตร์1 ปี2552
ข้อสอบโค้วตา มช วิชาวิทยาศาสตร์1 ปี2552firstyuppedu
 
ข้อสอบโค้วตา มช วิชาคณิตศาสตร์ ปี 52
ข้อสอบโค้วตา มช วิชาคณิตศาสตร์ ปี 52ข้อสอบโค้วตา มช วิชาคณิตศาสตร์ ปี 52
ข้อสอบโค้วตา มช วิชาคณิตศาสตร์ ปี 52firstyuppedu
 

Más de firstyuppedu (9)

ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 1โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
5555
55555555
5555
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
 
ข้อสบโค้วตา มช วิชา สังคมศึกษา ปี2552
ข้อสบโค้วตา มช วิชา สังคมศึกษา ปี2552ข้อสบโค้วตา มช วิชา สังคมศึกษา ปี2552
ข้อสบโค้วตา มช วิชา สังคมศึกษา ปี2552
 
ข้อสอบโค้วตา มช ปี 2552 วิชาภาษาไทย
ข้อสอบโค้วตา มช ปี 2552 วิชาภาษาไทยข้อสอบโค้วตา มช ปี 2552 วิชาภาษาไทย
ข้อสอบโค้วตา มช ปี 2552 วิชาภาษาไทย
 
ข้อสอบโค้วตา มช วิชาวิทยาศาสตร์1 ปี2552
ข้อสอบโค้วตา มช วิชาวิทยาศาสตร์1 ปี2552ข้อสอบโค้วตา มช วิชาวิทยาศาสตร์1 ปี2552
ข้อสอบโค้วตา มช วิชาวิทยาศาสตร์1 ปี2552
 
ข้อสอบโค้วตา มช วิชาคณิตศาสตร์ ปี 52
ข้อสอบโค้วตา มช วิชาคณิตศาสตร์ ปี 52ข้อสอบโค้วตา มช วิชาคณิตศาสตร์ ปี 52
ข้อสอบโค้วตา มช วิชาคณิตศาสตร์ ปี 52
 

Coral reef-bleaching

Notas del editor

  1. ปะการังเป็นทรัพยากรธรรมชาติทางทะเลที่สำคัญ เป็นที่อยู่อาศัยของพืชและสัตว์น้ำ เป็นแหล่งอาหารเพื่อการเจริญเติบโต เป็นแหล่งเพราะพันธุ์และวางไข่ เป็นแหล่งหลบภัยของสัตว์น้ำต่างๆ ดังนั้นปะการังจึงเป็นเหมือนผู้ผลิตและเป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตในทะเล
  2. ผลของภาวะโลกร้อนอย่างต่อเนื่องนี้สามารถส่งผลให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้นจากปัจจุบันประมาณ90 เซนติเมตรในหนึ่งร้อยปีข้างหน้า ระดับที่เพิ่มขึ้นของน้ำทะเลนี้ทำให้หลายประเทศรวมถึงประเทศไทยได้รับผลกระทบทั้งทางด้านกายภาพและชีวภาพหลายประการ การเกิดปรากฎการณ์ปะการังฟอกขาวก็เป็นผลมาจากภาวะโลกร้อนด้วยเช่นกัน การที่ปะการังเป็นสิ่งมีชีวิตที่ไวต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิน้ำ ดังนี้อุณหภูมิของน้ำที่สูงขึ้นเพียง 2-3 องศาเซลเซียส สามารถส่งผลต่อการตายของปะการังได้ นอกจากนั้นยังมีผลต่อการสะสมหินปูนของปะการังลดลงเนื่องจากในสภาวะปกติ ทะเลสามารถดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากบรรยากาศได้ประมาณหนึ่งในสามของปริมาณทั้งหมดที่สะสม เมื่อปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในชั้นบรรยากาศเพิ่มมากขึ้น การดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์โดยน้ำทะเลจึงเพิ่มมากขึ้นตามสัดส่วนและส่งผลต่อการลดลงของสารคาร์บอเนตไอออนที่เป็นส่วน ประกอบสำคัญในการสร้างโครงร่างหินปูนของปะการัง รวมถึงสัตว์ทะเลอีกหลายชนิด อีกประการหนึ่งการที่ระดับน้ำทะเลสูงขึ้นเนื่องจากภาวะโลกร้อนส่งผลให้แนวปะการังอยู่ในระดับน้ำทะเลที่ลึกมากขึ้น จึงทำให้ปริมาณแสงอาทิตย์ส่องลงไปถึงปะการังได้น้อยลงและทำให้สาหร่ายซูแซนเทลลีซึ่งใช้แสงในการสังเคราะห์แสงได้รับแสงลดน้อยลง เมื่อใดก็ตามที่ไม่มีแสงหรือมีแต่ไม่เพียงพอที่จะทำให้สาหร่ายซูแซนเทลลีดำรง ชีวิตอยู่ได้ปะการังที่พึ่งพาอาศัยสาหร่ายซูแซนเทลลีก็ไม่สามารถดำรงชีวิตได้เช่นกัน ซึ่งรวมถึงสิ่งมีชีวิตอีกมากมายที่อาศัยแนวปะการังนั้น ๆ ในการดำรงชีวิต ภาวะโลกร้อนสามารถส่งผลต่อการหมุนเวียนของน้ำทะเล (ocean circulation) ลดลงหรือหยุด ปกติน้ำทะเลจะไม่เกิดเป็นชั้นน้ำที่อุ่นหรือเย็นแบ่งแยกกันถ้าน้ำบริเวณนั้นมีการหมุนเวียนแต่เมื่อใดก็ตามที่การหมุนเวียนของน้ำหยุด จะทำให้น้ำแบ่งชั้นสัตว์ที่อยู่บริเวณนั้นเช่นปะการังก็จะได้รับผลกระทบเนื่องจากสภาพน้ำบริเวณนั้นมีอุณหภูมิที่สูง หรือต่ำเกินไปคงอยู่เป็นเวลานาน
  3. กราฟแสดงอุณหภูมิน้ำทะเลในแนวปะการังบริเวณเกาะภูเก็ตตั้งแต่ มกรคม 2552 – กันยายน 2553 กรอบสีแดงเป็นช่วงที่อุณหภูมิน้ำทะเลขึ้นสูงกว่า 30 องศาเซลเซียสต่อเนื่องกันเป็นเวลาประมาณ 3 เดือน ทั้งนี้ประมาณไว้ว่า ณ อุณหภูมิตั้งแต่ 30 องศาเซลเซียสขึ้นไป เป็นจุดวิกฤตที่กระตุ้นให้เกิดการฟอกขาวของปะการัง ทั้งนี้ขึ้นกับองค์ประกอบอื่นด้วยที่เป็นตัวกระตุ้นร่วม โดยเฉพาะความเข้มของแสงแดด
  4. 1.สร้างความรู้ ความเข้าใจแก่ประชาชน นักท่องเที่ยว ผู้ประกอบการธุรกิจท่องเที่ยว ผู้ใช้ประโยชน์จากแนวปะการัง เพื่อให้ทราบสถานการณ์ของแนวปะการังฟอกขาว ผลกระทบที่เกิดขึ้น โดยจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ การรณรงค์ให้ผู้ประกอบการธุรกิจดำน้ำดำเนินธุรกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2.ลดผลกระทบจากกิจกรรมการท่องเที่ยวที่ส่งผลกระทบต่อแนวปะการัง ด้วยการกำหนดพื้นที่ รูปแบบกิจกรรม และข้อควรปฏิบัติที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้ประโยชน์ต่างๆ ทั้งนี้ ทางกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง และกรมอุทยานฯ สามารถนำรูปแบบวิธีการดำเนินงานของโครงการกรีนฟินส์ไปใช้ 3.ผลักดันให้เรือท่องเที่ยวปรับปรุงเรือ โดยให้มีถังกักเก็บของเสียในเรือ มิให้มีการปล่อยของเสียลงในแนวปะการังโดยตรง เพื่อลดปัญหาการแพร่ของเชื้อโรคหรือปริมาณสารอาหารในแนวปะการัง 4.มีการจัดการอย่างเข้มงวดเพื่อลดปริมาณตะกอนจากแผ่นดินลงสู่ทะเล เช่น ควบคุมการเปิดหน้าดิน และกำหนดมาตรการป้องกันการกัดเซาะหน้าดินบนเกาะที่มีแนวปะการัง 5.กำหนดมาตรการป้องกันกิจกรรมประมงที่ส่งผลกระทบต่อแนวปะการัง โดยเฉพาะการลักลอบจับปลาสวยงาม และปลากินพืชในแนวปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติ โดยต้องมีการตรวจตราป้องกันการกระทำผิดอย่างเข้มงวด 6.ปิดพื้นที่ไม่ให้มีการใช้ประโยชน์ใดๆ ในพื้นที่แนวปะการังที่จำเป็นต้องได้รับการคุ้มครองอย่างเข้มงวด เช่น บางบริเวณในเขตอุทยานแห่งชาติ 7.นำแผนแม่บทการจัดการอุทยานแห่งชาติ ที่เคยมีการทำไว้แล้วมาใช้อย่างจริงจัง 8.จัดสร้างแหล่งดำน้ำใหม่ หรือปะการังเทียมเสริมในบริเวณที่เหมาะสม เพื่อลดการใช้ประโยชน์ในแนวปะการัง