SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 25
Descargar para leer sin conexión
แนวโน้มในการให้บริการสารสนเทศบนเครือข่ายสังคม<br />Trend of Information Service on Social Networking.<br />มนัสวี จิตรหาญ , ศิวะนัท ศรีสุนทร, ชนัญญา โลวพิทักษ์กูล <br />บทคัดย่อ<br />Internet ได้เข้ามามีบทบาทสำคัญในชีวิตประจำวันไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของการติดต่อสื่อสารต่าง ก็ได้นำ Internet เข้ามาประยุกต์ใช้ และในปัจจุบัน Internet ได้พัฒนาให้ตอบสนองแก่ผู้ใช้จนได้เกิด Web 2.0 ซึ่งสามารถโต้ตอบผู้ใช้ จากพื้นฐานของ Web 2.0 จึงได้เกิดการรวมตัวทางสังคมอิเล็กทรอนิกส์ ที่เป็นสังคมเสมือนออนไลน์ หรือ Social Network จากแนวคิดนี้ ห้องสมุดได้นำมาปรับใช้และพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการแก่ผู้ใช้ โดยนำรูปแบบของ Social Network มาใช้ เรียกว่า Library 2.0 <br />บทความนี้ได้กล่าวถึงที่มาของการบริการสารสนเทศและการนำ Social network มาใช้ในการบริการสารสนเทศ ให้เป็นแนวทางแก่ผู้สนใจในการศึกษาการประยุกต์งานบริการสารสนเทศา <br />หัวเรื่อง : ห้องสมุด - - แนวโน้ม<br />คำสำคัญ : เครือข่ายสังคม , บริการสารสนเทศ<br />Keyword : Social Networking , Information Service<br />บทนำ<br />ในสังคมยุคสารสนเทศ ที่ข้อมูลและการสื่อสารมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ของมนุษย์ การเป็นผู้ที่ทันต่อข้อมูลข่าวสารถือว่าเป็นสิ่งสำคัญ จากภาวะทะลักทลายของข้อมูลสารสนเทศที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ลักษณะของทรัพยากรสารสนเทศที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้บริการสารสนเทศเข้ามามีบทบาท ในการจัดการและประมวลผลของข้อมูลโดยการนำเทคโนโลยีเข้าไปประยุกต์เข้ากับการศึกษา เพื่อช่วยอำนวยความสะดวกให้แก้ผู้ใช้ในการเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว โดยไมได้เน้นเพียงแค่เทคโนโลยีอย่างเดียวเท่านั้น แต่เน้นวิธีการให้บริการและการค้นหา เพื่อสารสนเทศที่ได้มานั้น เป็นสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพและมีประโยชน์<br />จากภาวะการณ์แข่งขันของสถาบันบริการสารสนเทศ รวมไปถึงพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปของผู้ใช้บริการ จึงได้มีแนวคิดในการนำบริการสารสนเทศไปไว้บนเว็บ เพื่อเพิ่มช่องทางและพื้นที่การเข้าถึงสารสนเทศ โดยใช้อินเทอร์เน็ตเป็นสื่อกลางในการเข้าถึง โดยใช้ข้อดีของอินเทอร์เน็ตในเรื่องของความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลได้อย่างเสรี ไม่จำกัดทางด้านเวลา ไม่จำกัดสถานที่ เป็นการเพิ่มศักยภาพในการเข้าถึงสารสนเทศอีกระดับหนึ่ง อีกทั้งยังช่วยลดช่องว่างทางการศึกษาอีกด้วย<br />ตัวอย่างบริการสารสนเทศ <br />บริการสารสนเทศนั้นได้ขึ้นอยู่กับนโยบายและให้บริการสารสนเทศของแต่ละหน่วยงานตามแต่ว่าที่นั้นต้องการจะให้บริการในด้านใด โดยบริการสารสนเทศนั้นจะอยู่ในพื้นฐานของการอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้ โดยยกตัวอย่างพื้นฐานบริการสารสนเทศ <br />สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น  ได้เปิดบริการสารสนเทศดังนี้<br />บริการยืม  - คืนทรัพยากรห้องสมุด<br />บริการตอบคำถาม / ช่วยการค้นคว้า<br />บริการวารสารและนิตยสาร<br />บริการโสตทัศนศึกษา<br />บริการยืมระหว่างห้องสมุด<br />บริการสำเนาบทความวารสาร<br />บริการเสนอแนะสิ่งพิมพ์<br />บริการหอจดหมายเหตุ<br />บริการสารสนเทศเลือกสรร<br />บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ    (สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น,2552)<br />ความหมายของ Social Networking<br />ปิยะพงษ์ ป้องภัย กล่าวถึงใน นิตยสาร Positioning ฉบับ เดือน มีนาคม บอกว่า Social Networks คือบริการผ่านเว็บไซต์ที่เป็นจุดโยงระหว่างบุคคลแต่ละคนที่มีเครือข่ายสังคมของตัวเองผ่านเน็ตเวิร์คอินเตอร์เน็ต รวมทั้งเชื่อมโยงบริการต่างๆ อย่าง เมล, เมสเซ็นเจอร์, เว็บบอร์ด บล็อก ฯลฯ เข้าด้วยกัน<br />เว็บไซต์สารานุกรมออนไลน์ Wikipedia (2553) ได้ให้นิยาม ของคำว่า เครือข่ายทางสังคม หรือ Social Network ไว้ว่า เป็นรูปแบบโครงสร้างทางสังคมที่ถูกสร้างขึ้นโดนบุคคล หรือ องค์กร โดยเรียกว่า โหนด ซึ่งจะผูกความสัมพันธ์ด้วยความสนใจบางสิ่งตั้งแต่หนึ่งอย่างด้วยกัน เช่น ความสัมพันธ์จากเพื่อน, เครือญาติ, ความสนใจร่วมกันในเรื่องต่างๆ, รวมไปถึงความเชื่อ เป็นต้น <br />เว็บไซต์สารานุกรมออนไลน์ Wikipedia (2553) ได้ให้ความหมายของ บริการเครือข่ายสังคม หรือ Social Networking คือ รูปแบบของเว็บไซต์ ในการสร้างเครือข่ายสังคม สำหรับผู้ใช้งานในอินเทอร์เน็ต เขียนและอธิบายความสนใจ และกิจการที่ได้ทำ และเชื่อมโยงกับความสนใจและกิจกรรมของผู้อื่น ในบริการเครือข่ายสังคมมักจะประกอบไปด้วย การแชท ส่งข้อความ ส่งอีเมล์ วิดีโอ เพลง อัปโหลดรูป บล็อก หลักการทำงานคือ คอมพิวเตอร์เก็บข้อมูลไว้ในรูปฐานข้อมูล sql ส่วน video หรือรูปภาพอาจเก็บเป็นไฟล์ก็ได้ <br />และในปัจจุบันหลายหน่วยงานได้สร้างเครือข่ายของตนขึ้นมาในหลายวัตถุประสงค์ซึ่งได้แก่การประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข่าวสารของทางองค์กรให้ผู้ใช้ภาพในองค์กรรวมทั้งนอกองค์กรได้เข้ารับทราบข่าวสาร และพูดคุยร่วมกันผ่านทางระบบ Virtual Communities ซึ่งรวมไปถึงในห้องสมุดก็ได้นำมาใช้ในการเผยแพร่ข้อมูล<br />ตัวอย่าง Social Networking<br />Library Technology Reports (2550) ได้กล่าวถึงเว็บไซต์ให้บริการ Social Network จากข้อมูล List of social networking websites ในสารานุกรมออนไลน์ Wikipedia พบว่าในปัจจุบันเว็บไซต์ที่ให้บริการ มากกว่า 100 เว็บไซต์ที่ให้บริการ แต่มีเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยมดังนี้ <br />Facebook <br />Hi5<br />Flickr<br />Slideshare<br />ความสำคัญของ Social Networking<br />บทความ Online Social Networking Dangers and Benefits โดย University of pacific ได้กล่าวถึงประโยชน์และความสำคัญของ Social Networking ว่า เป็นทางที่ดีที่จะสร้างเครือข่ายกับคนที่มีความสนใจเหมือนกัน และสามารถที่จะเชื่อมต่อความสัมพันธ์ได้พบเพื่อนเก่าแต่สมัยก่อนได้ง่ายๆ <br />ความสำคัญของ Social Network ด้านการตลาด<br />Jayant Row ได้เขียนบทความ Benefits of Social Networking for Business ได้กล่าวถึงความสำคัญของ Social Networking ในแง่ของธุรกิจว่า “สามารถขยายเครือข่ายที่เป็นการพูดคุย, สร้างมิตรภาพที่ดีในการขาย เพราะเป็นการเชื่อมโยงความสัมพันธ์, สามารถสร้างชื่อเสียงได้ง่ายๆ และเป็นการตลาดที่ใช้ต้นทุนต่ำมาก” <br />ความสำคัญด้านสังคม<br />ธัญยธร ชาติละออง (2553) ได้เขียนบทความเรื่อง “Social Media เตรียมรับ 3/4 ของผู้ใช้อินเตอร์เน็ตในสหรัฐฯ ภายในปี 2014” ว่า สถิติล่าสุดจาก eMarketer คาดการณ์ว่า มากถึง 3/4 ของผู้ใช้อินเตอร์เน็ตในสหรัฐฯ จะเข้ามาเป็นสมาชิกบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ภายในปี 2014 นั้นหมายความว่าเว็บไซต์ social network ต่างๆ อาจจะต้องรองรับผู้ใช้ในสหรัฐฯ ถึง 164.9 ล้านคน ซึ่งหมายถึงการเติบโตของการใช้ Social Networking ของคนทั่วโลก รวมไปถึงด้านการตลาดก็ได้ให้ความสำคัญ มีธุรกิจที่ประชาสัมพันธ์ธุรกิจบน Social Networking มากมาย<br />รูปที่ 1 : อัตราการเติบโตของผู้ใช้ Social Networking ในประเทศสหรัฐอเมริกา <br />การประยุกต์นำ Social Networking มาใช้ในการบริการสารสนเทศ<br />หลังจากได้ทราบถึงที่ของ Social Networking และการบริการสารสนเทศ พบว่าในปัจจุบัน ห้องสมุดหลายแห่งได้ทำ Social Networking มาใช้ในการบริการสารสนเทศดังนี้<br />libsuccess.org ได้กล่าวถึงการนำเว็บไซต์ Social Networking มาประยุกต์ใช้ในบริการห้องสมุดเพื่อเกิดความทันสมัยในสายตาของบุคคลทั่วไป โดยในบทความได้ยกตัวอย่างเว็บไซต์ Social Networking ที่ให้บริการสารสนเทศดังนี้<br />ห้องสมุดที่นำ MySpace มาใช้ ยกตัวอย่างเช่น<br />Arapahoe Library District: http://www.myspace.com/arapahoe<br />The Brooklyn College Library: http://profile.myspace.com/index.cfm?fuseaction=user.viewprofile&friendID=42712933<br />The Denver Public Library: http://myspace.com/denver_evolver<br />Lancaster Library (UK): http://www.myspace.com/getitloudinlibraries<br />The Steele Creek Library: http://myspace.com/steelecreeklibrary<br />The Stoneham Public Library: http://www.myspace.com/stonehamlibrary<br />Worthington Libraries: http://www.myspace.com/worthingteens<br />ห้องสมุดที่นำFacebookมาใช้ ยกตัวอย่างเช่น<br />Arapahoe Library District<br />DeKalb County Public Library<br />Hennepin County Library<br />The Houston Public Library<br />Livermore Public Library<br />Manchester Library and Information Service (UK)<br />National Library of Scotland<br />The Public Library of Charlotte and Mecklenburg County<br />Marathon County Public Library (MCPL)<br />UMASS Boston Healey Library<br />Worcester Polytechnic Institute Gordon Library<br />Worthington Libraries<br />ห้องสมุดที่นำ Flickr มาใช้ ยกตัวอย่างเช่น<br />DeKalb County Public Library<br />National Library of Scotland <br />ห้องสมุดที่ทำ Twitter มาใช้ ยกตัวอย่างใช้<br />#  Abilene Christian University, ACU Library (Texas) aculibrary<br /># Ada Library (Idaho) adalib<br /># Alaska State Library akstatelibrary<br /># Allegheny County Libraries (Pennsylvania) aclalibraries<br /># Al-Madinah International University Library (Malaysia) dlibmediu<br /># Anderson County Library (South Carolina) andersonsclib<br /># Ann Arbor District Library (Michigan) aadl<br /># Arapahoe Library District Teens (Colorado) ald_teens<br /># Arlington Heights Memorial Library (Illinois) ahml<br /># Azusa City Library azcl<br /># Barrington Area Library (Illinois) BALOver18<br /># Barrington Area Library's Teen Zone (Illinois) BALTeenZone<br /># Bibliotheek Vlissingen (Netherlands) Bibliotheek Vlissingen<br /># Boise Public Library (Idaho) BoisePubLib<br /># BibliOosterschelde (Netherlands) BibliOosterschelde<br /># Binghamton University Libraries (New York) Binghamton U Library<br /># Birmingham Public Library (Alabama) bpl<br /># Bracebridge Public Library (Ontario) BracebridgePL<br /># Bristol Public Library (Bristol, VA/TN) thebplibrary<br /># Brunel University Library (London, UK) Brunel Library<br /># Buffalo & Erie County Public Library (New York) buffalolibrary<br /># Canton Public Library (Michigan)CantonLibrary<br /># Capital Area District Library (Michigan) cadl<br /># Casa Grande Library (Arizona) cglibrary<br /># Charleston County Public Library (South Carolina) ChasLibrary<br /># Chattahoochee Valley Libraries (Georgia) chatlibraries<br /># Cita Dennis Hubbell Branch Library (Louisiana) hubbell<br /># Cleveland Public Library (Ohio) Cleveland_PL<br /># Coates Library, Trinity University (Texas) coateslibrary<br /># College of St. Benedict (Minnesota) csbsjulibraries<br /># Danbury (Connecticut) danburylibrary<br /># Darien (CT) darienlibrary<br /># Defiance Public Library (Ohio) defiancelibrary<br /># DeKalb County Public Library (Georgia) dekalblibrary<br /># Des Plaines Public Library (Illinois) DPPL<br /># Des Plaines Public Library Business/Career Resource Ctr DPPLBusiness<br /># Denver Public Library (Colorado) denverlibrary<br /># Dongguk University Central Library (Seoul, South Korea) dongguklib / 동국대학교 중앙도서관 (한국)<br /># Duke University Reference Dept. (North Carolina) askref<br /># East Baton Rouge Parish Library (Louisiana) EBR Library<br /># Edmonton Public Library (Alberta, Canada) EPLdotCA<br /># Evanston Public Library (Illinois) evanstonpl<br /># Evanston Public Library Teen Loft (Illinois) evanstonloft<br /># Free Library of Philadelphia FreeLibrary<br /># Fylde Libraries, Lancashire (UK) fyldelibraries<br /># Gardendale Martha Moore Public Library (Alabama) gardendalelib<br /># Grand Rapids Public Library (Michigan) grpl<br /># Grand Rapids Public Library Teen Dept (Michigan) grplteens<br /># Hamon Arts Library, Southern Methodist University (Texas) hamonarts<br /># Hanyang University Library (Seoul, South Korea) hyulibrary / 한양대학교 백남학술정보관 (한국)<br />เว็บไซต์ Twitterleague เป็นเว็บไซต์ที่จัดอันดับยอดผู้เข้าใช้ Twitter ห้องสมุด 10 อันดับแรกของห้องสมุดที่มีผู้ใช้มากที่สุดมีดังนี้ <br />รูปที่ 2:  ยอดผู้เข้าใช้ Twitter ห้องสมุด 10 อันดับแรกของห้องสมุดที่มีผู้ใช้มากที่สุด<br />วิเคราะห์ตัวอย่าง หน่วยงานสารสนเทศที่นำ Social Networks ไปใช้: Michigan State University Libraries: (http://www.lib.msu.edu/)<br />ประวัติ :<br />สารานุกรมออนไลน์อย่าง Wikipedia ได้อธิบายถึง Michigan State University Libraries (MSU Libraries) ไว้ว่า “เป็นห้องสมุดมหาหาลัยในรัฐ Michigan ทางตอนเหนือของประเทศสหรัฐอเมริกา ถือว่าเป็นห้องสมุดขนาดใหญ่ที่มีการเก็บไมโครฟอร์มถึง 6.7 ล้าน และมีทรัพยากรมากกว่า 4.9 ล้านชิ้น และมีทรัพยากรที่เกี่ยวกับแอฟริกาที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศซึ่งมีถึง 200,000 ชิ้น”  CITATION Wik53  1054 (Wikipedia, 2553)  <br />สำรวจเว็บ<br />เมื่อเข้าสู่หน้าหลักของเว็บไซต์ สิ่งแรกที่เจอคือ การนำ Social Network มาใช้ ได้แก่ <br />Twitter : http://twitter.com/msulibraries<br />Facebook : http://www.facebook.com/msu.libraries<br />Flicke : http://www.flickr.com/photos/msumainlibrary<br />Friendfeed : http://friendfeed.com/msulibraries<br />รูปที่ 3: เมนู Social networks ที่ทางห้องสมุดนำมาใช้<br />รูปที่ 4: เว็บ Social Networks ที่ห้องสมุดนำมาใช้<br />และมี RSS ให้ผู้ที่สนใจติดตามข่าวสารได้ทำการ Feed เข้าร่วมรับข้อมูลข่าวสารของทางห้องสมุดโดยจะมีการแบ่งหมวดหมู่ไว้ให้เราสามารถที่จะเลือกว่าจะติดตามข่าวสารจากส่วนไหน<br />รูปที่ 5: การเลือกรับข่าวสารของห้องสมุด<br />ในส่วนของ บริการสอบถามข้อมูลของทางห้องสมุด หรือ Ask A Librarian นั้น ก็ได้มีบริการที่สอบสนองต่อผู้ใช้ตามแนวคิด 24/7 ซึ่งหมายถึงการให้บริการตลอด 24 ชั่วโมงตลอดทั้ง 7 วัน MSU Lib ก็ได้มีสองบริการที่เข้าข่าย เว็บ 2.0 นั่นก็คือ Web Chat และ Instant Message (IM)<br />มี Blog ที่ไว้ใช้ในการเผยแพร่ข่าวสาร การพัฒนาของทางห้องสมุด ทั้งเรื่องของเครื่องมือใหม่ที่นำมาใช้ในห้องสมุด หรือเรื่องทั่วไปเกี่ยวกับแนวโน้มเทคโนโลยี<br />รูปที่ 6: blogที่ห้องสมุดใช้<br />สรุป<br /> จะเห็นได้ว่าห้องสมุดหลายๆแห่งได้เริ่มให้ความสนใจในการนำ Social Networking เข้ามามีบทบาทในการบริการแก่ผู้ใช้ โดยจะเป็นการนำเสนอ ข่าวสาร และประชาสัมพันธ์ข่าวสารของห้องสมุด ซึ่งถือว่าเป็นแนวโน้มที่ดีในการนำบริการห้องสมุดเข้ามาเผยแพร่ในผ่านทางเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต อันจะเป็นการช่วยส่งเสริมให้ผู้ใช้บริการได้รับทราบข้อมูล และได้รับข้อมูลจากห้องสมุดที่ได้ทำการติดตาม และเปลี่ยนภาพลักษณ์ของห้องสมุดที่ล่าสมัยให้ก้าวทันเทคโนโลยีซึ่งเป็นก้าวสำคัญในการก้าวเข้าสู่สารสนเทศอย่างครบถ้วนและรอบด้าน<br />บรรณานุกรม<br />ปิยะพงษ์ ป้องภัย. (2552)  ”Social Networking”  Positioning.  46(3) : 142 - 153 : มีนาคม 2552.<br /> BIBLIOGRAPHY   1033 Library Success. (2553). Social Networking Software. เรียกใช้เมื่อ 16 กันยายน 2553, จาก Library  Success: A                 Best Practices Wiki: http://www.libsuccess.org/index.php?title=Social_Networking_Software<br />Library Success. (2553). Twitter. เรียกใช้เมื่อ กรกฎาคม 21, 2553, จาก Library Success: A Best Practices Wiki: http://www.libsuccess.org/index.php?title=Twitter<br />Library Technology Reports. (2007). Social Networking Services. Library Technology Reports , 45-51.<br />Michigan State University Libraries. (2550). Michigan State University Libraries. เรียกใช้เมื่อ 21 กรกฎาคม 2553, จาก Michigan State University Libraries: http://www.lib.msu.edu/<br />Virtual community. (2553). เรียกใช้เมื่อ 8 กรกฎาคม 2553 จาก Wikipedia, the free encyclopedia: <br />http://en.wikipedia.org/wiki/Virtual_Communities<br />Row, J. (2552). Benefits of Social Networking for Business. เรียกใช้เมื่อ 17 กันยายน  2553, จาก edubook: http://www.edubook.com/benefits-of-social-networking-for-business/4098/<br />University of Pacific. (2553). Online Social Networking Dangers and Benefits . เรียกใช้เมื่อ 17 กันยายน 2010, จาก University of the Pacific: http://web.pacific.edu/x4989.xml<br />Wikipedia. (2553). List of social networking websites . เรียกใช้เมื่อ 17 กันยายน 2553, จาก Wikipedia: http://en.wikipedia.org/wiki/List_of_social_networking_websites<br />Wikipedia. (2553). Michigan State University Libraries. เรียกใช้เมื่อ 21 กรกฎาคม 2553, จาก Wikipedia, the free encyclopedia: http://en.wikipedia.org/wiki/Michigan_State_University_Libraries<br />Wikipedia. (2553). Social Network. เรียกใช้เมื่อ 17 กันยายน 2553, จาก Wikipedia: http://en.wikipedia.org/wiki/Social_network<br />Wikipedia. (2553). Social Network Service. เรียกใช้เมื่อ 17 กันยายน  2553, จาก Wikipedia: http://en.wikipedia.org/wiki/Social_network_service<br />ธันยธร ชาติละออง (2553). Social Media เตรียมรับ 3/4 ของผู้ใช้อินเตอร์เน็ตในสหรัฐฯ ภายในปี 2014. เรียกใช้เมื่อ กันยายน 17, 2553, จาก Digital Mode: http://mashingup.wordpress.com/2010/06/07/social-media-%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A-34-%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%B4/<br />
Social networking in library services
Social networking in library services
Social networking in library services
Social networking in library services
Social networking in library services
Social networking in library services
Social networking in library services
Social networking in library services
Social networking in library services
Social networking in library services
Social networking in library services
Social networking in library services
Social networking in library services
Social networking in library services
Social networking in library services
Social networking in library services
Social networking in library services
Social networking in library services
Social networking in library services
Social networking in library services
Social networking in library services
Social networking in library services
Social networking in library services
Social networking in library services

Más contenido relacionado

Destacado

Social networking in library services
Social networking in library servicesSocial networking in library services
Social networking in library servicesfreeclub
 
ค่ายพี่น้อง ครั้งที่ 4
ค่ายพี่น้อง ครั้งที่ 4ค่ายพี่น้อง ครั้งที่ 4
ค่ายพี่น้อง ครั้งที่ 4freeclub
 
Culture and communication
Culture and communicationCulture and communication
Culture and communicationBelaCELT
 
ชี้แจงค่าย
ชี้แจงค่ายชี้แจงค่าย
ชี้แจงค่ายfreeclub
 
สภาเศรษฐกิจ กีฬาแห่งชาติ
สภาเศรษฐกิจ กีฬาแห่งชาติสภาเศรษฐกิจ กีฬาแห่งชาติ
สภาเศรษฐกิจ กีฬาแห่งชาติGoldberryBeauty
 
แนวโน้มในการให้บริการสารสนเทศบนเครือข่ายสังคม
แนวโน้มในการให้บริการสารสนเทศบนเครือข่ายสังคมแนวโน้มในการให้บริการสารสนเทศบนเครือข่ายสังคม
แนวโน้มในการให้บริการสารสนเทศบนเครือข่ายสังคมfreeclub
 
แนวข้อสอบWb
แนวข้อสอบWbแนวข้อสอบWb
แนวข้อสอบWbfreeclub
 
Dulitha Dharmaratne - Portfolio
Dulitha Dharmaratne - PortfolioDulitha Dharmaratne - Portfolio
Dulitha Dharmaratne - Portfolioronrulz99
 

Destacado (9)

Social networking in library services
Social networking in library servicesSocial networking in library services
Social networking in library services
 
ค่ายพี่น้อง ครั้งที่ 4
ค่ายพี่น้อง ครั้งที่ 4ค่ายพี่น้อง ครั้งที่ 4
ค่ายพี่น้อง ครั้งที่ 4
 
Culture and communication
Culture and communicationCulture and communication
Culture and communication
 
ชี้แจงค่าย
ชี้แจงค่ายชี้แจงค่าย
ชี้แจงค่าย
 
สภาเศรษฐกิจ กีฬาแห่งชาติ
สภาเศรษฐกิจ กีฬาแห่งชาติสภาเศรษฐกิจ กีฬาแห่งชาติ
สภาเศรษฐกิจ กีฬาแห่งชาติ
 
แนวโน้มในการให้บริการสารสนเทศบนเครือข่ายสังคม
แนวโน้มในการให้บริการสารสนเทศบนเครือข่ายสังคมแนวโน้มในการให้บริการสารสนเทศบนเครือข่ายสังคม
แนวโน้มในการให้บริการสารสนเทศบนเครือข่ายสังคม
 
แนวข้อสอบWb
แนวข้อสอบWbแนวข้อสอบWb
แนวข้อสอบWb
 
Dulitha Dharmaratne - Portfolio
Dulitha Dharmaratne - PortfolioDulitha Dharmaratne - Portfolio
Dulitha Dharmaratne - Portfolio
 
2012 part1
2012 part12012 part1
2012 part1
 

Similar a Social networking in library services

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องTanyarad Chansawang
 
Social networking, direct media
Social networking, direct mediaSocial networking, direct media
Social networking, direct mediapawineeyooin
 
รายงานสังคมออนไลน์
รายงานสังคมออนไลน์รายงานสังคมออนไลน์
รายงานสังคมออนไลน์Fon Chutikan Kongchusri
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...Arrat Krupeach
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1Thanggwa Taemin
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องShe's Mammai
 

Similar a Social networking in library services (20)

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Internet-Social Media
Internet-Social MediaInternet-Social Media
Internet-Social Media
 
Social networking, direct media
Social networking, direct mediaSocial networking, direct media
Social networking, direct media
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
รายงานสังคมออนไลน์
รายงานสังคมออนไลน์รายงานสังคมออนไลน์
รายงานสังคมออนไลน์
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
3 32222
3 322223 32222
3 32222
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
Presentation สอบ 3 บท เรื่อง การรับรู้ข่าวออนไลน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาในจังหว...
 
2
22
2
 
บทที่ 2 สารสนเทศชุมชน pb
บทที่ 2 สารสนเทศชุมชน pbบทที่ 2 สารสนเทศชุมชน pb
บทที่ 2 สารสนเทศชุมชน pb
 
10
1010
10
 
3 3
3 33 3
3 3
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง102 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง1
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
บทที่ 22
บทที่ 22บทที่ 22
บทที่ 22
 
Social media
Social mediaSocial media
Social media
 

Social networking in library services

  • 1. แนวโน้มในการให้บริการสารสนเทศบนเครือข่ายสังคม<br />Trend of Information Service on Social Networking.<br />มนัสวี จิตรหาญ , ศิวะนัท ศรีสุนทร, ชนัญญา โลวพิทักษ์กูล <br />บทคัดย่อ<br />Internet ได้เข้ามามีบทบาทสำคัญในชีวิตประจำวันไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของการติดต่อสื่อสารต่าง ก็ได้นำ Internet เข้ามาประยุกต์ใช้ และในปัจจุบัน Internet ได้พัฒนาให้ตอบสนองแก่ผู้ใช้จนได้เกิด Web 2.0 ซึ่งสามารถโต้ตอบผู้ใช้ จากพื้นฐานของ Web 2.0 จึงได้เกิดการรวมตัวทางสังคมอิเล็กทรอนิกส์ ที่เป็นสังคมเสมือนออนไลน์ หรือ Social Network จากแนวคิดนี้ ห้องสมุดได้นำมาปรับใช้และพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการแก่ผู้ใช้ โดยนำรูปแบบของ Social Network มาใช้ เรียกว่า Library 2.0 <br />บทความนี้ได้กล่าวถึงที่มาของการบริการสารสนเทศและการนำ Social network มาใช้ในการบริการสารสนเทศ ให้เป็นแนวทางแก่ผู้สนใจในการศึกษาการประยุกต์งานบริการสารสนเทศา <br />หัวเรื่อง : ห้องสมุด - - แนวโน้ม<br />คำสำคัญ : เครือข่ายสังคม , บริการสารสนเทศ<br />Keyword : Social Networking , Information Service<br />บทนำ<br />ในสังคมยุคสารสนเทศ ที่ข้อมูลและการสื่อสารมีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ของมนุษย์ การเป็นผู้ที่ทันต่อข้อมูลข่าวสารถือว่าเป็นสิ่งสำคัญ จากภาวะทะลักทลายของข้อมูลสารสนเทศที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ลักษณะของทรัพยากรสารสนเทศที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้บริการสารสนเทศเข้ามามีบทบาท ในการจัดการและประมวลผลของข้อมูลโดยการนำเทคโนโลยีเข้าไปประยุกต์เข้ากับการศึกษา เพื่อช่วยอำนวยความสะดวกให้แก้ผู้ใช้ในการเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการได้อย่างรวดเร็ว โดยไมได้เน้นเพียงแค่เทคโนโลยีอย่างเดียวเท่านั้น แต่เน้นวิธีการให้บริการและการค้นหา เพื่อสารสนเทศที่ได้มานั้น เป็นสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพและมีประโยชน์<br />จากภาวะการณ์แข่งขันของสถาบันบริการสารสนเทศ รวมไปถึงพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปของผู้ใช้บริการ จึงได้มีแนวคิดในการนำบริการสารสนเทศไปไว้บนเว็บ เพื่อเพิ่มช่องทางและพื้นที่การเข้าถึงสารสนเทศ โดยใช้อินเทอร์เน็ตเป็นสื่อกลางในการเข้าถึง โดยใช้ข้อดีของอินเทอร์เน็ตในเรื่องของความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลได้อย่างเสรี ไม่จำกัดทางด้านเวลา ไม่จำกัดสถานที่ เป็นการเพิ่มศักยภาพในการเข้าถึงสารสนเทศอีกระดับหนึ่ง อีกทั้งยังช่วยลดช่องว่างทางการศึกษาอีกด้วย<br />ตัวอย่างบริการสารสนเทศ <br />บริการสารสนเทศนั้นได้ขึ้นอยู่กับนโยบายและให้บริการสารสนเทศของแต่ละหน่วยงานตามแต่ว่าที่นั้นต้องการจะให้บริการในด้านใด โดยบริการสารสนเทศนั้นจะอยู่ในพื้นฐานของการอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้ โดยยกตัวอย่างพื้นฐานบริการสารสนเทศ <br />สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้เปิดบริการสารสนเทศดังนี้<br />บริการยืม - คืนทรัพยากรห้องสมุด<br />บริการตอบคำถาม / ช่วยการค้นคว้า<br />บริการวารสารและนิตยสาร<br />บริการโสตทัศนศึกษา<br />บริการยืมระหว่างห้องสมุด<br />บริการสำเนาบทความวารสาร<br />บริการเสนอแนะสิ่งพิมพ์<br />บริการหอจดหมายเหตุ<br />บริการสารสนเทศเลือกสรร<br />บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ (สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น,2552)<br />ความหมายของ Social Networking<br />ปิยะพงษ์ ป้องภัย กล่าวถึงใน นิตยสาร Positioning ฉบับ เดือน มีนาคม บอกว่า Social Networks คือบริการผ่านเว็บไซต์ที่เป็นจุดโยงระหว่างบุคคลแต่ละคนที่มีเครือข่ายสังคมของตัวเองผ่านเน็ตเวิร์คอินเตอร์เน็ต รวมทั้งเชื่อมโยงบริการต่างๆ อย่าง เมล, เมสเซ็นเจอร์, เว็บบอร์ด บล็อก ฯลฯ เข้าด้วยกัน<br />เว็บไซต์สารานุกรมออนไลน์ Wikipedia (2553) ได้ให้นิยาม ของคำว่า เครือข่ายทางสังคม หรือ Social Network ไว้ว่า เป็นรูปแบบโครงสร้างทางสังคมที่ถูกสร้างขึ้นโดนบุคคล หรือ องค์กร โดยเรียกว่า โหนด ซึ่งจะผูกความสัมพันธ์ด้วยความสนใจบางสิ่งตั้งแต่หนึ่งอย่างด้วยกัน เช่น ความสัมพันธ์จากเพื่อน, เครือญาติ, ความสนใจร่วมกันในเรื่องต่างๆ, รวมไปถึงความเชื่อ เป็นต้น <br />เว็บไซต์สารานุกรมออนไลน์ Wikipedia (2553) ได้ให้ความหมายของ บริการเครือข่ายสังคม หรือ Social Networking คือ รูปแบบของเว็บไซต์ ในการสร้างเครือข่ายสังคม สำหรับผู้ใช้งานในอินเทอร์เน็ต เขียนและอธิบายความสนใจ และกิจการที่ได้ทำ และเชื่อมโยงกับความสนใจและกิจกรรมของผู้อื่น ในบริการเครือข่ายสังคมมักจะประกอบไปด้วย การแชท ส่งข้อความ ส่งอีเมล์ วิดีโอ เพลง อัปโหลดรูป บล็อก หลักการทำงานคือ คอมพิวเตอร์เก็บข้อมูลไว้ในรูปฐานข้อมูล sql ส่วน video หรือรูปภาพอาจเก็บเป็นไฟล์ก็ได้ <br />และในปัจจุบันหลายหน่วยงานได้สร้างเครือข่ายของตนขึ้นมาในหลายวัตถุประสงค์ซึ่งได้แก่การประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข่าวสารของทางองค์กรให้ผู้ใช้ภาพในองค์กรรวมทั้งนอกองค์กรได้เข้ารับทราบข่าวสาร และพูดคุยร่วมกันผ่านทางระบบ Virtual Communities ซึ่งรวมไปถึงในห้องสมุดก็ได้นำมาใช้ในการเผยแพร่ข้อมูล<br />ตัวอย่าง Social Networking<br />Library Technology Reports (2550) ได้กล่าวถึงเว็บไซต์ให้บริการ Social Network จากข้อมูล List of social networking websites ในสารานุกรมออนไลน์ Wikipedia พบว่าในปัจจุบันเว็บไซต์ที่ให้บริการ มากกว่า 100 เว็บไซต์ที่ให้บริการ แต่มีเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยมดังนี้ <br />Facebook <br />Hi5<br />Flickr<br />Slideshare<br />ความสำคัญของ Social Networking<br />บทความ Online Social Networking Dangers and Benefits โดย University of pacific ได้กล่าวถึงประโยชน์และความสำคัญของ Social Networking ว่า เป็นทางที่ดีที่จะสร้างเครือข่ายกับคนที่มีความสนใจเหมือนกัน และสามารถที่จะเชื่อมต่อความสัมพันธ์ได้พบเพื่อนเก่าแต่สมัยก่อนได้ง่ายๆ <br />ความสำคัญของ Social Network ด้านการตลาด<br />Jayant Row ได้เขียนบทความ Benefits of Social Networking for Business ได้กล่าวถึงความสำคัญของ Social Networking ในแง่ของธุรกิจว่า “สามารถขยายเครือข่ายที่เป็นการพูดคุย, สร้างมิตรภาพที่ดีในการขาย เพราะเป็นการเชื่อมโยงความสัมพันธ์, สามารถสร้างชื่อเสียงได้ง่ายๆ และเป็นการตลาดที่ใช้ต้นทุนต่ำมาก” <br />ความสำคัญด้านสังคม<br />ธัญยธร ชาติละออง (2553) ได้เขียนบทความเรื่อง “Social Media เตรียมรับ 3/4 ของผู้ใช้อินเตอร์เน็ตในสหรัฐฯ ภายในปี 2014” ว่า สถิติล่าสุดจาก eMarketer คาดการณ์ว่า มากถึง 3/4 ของผู้ใช้อินเตอร์เน็ตในสหรัฐฯ จะเข้ามาเป็นสมาชิกบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ภายในปี 2014 นั้นหมายความว่าเว็บไซต์ social network ต่างๆ อาจจะต้องรองรับผู้ใช้ในสหรัฐฯ ถึง 164.9 ล้านคน ซึ่งหมายถึงการเติบโตของการใช้ Social Networking ของคนทั่วโลก รวมไปถึงด้านการตลาดก็ได้ให้ความสำคัญ มีธุรกิจที่ประชาสัมพันธ์ธุรกิจบน Social Networking มากมาย<br />รูปที่ 1 : อัตราการเติบโตของผู้ใช้ Social Networking ในประเทศสหรัฐอเมริกา <br />การประยุกต์นำ Social Networking มาใช้ในการบริการสารสนเทศ<br />หลังจากได้ทราบถึงที่ของ Social Networking และการบริการสารสนเทศ พบว่าในปัจจุบัน ห้องสมุดหลายแห่งได้ทำ Social Networking มาใช้ในการบริการสารสนเทศดังนี้<br />libsuccess.org ได้กล่าวถึงการนำเว็บไซต์ Social Networking มาประยุกต์ใช้ในบริการห้องสมุดเพื่อเกิดความทันสมัยในสายตาของบุคคลทั่วไป โดยในบทความได้ยกตัวอย่างเว็บไซต์ Social Networking ที่ให้บริการสารสนเทศดังนี้<br />ห้องสมุดที่นำ MySpace มาใช้ ยกตัวอย่างเช่น<br />Arapahoe Library District: http://www.myspace.com/arapahoe<br />The Brooklyn College Library: http://profile.myspace.com/index.cfm?fuseaction=user.viewprofile&friendID=42712933<br />The Denver Public Library: http://myspace.com/denver_evolver<br />Lancaster Library (UK): http://www.myspace.com/getitloudinlibraries<br />The Steele Creek Library: http://myspace.com/steelecreeklibrary<br />The Stoneham Public Library: http://www.myspace.com/stonehamlibrary<br />Worthington Libraries: http://www.myspace.com/worthingteens<br />ห้องสมุดที่นำFacebookมาใช้ ยกตัวอย่างเช่น<br />Arapahoe Library District<br />DeKalb County Public Library<br />Hennepin County Library<br />The Houston Public Library<br />Livermore Public Library<br />Manchester Library and Information Service (UK)<br />National Library of Scotland<br />The Public Library of Charlotte and Mecklenburg County<br />Marathon County Public Library (MCPL)<br />UMASS Boston Healey Library<br />Worcester Polytechnic Institute Gordon Library<br />Worthington Libraries<br />ห้องสมุดที่นำ Flickr มาใช้ ยกตัวอย่างเช่น<br />DeKalb County Public Library<br />National Library of Scotland <br />ห้องสมุดที่ทำ Twitter มาใช้ ยกตัวอย่างใช้<br /># Abilene Christian University, ACU Library (Texas) aculibrary<br /># Ada Library (Idaho) adalib<br /># Alaska State Library akstatelibrary<br /># Allegheny County Libraries (Pennsylvania) aclalibraries<br /># Al-Madinah International University Library (Malaysia) dlibmediu<br /># Anderson County Library (South Carolina) andersonsclib<br /># Ann Arbor District Library (Michigan) aadl<br /># Arapahoe Library District Teens (Colorado) ald_teens<br /># Arlington Heights Memorial Library (Illinois) ahml<br /># Azusa City Library azcl<br /># Barrington Area Library (Illinois) BALOver18<br /># Barrington Area Library's Teen Zone (Illinois) BALTeenZone<br /># Bibliotheek Vlissingen (Netherlands) Bibliotheek Vlissingen<br /># Boise Public Library (Idaho) BoisePubLib<br /># BibliOosterschelde (Netherlands) BibliOosterschelde<br /># Binghamton University Libraries (New York) Binghamton U Library<br /># Birmingham Public Library (Alabama) bpl<br /># Bracebridge Public Library (Ontario) BracebridgePL<br /># Bristol Public Library (Bristol, VA/TN) thebplibrary<br /># Brunel University Library (London, UK) Brunel Library<br /># Buffalo & Erie County Public Library (New York) buffalolibrary<br /># Canton Public Library (Michigan)CantonLibrary<br /># Capital Area District Library (Michigan) cadl<br /># Casa Grande Library (Arizona) cglibrary<br /># Charleston County Public Library (South Carolina) ChasLibrary<br /># Chattahoochee Valley Libraries (Georgia) chatlibraries<br /># Cita Dennis Hubbell Branch Library (Louisiana) hubbell<br /># Cleveland Public Library (Ohio) Cleveland_PL<br /># Coates Library, Trinity University (Texas) coateslibrary<br /># College of St. Benedict (Minnesota) csbsjulibraries<br /># Danbury (Connecticut) danburylibrary<br /># Darien (CT) darienlibrary<br /># Defiance Public Library (Ohio) defiancelibrary<br /># DeKalb County Public Library (Georgia) dekalblibrary<br /># Des Plaines Public Library (Illinois) DPPL<br /># Des Plaines Public Library Business/Career Resource Ctr DPPLBusiness<br /># Denver Public Library (Colorado) denverlibrary<br /># Dongguk University Central Library (Seoul, South Korea) dongguklib / 동국대학교 중앙도서관 (한국)<br /># Duke University Reference Dept. (North Carolina) askref<br /># East Baton Rouge Parish Library (Louisiana) EBR Library<br /># Edmonton Public Library (Alberta, Canada) EPLdotCA<br /># Evanston Public Library (Illinois) evanstonpl<br /># Evanston Public Library Teen Loft (Illinois) evanstonloft<br /># Free Library of Philadelphia FreeLibrary<br /># Fylde Libraries, Lancashire (UK) fyldelibraries<br /># Gardendale Martha Moore Public Library (Alabama) gardendalelib<br /># Grand Rapids Public Library (Michigan) grpl<br /># Grand Rapids Public Library Teen Dept (Michigan) grplteens<br /># Hamon Arts Library, Southern Methodist University (Texas) hamonarts<br /># Hanyang University Library (Seoul, South Korea) hyulibrary / 한양대학교 백남학술정보관 (한국)<br />เว็บไซต์ Twitterleague เป็นเว็บไซต์ที่จัดอันดับยอดผู้เข้าใช้ Twitter ห้องสมุด 10 อันดับแรกของห้องสมุดที่มีผู้ใช้มากที่สุดมีดังนี้ <br />รูปที่ 2: ยอดผู้เข้าใช้ Twitter ห้องสมุด 10 อันดับแรกของห้องสมุดที่มีผู้ใช้มากที่สุด<br />วิเคราะห์ตัวอย่าง หน่วยงานสารสนเทศที่นำ Social Networks ไปใช้: Michigan State University Libraries: (http://www.lib.msu.edu/)<br />ประวัติ :<br />สารานุกรมออนไลน์อย่าง Wikipedia ได้อธิบายถึง Michigan State University Libraries (MSU Libraries) ไว้ว่า “เป็นห้องสมุดมหาหาลัยในรัฐ Michigan ทางตอนเหนือของประเทศสหรัฐอเมริกา ถือว่าเป็นห้องสมุดขนาดใหญ่ที่มีการเก็บไมโครฟอร์มถึง 6.7 ล้าน และมีทรัพยากรมากกว่า 4.9 ล้านชิ้น และมีทรัพยากรที่เกี่ยวกับแอฟริกาที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในประเทศซึ่งมีถึง 200,000 ชิ้น” CITATION Wik53 1054 (Wikipedia, 2553) <br />สำรวจเว็บ<br />เมื่อเข้าสู่หน้าหลักของเว็บไซต์ สิ่งแรกที่เจอคือ การนำ Social Network มาใช้ ได้แก่ <br />Twitter : http://twitter.com/msulibraries<br />Facebook : http://www.facebook.com/msu.libraries<br />Flicke : http://www.flickr.com/photos/msumainlibrary<br />Friendfeed : http://friendfeed.com/msulibraries<br />รูปที่ 3: เมนู Social networks ที่ทางห้องสมุดนำมาใช้<br />รูปที่ 4: เว็บ Social Networks ที่ห้องสมุดนำมาใช้<br />และมี RSS ให้ผู้ที่สนใจติดตามข่าวสารได้ทำการ Feed เข้าร่วมรับข้อมูลข่าวสารของทางห้องสมุดโดยจะมีการแบ่งหมวดหมู่ไว้ให้เราสามารถที่จะเลือกว่าจะติดตามข่าวสารจากส่วนไหน<br />รูปที่ 5: การเลือกรับข่าวสารของห้องสมุด<br />ในส่วนของ บริการสอบถามข้อมูลของทางห้องสมุด หรือ Ask A Librarian นั้น ก็ได้มีบริการที่สอบสนองต่อผู้ใช้ตามแนวคิด 24/7 ซึ่งหมายถึงการให้บริการตลอด 24 ชั่วโมงตลอดทั้ง 7 วัน MSU Lib ก็ได้มีสองบริการที่เข้าข่าย เว็บ 2.0 นั่นก็คือ Web Chat และ Instant Message (IM)<br />มี Blog ที่ไว้ใช้ในการเผยแพร่ข่าวสาร การพัฒนาของทางห้องสมุด ทั้งเรื่องของเครื่องมือใหม่ที่นำมาใช้ในห้องสมุด หรือเรื่องทั่วไปเกี่ยวกับแนวโน้มเทคโนโลยี<br />รูปที่ 6: blogที่ห้องสมุดใช้<br />สรุป<br /> จะเห็นได้ว่าห้องสมุดหลายๆแห่งได้เริ่มให้ความสนใจในการนำ Social Networking เข้ามามีบทบาทในการบริการแก่ผู้ใช้ โดยจะเป็นการนำเสนอ ข่าวสาร และประชาสัมพันธ์ข่าวสารของห้องสมุด ซึ่งถือว่าเป็นแนวโน้มที่ดีในการนำบริการห้องสมุดเข้ามาเผยแพร่ในผ่านทางเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต อันจะเป็นการช่วยส่งเสริมให้ผู้ใช้บริการได้รับทราบข้อมูล และได้รับข้อมูลจากห้องสมุดที่ได้ทำการติดตาม และเปลี่ยนภาพลักษณ์ของห้องสมุดที่ล่าสมัยให้ก้าวทันเทคโนโลยีซึ่งเป็นก้าวสำคัญในการก้าวเข้าสู่สารสนเทศอย่างครบถ้วนและรอบด้าน<br />บรรณานุกรม<br />ปิยะพงษ์ ป้องภัย. (2552)  ”Social Networking”  Positioning.  46(3) : 142 - 153 : มีนาคม 2552.<br /> BIBLIOGRAPHY 1033 Library Success. (2553). Social Networking Software. เรียกใช้เมื่อ 16 กันยายน 2553, จาก Library Success: A Best Practices Wiki: http://www.libsuccess.org/index.php?title=Social_Networking_Software<br />Library Success. (2553). Twitter. เรียกใช้เมื่อ กรกฎาคม 21, 2553, จาก Library Success: A Best Practices Wiki: http://www.libsuccess.org/index.php?title=Twitter<br />Library Technology Reports. (2007). Social Networking Services. Library Technology Reports , 45-51.<br />Michigan State University Libraries. (2550). Michigan State University Libraries. เรียกใช้เมื่อ 21 กรกฎาคม 2553, จาก Michigan State University Libraries: http://www.lib.msu.edu/<br />Virtual community. (2553). เรียกใช้เมื่อ 8 กรกฎาคม 2553 จาก Wikipedia, the free encyclopedia: <br />http://en.wikipedia.org/wiki/Virtual_Communities<br />Row, J. (2552). Benefits of Social Networking for Business. เรียกใช้เมื่อ 17 กันยายน 2553, จาก edubook: http://www.edubook.com/benefits-of-social-networking-for-business/4098/<br />University of Pacific. (2553). Online Social Networking Dangers and Benefits . เรียกใช้เมื่อ 17 กันยายน 2010, จาก University of the Pacific: http://web.pacific.edu/x4989.xml<br />Wikipedia. (2553). List of social networking websites . เรียกใช้เมื่อ 17 กันยายน 2553, จาก Wikipedia: http://en.wikipedia.org/wiki/List_of_social_networking_websites<br />Wikipedia. (2553). Michigan State University Libraries. เรียกใช้เมื่อ 21 กรกฎาคม 2553, จาก Wikipedia, the free encyclopedia: http://en.wikipedia.org/wiki/Michigan_State_University_Libraries<br />Wikipedia. (2553). Social Network. เรียกใช้เมื่อ 17 กันยายน 2553, จาก Wikipedia: http://en.wikipedia.org/wiki/Social_network<br />Wikipedia. (2553). Social Network Service. เรียกใช้เมื่อ 17 กันยายน 2553, จาก Wikipedia: http://en.wikipedia.org/wiki/Social_network_service<br />ธันยธร ชาติละออง (2553). Social Media เตรียมรับ 3/4 ของผู้ใช้อินเตอร์เน็ตในสหรัฐฯ ภายในปี 2014. เรียกใช้เมื่อ กันยายน 17, 2553, จาก Digital Mode: http://mashingup.wordpress.com/2010/06/07/social-media-%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A1%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A-34-%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%B4/<br />