SlideShare a Scribd company logo
1 of 65
สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดินขนาดใหญ่ (Benthicmacroinvertebrates) 1 ดัชนีชีวภาพการวัดคุณภาพน้ำ
     	หมายถึง  สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่บน(epifauna)ใน(in fauna)หรือใกล้กับพื้นท้องน้ำหรือบริเวณต่ำสุดของน้ำ (benthic zone)  2 สัตว์หน้าดิน(Benthos,Benthic organisms)
3 สัตว์หน้าดิน(Benthos,Benthic organisms)  - สัตว์มีกระดูกสันหลังหน้าดิน ที่พบในแหล่งน้ำ ได้แก่ ปลาที่อาศัยอยู่บริเวณพื้นท้องน้ำ - สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดิน เป็นกลุ่มที่มีความหลากหลาย และบทบาทในระบบนิเวศพื้นท้องน้ำ สัตว์เหล่านี้มีลักษณะการได้มาซึ่งอาหารแตกต่างกัน ได้แก่ พวกกรองอาหาร(filtering collectors)เช่น หอยกาบ เป็นต้น พวกกินตะกอนสารอินทรีย์ (gathering collectors) เช่น ไส้เดือนน้ำ หนอนแดงเป็นต้น
		หมายถึง สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่อาศัยหรือหากินตามพื้นท้องน้ำในแหล่งน้ำ นอกจากนี้ยังรวมถึงสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่เกาะหรืออาศัยตามก้อนหิน โขดหิน หรือขอนไม้ในแหล่งน้ำด้วย 4 สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดิน (Benthic macro invertebrates)
		เป็นอาหารสำคัญของสัตว์อื่น ๆ ซึ่งเป็นการถ่ายทอดพลังงานผ่านห่วงโซ่อาหาร และยังช่วยในการหมุนเวียนแร่ธาตุในระบบนิเวศ และเป็นดัชนีชีวภาพ(bioindicators)ในการประเมินคุณภาพน้ำทางชีวภาพร่วมกับการประเมินคุณภาพน้ำทางกายภาพและเคมี 5 บทบาทสำคัญในระบบนิเวศแหล่งน้ำจืด
1) สัตว์หน้าดินเคลื่อนที่ได้น้อย มีแนวโน้มอาศัยอยู่ในสถานที่เดียว จึงได้รับ  	     ผลกระทบ โดยตรงจากสภาวะ   มลพิษของแหล่งน้ำบริเวณนั้น ๆ  		2) สัตว์หน้าดินมีความหลากหลายและมีการแพร่กระจายกว่าง สามารถพบ	     ได้ใน	ทุกแหล่งน้ำ  		3) สัตว์หน้าดินมีความไวต่อการถูกรบกวนและฟื้นตัวช้า ทำให้สามารถ	     ตรวจสอบผลกระทบที่เกิดขึ้นได้แม้ เวลาผ่านไป 		4) สัตว์หน้าดินมีขนาดใหญ่ สามารถตรวจพบได้ง่าย  6 การใช้สัตว์หน้าดินเป็นตัวชี้วัดคุณภาพน้ำ
		5) สัตว์หน้าดินมีอายุขัยยาว ส่วนใหญ่มีอายุประมาณ 1 ปี ทำให้	     ตรวจสอบได้ตลอดปีหรือทุกช่วงเวลาของการเก็บตัวอย่าง  		6) ชนิดและจำนวนของสัตว์หน้าดินในแหลงน้ำหนึ่ง นำมาใช้บอก	    ผลรวมของคุณภาพสิ่งแวดล้อมของแหล่งน้ำนั้นได้ดีกว่าปัจจัย	    ทางการภาพ และเคมี 7 การใช้สัตว์หน้าดินเป็นตัวชี้วัดคุณภาพน้ำ
		การตรวจวัดคุณภาพน้ำด้วยสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดินมีข้อจำกัดคือ ในฤดูฝนซึ่งเกิดภาวะน้ำหลาก สัตว์หน้าดินจะถูกพัดไปกับกระแสน้ำทำให้พบชนิดและจำนวนสัตว์หน้าดินลดลงและน้ำมีปริมาณมากทำให้เก็บตัวอย่างได้ยาก 8 ข้อจำกัดการตรวจวัดคุณภาพน้ำด้วยสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดิน
1.การเก็บตัวอยางทางดานคุณภาพ(Qualitative sampling) ตองการทราบเพียงชนิดของสัตวหนาดินที่มีอยูในพื้นที่ศึกษา 2. การเก็บตัวอยางทางดานปริมาณ(Quantitative sampling) ตองการทราบทั้งชนิด และปริมาณของสัตวหนาดินที่มีอยูในพื้นที่ศึกษา 9 การวิเคราะห์คุณภาพน้ำด้วยสัตว์หน้าดิน
10
1. เครื่องมือเก็บตัวอยางสัตว์หนาดินทางดานคุณภาพ เครื่องมือที่นิยมใช้ คือพลั่วหรือที่ตักดิน (Shovel and dredge)ถุงอวนวาง (Surber-type sampler) สวิง (Hand net)   สวิงถุงอวนแบบลากเตะ (Bottom aquatic kick net)    นอกจากนี้อาจใชมือหยิบก้อนหินที่มีสัตวหนาดินเกาะติดอยูขึ้นมาโดยตรงเป็นต้น 11  เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมตัวอย่างสัตว์หนาดิน
12 เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมตัวอย่างสัตว์หนาดิน: เชิงคุณภาพ  แบบวางหน้าดิน(Surber-type sampler) แบบลากเตะ (Bottom aquatic kick net) (ที่มา : www.epa.gov)
2. เครื่องมือเก็บตัวอยางสัตวหนาดินทางดานปริมาณ เครื่องมือที่นิยมใชคือเครื่องตักหน้าดิน แบบ grabs เชนEkmangrab, Petersen grabและCore samplerเปนตน ซึ่งเครื่องมือเหลานี้มีความ  เหมาะสมตามลักษณะของพื้นที่ผิวดินและความลึกของน้ำ 13 เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมตัวอย่างสัตว์หนาดิน
14 เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมตัวอย่างสัตว์หนาดิน: เชิงปริมาณ  Ekman grab 		Peterson grab  (ที่มา : www.envco.ro)
	3. ตะแกรงรอน (Sieve) ใชสําหรับการแยกรอนหาสัตวหนาดินออกจากตะกอนดิน ตะแกรงร่อน มีขนาดของตะแกรงตางๆ สวนที่นิยมใชในการแยกหาสัตวหนาดินจะเปนตะแกรงรอนเบอร10 mesh (2 มิลลิเมตร ),20 mesh (800 ไมโครเมตร) และ 30 mesh (600ไมโครเมตร) 15 เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมตัวอย่างสัตว์หนาดิน: อุปกรณ์อื่นๆ
4. อุปกรณอื่นๆ 5. สารเคมีสําหรับเก็บตัวอยางสัตวหนาดิน 16 เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมตัวอย่างสัตว์หนาดิน: อุปกรณ์อื่นๆ
การเลือกสถานที่เก็บตัวอย่างสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดิน 17
	1. การเก็บตัวอย่างสัตวหนาดิน ในพื้นที่ที่ไดรับผลกระทบสภาพ  มลภาวะจาก แหล่งกําเนิดมลพิษ - แบบทราบจุดกําเนิดมลพิษ - แบบไมทราบจุดกําเนิดมลพิษ 18 การเลือกสถานที่เก็บตัวอย่าง
2. กำหนดจุดเก็บตัวอยางบริเวณท้ายน้ำหรือบริเวณที่ไดรับผลกระทบจาก มลพิษในบริเวณใกล้เคียงกับจุดกำเนิดมลพิษ ในระยะทางที่เหมาะสมและไมห่างจากจุดกําเนิดมลพิษจนเกินไป  3. ควรกำหนดจุดเก็บตัวอย่างหลายๆ จุด 19 การเลือกสถานที่เก็บตัวอย่าง
	4. ทำการเก็บตัวอย่างน้ำสำหรับการตรวจวิเคราะหทางกายภาพและทางเคมี 	ในจุดเดียวกันกับจุดที่เก็บตัวอย่างสัตวหน้าดิน 	5. สำหรับการเก็บตัวอย่างในลำน้ำที่มีขนาดเล็กนั้น และมีลักษณะง่ายตอการ	เปลี่ยนแปลงสภาพทางนิเวศนั้น ควรดำเนินการเก็บตัวอย่างสัตวหนาดิน	จากบริเวณทายน้ำก่อน จากนั้นจึงเปลี่ยนจุดเก็บ ตัวอย่างขึ้นมาบริเวณ ต้นน้ำเพื่อ ปองกันการรบกวน 20 การเลือกสถานที่เก็บตัวอย่าง
การเก็บตัวอย่างสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดิน 21
	1. กําหนดพื้นที่ที่จะทําการเก็บตัวอย่างและกำหนด  ตำแหนง 	    ของจุดเก็บตัวอยาง ควรเก็บตัวอย่าง อย่างน้อย3 ครั้ง 	2. เริ่มทำการเก็บตัวอย่าง 22  การเก็บตัวอยาง : Ekmangrab
	3. ร่อนตะกอนดินผ่านตะแกรงร่อน(Sieve) 23 การเก็บตัวอยาง:Ekman grab
	4.	 ตรวจสอบสัตวหนาดินขนาดให่และเก็บตัวอย่างที่ไดในขวดเก็บตัวอย่างสัตวหน้าดินและเติมสารเคมีรักษาสภาพตัวอยางและนำตัวอย่างสัตวหน้า-ดินไปวิเคราะหจำแนกชนิดและตรวจนับปริมาณจำนวนในหองปฏิบัติการต่อไป 24 การเก็บตัวอยาง:Ekman grab
	5. 	ตะกอนดินที่เก็บ หลังจากทำการแยกสัตวหนาดินขนาดใหญ่ออกจากตะกอน	ดินซึ่งสามารถทำไดทันที 	6. 	บันทึกพารามิเตอรต่างๆ ที่เกี่ยวของ เช่น สภาพทั่วไปของพื้นที่ คุณภาพน้ำใน	จุดเก็บตัวอย่าง 25 การเก็บตัวอยาง:Ekman grab
	1. 	ถายตัวอย่างตะกอนดินที่รวบรวมไดลงบนตะแกรงร่อน มีขนาดช่องตาถี่ 0.5  มิลลิเมตรล้างดวยน้ำจืดก่อนที่จะเทใสถาดที่ใช้สําหรับการคัดแยก 	2.	การคัดแยกสามารถดำเนินการภายใต้กลองจุลทรรศน์กําลังขยายต่ำ 26 การแยกตัวอยางและจําแนกชนิดสัตวหนาดินในหองปฏิบัติการ
27 การบันทึกผลการสำรวจสัตว์หน้าดิน
การจำแนกสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดิน 28
สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังกลุ่มใหญ่ที่สุดคือแมลงน้ำซึ่งมีอยู่เป็นจำนวนมาก จึงเป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นที่ต้องจัดแบ่งแมลงน้ำออกเป็นหมวดหมู่ การจัดหมวดหมู่ การกำหนดชื่อรวมทั้งการตรวจสอบหาชื่อทางวิทยาศาสตร์ที่ถูกต้องของแมลงน้ำ รวมเรียกว่า “อนุกรมวิธานแมลงน้ำ” 29 การจำแนกสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดินเพื่อใช้วัดคุณภาพน้ำ
หลักเกณฑ์พื้นฐานทั่วไปที่ใช้ในการจำแนกแมลงน้ำออกเป็นหมวดหมู่   - พิจารณาจากรูปแบบการเจริญของแมลงน้ำ - พิจารณาจากลักษณะภายนอกและภายในของแมลงน้ำว่าเหมือนหรือต่างกันอย่างไร  - พิจารณาถึงพฤติกรรมความสัมพันธ์ของแมลงน้ำกับสิ่งแวดล้อม ตลอดจนการแพร่กระจายตามถิ่นที่อยู่อาศัย 30 การจำแนกสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดิน
[object Object]
	3. แมลงเกาะหิน (Plecoptera)              4. มวนน้ำ (Hemiptera)
	5. แมลงช้าง (Neuroptera)                   6. แมลงหนอนปลอกน้ำ (Trichoptera)
	7. ผีเสื้อน้ำ (Lepldoptera)                     8. ด้วงน้ำ (Coleoptera)
	9. แมลงสองปีก (Diptera)		นอกจากนี้ยังสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังกลุ่มอื่น ๆ ที่ใช้บ่งชี้คุณภาพน้ำ ได้แก่ กุ้ง ปู หนอน-แดง และไส้เดือนน้ำจืด เป็นต้น ดังจะได้กล่าวในรายละเอียดต่อไปนี้ 31 การจำแนกสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดิน
กลุ่มตัวอ่อนแมลงชีปะขาว กลุ่มสัตว์	แมลงอันดับEphermeroptera การหายใจ 	การดูดซึมอากาศในน้ำผ่านผิวบางและเหงือกข้างลำตัว ตัวอ่อนส่วนมากพบในน้ำสะอาดมาก มีปริมาณออกซิเจนสูง มีเพียงบางประเภทที่ทนปริมาณออกซิเจนต่ำและมลภาวะได้
33 กลุ่มตัวอ่อนแมลงชีปะขาว ตัวอ่อนแมลงชีปะขาว เหงือกบนแห้ง(Ephermerellldae) ตัวอ่อนแมลงชีปะขาแบน     (Heptagenidae) ตัวอ่อนแมลงชีปะขาวขุดรู (Ephermeridae) ตัวอ่อนแมลงชีปะขาวเหงือกขนนก (Polamanthidae) ตัวอ่อนแมลงชีปะขาวเข็ม (Baetidae)
กลุ่มสัตว์	 แมลงอันดับ Plecoptera การหายใจ 	ดูดซึมอากาศในน้ำผ่านผิวบาง ชอบน้ำสะอาดมาก เมื่อปริมาณออกซิเจนในน้ำเริ่มลดลง หลายชนิดจะทำท่าวิดพื้นเพื่อเพิ่มแรงกระแสน้ำรอบตัว ช่วยให้ออกซิเจนถ่ายเทได้ดีขึ้น 34 กลุ่มตัวอ่อนแมลงเกาะหิน
35 กลุ่มตัวอ่อนแมลงเกาะหิน ตัวอ่อนแมลงเกาะหินจั๊กกะแร้ฟู (Perlldae) ตัวอ่อนแมลงเกาะหินตัวป้อม (Perltoperlidae)
กลุ่มสัตว์	 	  แมลงอันดับ Trichoptera การหายใจ 		ดูดซึมในน้ำผ่านผิวบางและส่วนมากมีเหงือกเป็นขนเส้น ๆ ช่วยหายใจด้วย มักพบในน้ำสะอาดมากมีปริมาณออกซิเจนสูง ถ้าปริมาณออกซิเจนลดลงตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน้ำที่อาศัยในปลอกจะกระดกก้นขึ้นลงเพื่อสร้างกระน้ำภายในปลอกให้ออกซิเจนถ่ายเทได้ดีขึ้น 36 กลุ่มตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน้ำอาศัยอยู่ในปลอก
37 กลุ่มตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน้ำอาศัยอยู่ในปลอก ตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน้ำปลอกแตร(Odontoceridae) ตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน้ำปลอกกรวดข้าง(Goeridae) ตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน้ำซองใบไม้(Calamoceratidae)
กลุ่มสัตว์ 		 แมลงอันดับ Trichoptera การหายใจ 	ดูดซึมอากาศในน้ำผ่านผิวบาง มักพบในน้ำสะอาด มีปริมาณออกซิเจนพอเพียง แต่บางชนิดทนมลภาวะได้ค่อนข้างดี  38 กลุ่มตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน้ำไม่อยู่ในปลอก
39 กลุ่มตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน้ำไม่อยู่ในปลอก ตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน้ำหัวหลิม (Phllopotamidae) ตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน้ำชิโก้ (Hydropsychidae)
กลุ่มสัตว์ 		แมลงอันดับ Neuroptera การหายใจ 	ดูดซึมอากาศในน้ำผ่านผิวบางและเหงือกมักพบใน 	น้ำสะอาดไหลแรง มีปริมาณออกซิเจนสูง   40 ตัวอ่อนแมลงช้างกรามโต
กลุ่มสัตว์แมลงอันดับodonata การหายใจ 	ดูดซึมอากาศในน้ำผ่านผิวบางและเหงือกภายในตัวบริเวณก้นสามารถปั๊มน้ำผ่านก้นได้ ช่วยเพิ่มปริมาณอกซิเจน โดทั่วไปอาศัยในน้ำสะอาดสามารถทนมลภาวะได้บ้าง 41
42 กลุ่มตัวอ่อนแมลงปอ ตัวอ่อนแมลงปอธรรมดา ตัวอ่อนแมลงปอเสือหางเดียว ตัวอ่อนแมลงปอเข็ม (Gomphldae) (Coenagrioniidae)
43   กลุ่มตัวอ่อนแมลงปอ ตัวอ่อนแมลงปอเข็มธรรมดา (Protoneuride) ตัวอ่อนแมลงปอเข็มหางโป่ง (Euphaeldae) ตัวอ่อนแมลงปอน้ำตกธรรมดา (Calopteygidae)
กลุ่มสัตว์		 แมลงอันดับ Hemiptera การหายใจ 	มวนที่อยู่ในน้ำมีขนาดจิ๋วตามร่างกาย โดยเฉพาะใต้ท้องหรือบริเวณก้น สามารถเก็บฟองอากาศจากผิวน้ำลงไปใต้น้ำได้ โดยมันจะเปิดรูหายใจบนตัวเพื่อหายใจจากฟองอากาศนี้โดนตรงและสามารถดึงออกซิเจนที่ละลายอยู่ในน้ำเข้ามาเติมได้ 44
45      มวนน้ำและจิงโจ้น้ำ จิงโจ้น้ำ (Gerridae) ลักษณะเด่นวิ่งหากินบนผิวน้ำ ช่วงห่างระหว่างขาคู่หน้ากับคู่กลางห่างกันมาก 			ไม่มีหาง บินได้ มวนแมงป่องเข็ม (Nepldae) ลักษณะเด่นตัวผอมยาวเก้งก้างคล้ายกิ่งไม้ มีหางเป็นหลอดตรงยาว 1 หาง
46      มวนน้ำและจิงโจ้น้ำ มวนจาน (Naucoridae) ลักษณะเด่นตัวแบนและค่อนข้างกลม ขาคู่หน้าคล้ายกล้าม ใช้จับเหยื่อ ปล้องบน 			ตัวอ่อนเห็นได้ชัดเจน ตัวเต็มวัยหลายชนิดมีปีกใหญ่คลุมหลัง มวนวน (Corixidae) ลักษณะเด่น   ขาหลังมีขนเป็นแผงใช้ว่ายน้ำ
กลุ่มสัตว์แมลงอันดับ Coleoptera การหายใจ 	ดูดซึมอากาศผ่านผิวบางโดยตรง หลายชนิดมีเหงือกเป็นเส้นขน เป็นแง่งยาว หรือเป็นหางรูปร่างต่าง ๆ   47
48 กลุ่มหนอนด้วงน้ำ หนอนด้วงสี่ตา (Gyrinidae) ลักษณะเด่น  ตัวยาวเรียว ค่อนข้างแบน หัวเล็ก มีเหงือกเป็นแง่ง 	        ยาวเรียงเป็นแถวข้างลำตัว วิ่งได้เร็วตามพื้นใต้น้ำ หนอนด้วงดิ่ง (Dytlscidae)      ลักษณะเด่นหัวโต กรามโค้งใหญ่ มีเหงือกเป็นแง่งยาวเรียงเป็นแถว              ข้างลำตัว สามารถจับกินปลาตัวเล็ก ๆ หรือลูกอ๊อดได้
49 หนอนด้วงน้ำไหล กลุ่มสัตว์	แมลงอันดับ Lapldoptera การหายใจ 	ดูดซึมอากาศผ่านผิวบางโดยตรง บางชนิดมีเหงือกช่วยหายใจเป็นขนเส้น ๆ ตามลำตัว
กลุ่มสัตว์	แมลงอันดับ Diptera การหายใจ 	ดูดซึมอากาศผ่านผิวบางโดยตรง บางชนิดมีเหงือกเป็นเส้น ๆ หรือรูปแบบอื่น ๆ เพื่อช่วยหายใจ บางชนิดมีปล้อง ลำตัวปล้องสุดท้ายแปรรูปเป็นท่อยาว ใช้หายใจเอาอากาศจากผิวน้ำ  50 กลุ่มแมลงสองปีก
51 กลุ่มแมลงสองปีก หนอนริ้นน้ำจืดแดง (Chironomidae) ลักษณะเด่น 	ดูดซึมอากาศผ่านผิวบาง ๆ และเหงือก พวกตัวสีแดงมีสารคล้ายฮีโมโกลบิน  	ซึ่งมีคุณสมบัติในการเก็บออกซิเจน ทำให้มันอยู่ในน้ำสกปรกที่มีปริมาณออกซิเจน	น้อยได้ดี
52 กลุ่มแมลงสองปีก หนอนแมลงวันแมงมุม (Tipulidae) หนอนริ้นดำ (Simuliidae)
กลุ่มสัตว์ 		หนอนในชั้นย่อย : Oligochaeta การหายใจ 	ดูดซึมอากาศผ่านผิวบางโดยตรง พวกตัวสีแดงมีสารคล้ายฮีโมโกลบินในเลือดเรา ซึ่งมีคุณสมบัติในการเก็บออกซิเจน ทำให้มันอยู่ในน้ำสกปรกที่มีปริมาณออกซิเจนน้อยได้ดี 53 กลุ่มไส้เดือนน้ำ
54 สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอื่นๆ หอยกาบน้ำจืด หอยกาบเมล็ดถั่ว หอยฝาเดียว หอยเจดีย์ กุ้งน้ำจืด ปูน้ำจืด
การประเมินคุณภาพน้ำด้วยสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหน้าดิน 55
56 นาฬิกาสัตว์หน้าดินและแผนภาพ    การเฝ้าระวังแม่น้ำ (River Watch)  เป็นการบอกคุณภาพแหล่งน้ำได้อย่างคร่าว ๆ เนื่องจากจำแนกสิ่งมีชีวิตถึงขั้นอันดับ เหมาะสำหรับการใช้เฝ้าระวังดูแลลำน้ำโดยภาคประชาชน 	สัตว์ที่นำมาใช้ ใช้สัตว์ 8 จำพวก โดยเรียงลำดับจากสัตว์ที่ต้องการอาศัยอยู่ในบริเวณที่ต้องการออกซิเจนละลายน้ำสูง ไปหาสัตว์ที่อาศัยอยู่ในบริเวณที่มีออกซิเจนต่ำ สัตว์ดังกล่าว ได้แก่ ตัวอ่อนแมลงเกาะหิน ตัวอ่อนแมลงชีปะขาว ตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน้ำมีปลอก ตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน้ำไม่มีปลอก ตัวอ่อนแมลงปอ กุ้งและปู หนอนแดง และไส้เดือนน้ำจืด
หน้าปัทม์นาฬิกาแบ่งเป็น 2 วง ในแต่ละวงครึ่งขวาของหน้าปัดแบ่งเป็น 5 ส่วน วงใน:เป็นกลุ่มสัตว์ที่พบ แสดงด้วยรูปวาดสัตว์ เรียงลำดับจากบนสุด เวียนตามเข็มนาฬิกา ดังนี้คือ ตำแหน่งที่ 1 เป็นสัตว์กลุ่มที่  1 คือตัวอ่อนแมลงเกาะหินและแมลงชีปะขาว ตำแหน่งที่ 2 เป็นสัตว์กลุ่มที่  2 คือตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน้ำมีปลอก และตัวอ่อนแมลงหนอนปลอกน้ำไม่มีปลอก ตำแหน่งที่ 3เป็นสัตว์กลุ่มที่  3 คือตัวอ่อนแมลงปอ  	กุ้งและปู ตำแหน่งที่ 4เป็นสัตว์กลุ่มที่  4 คือหนอนแดงและไส้เดือนน้ำจืด ตำแหน่งที่ 5ไม่มีสัตว์เลย 57 นาฬิกาสัตว์หน้าดิน(River Watch)
	วงนอก: แสดงคุณภาพแหล่งน้ำโดยเรียงจากบนสุดตรงกับตำแหน่งของกลุ่มสัตว์เวียนตามเข็มนาฬิกา  ดังนี้ คือ ตำแหน่งที่ 1คุณภาพน้ำดีมาก ตำแหน่งที่ 2	คุณภาพน้ำดี ตำแหน่งที่ 3คุณภาพน้ำพอใช้ ตำแหน่งที่ 4คุณภาพน้ำต่ำ ตำแหน่งที่ 5	คุณภาพน้ำต่ำมาก   58 นาฬิกาสัตว์หน้าดิน(River Watch)
59 แผนภาพการเฝ้าระวังแม่น้ำ
2. การใช้ BMWP Score 	วิธีการใช้ BMWP   (Bio-Monitoring Working Party Score)  		เป็นการนำสัตว์หน้าดินชนิดต่าง ๆในแต่ละจุดเก็บตัวอย่าง ซึ่งจำแนกสัตว์เรียบร้อยแล้วมาให้คะแนนตาม BMWP Score ของสัตว์หน้าดินทั่วไป จัดตาม Biotic index of Thailand Freshwater invertebrates ของ Mustow 2002 ซึ่งมีค่าแตกต่างกันในสัตว์ที่อยู่ในน้ำที่มีคุณภาพต่างกัน 60
2. การใช้ BMWP Score โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. จำแนกสัตว์ถึงระดับวงศ์  แล้วให้คะแนน ตามตารางที่ 1 2. เอาคะแนนของสัตว์แต่ละวงศ์มารวมกัน 3. นับจำนวนวงศ์ของสัตว์ที่พบและสามารถให้คะแนนได้ 4. นำค่าที่ได้ในข้อ 3 มาหารคะแนนรวมของสัตว์ในข้อ 2 5. ค่าที่ได้ในข้อ 4 จัดทำคะแนนเฉลี่ย (Average Score Per Taxa:ASPT) 		คะแนนเฉลี่ย ASPTเป็นค่าที่บ่งบอกคุณภาพของน้ำตามกลุ่มสัตว์หน้าดินที่พบ ซึ่งสามารถนำคะแนนเฉลี่ย ASPTและมาตรฐานคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำผิวดินและคุณภาพน้ำทั่วไปมาเปรียบเทียบกันได้ตามตารางที่ 2 61 ตารางที่ 1 ค่า BMWP ตารางที่ 2 เปรียบเทียบ คะแนนเฉลี่ย

More Related Content

What's hot

หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศcrunui
 
นักสืบสายลม
นักสืบสายลมนักสืบสายลม
นักสืบสายลมTaweesak Poochai
 
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2Wichai Likitponrak
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJira Boonjira
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJiraporn
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดWan Ngamwongwan
 
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศgasine092
 
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศKittiya GenEnjoy
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์supornp13
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมสมพร นายน้อย
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยาThanyamon Chat.
 
ทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินJiraporn
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศพัน พัน
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศmaleela
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์Wichai Likitponrak
 

What's hot (19)

หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
นักสืบสายลม
นักสืบสายลมนักสืบสายลม
นักสืบสายลม
 
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
 
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
 
04 017 p51
04 017 p5104 017 p51
04 017 p51
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
วิทย์
วิทย์วิทย์
วิทย์
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
ทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดินทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดิน
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
 

Bioindicator Benthos