SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 30
เรื่อง  สารและสสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเลยอนุกูลวิทยา นางสาวสุทิสา  เทพบล อำเภอเมือง  จังหวัดเลย
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1 .  สามารถอธิบายความหมายธาตุและสารประกอบได้ 2 .  สามารถจำแนกประเภทสารบริสุทธิ์ 3 .  สามารถเปรียบเทียบสมบัติของโลหะ อโลหะ และกึ่งอโลหะ 4 .  สามารถอธิบายความหมายธาตุและสารประกอบ
สสารและสาร   สิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัวเราไม่ว่าจะเป็นเสื้อผ้า อาหาร  ของใช้ในชีวิตประจำวัน เครื่องอำนวยความสะดวก  สิ่งก่อสร้างต่างๆ รวมทั้งต้นไม้ ดิน น้ำ อากาศ  นักวิทยาศาสตร์จัดสิ่งเหล่านี้เป็นสสาร
สสาร  คือ สิ่งที่มีมวล ต้องการที่อยู่ และสามารถสัมผัสได้  หรืออาจหมายถึงสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรา  มีตัวตน  ต้องการที่อยู่ สัมผัสได้ อาจมองเห็นหรือไม่เห็นก็ได้  เช่น อากาศ เป็นต้น  นักวิทยาศาสตร์เรียกสสารที่รู้จักแล้วว่า  สาร   สาร  คือสสารที่ศึกษาค้นคว้าจนทราบสมบัติและองค์ประกอบที่แน่นอนซึ่งก็คือเนี้อของสสารนั่นเอง
ตัวอย่างของสสาร
ตัวอย่างของสารที่ใช้ในบ้าน   ผงชูรส  เป็นชื่อกลางที่ใช้เรียก  โมโนโซเดียมกลูตาเมต   ( MonoSodium Glutamate )  วัตถุเจือปนอาหารประเภท  วัตถุปรุงแต่งรสอาหาร โมโนโซเดียมกลูตาเมตเป็นเกลือ ของกรดกลูตามิค ซึ่งเป็นกรดอะมิโนชนิดหนึ่งที่เป็น องค์ประกอบสำคัญของโปรตีน
โซเดียมคลอไรด์   (Sodium chloride,  สูตรเคมี :  Na Cl )  มีชื่อ ที่เรียกทั่วไปดังนี้  เกลือแกง  หรือ  เกลือโต๊ะ  หรือ  ฮาไลต์  เป็น สารประกอบเคมี  โซเดียมคลอไรด์เป็น  เกลือ  ที่บทบาทต่อ ความเค็มของ  มหาสมุทร  และ  ของเหลวภายนอกเซลล์ ของ สิ่งมีชีวิต หลายเซลล์ เป็นส่วนประกอบหลักใน  เกลือที่กินได้   มันถูกใช้อย่างกว้างขวางในการเป็น เครื่องปรุงรส  และใช้ใน การถนอมอาหาร ผลึกเกลือ
สมบัติของสาร   สมบัติของสาร  หมายถึง ลักษณะเฉพาะตัวของสารที่สามารถ บ่งบอกว่าสารชนิดนั้นคืออะไร สารแต่ละชนิดจะมีสมบัติของ สารที่สังเกตได้ คือ สี กลิ่น รส สถานะ เนื้อสาร
สมบัติของสารในสถานะต่างๆ สถานะของแข็ง    มีรูปร่างแน่นอน  อนุภาคชิดกันแน่นที่สุด  สถานะของเหลว    มีรูปร่างไม่แน่นอน ตามภาชนะที่มันอยู่   อนุภาคห่างกัน  เช่น  ในแก้วน้ำ  กระป๋อง สถานะแก๊ส        มีรูปร่างไม่แน่นอน  อนุภาคอยู่ห่างกันมากที่สุด  สมบัติของสารจำแนกได้เป็น  2  ประเภท คือ         1 .        สมบัติทางกายภาพ         2 .        สมบัติทางเคมี
สมบัติทางกายภาพของสาร   สารแต่ละชนิดจะมีสมบัติเฉพาะตัว  เรียกว่า  สมบัติทางกายภาพของสาร  ซึ่งสามารถสังเกตได้ง่ายจากภายนอก   เช่น เป็นของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ สี จุดหลอมเหลว จุดเดือด  การนำไฟฟ้า การนำความร้อน ความแข็ง ความเหนียว หรือเปราะ  สมบัติทางเคมี   หมายถึง   สมบัติที่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาเคมี  เช่น ปฏิกิริยาระหว่างสาร   ก .   กับสาร   ข .   หรือปฏิกิริยา ระหว่างกรดกับเบส   เป็นต้น
การเปลี่ยนสถานะของสาร   1. การเปลี่ยนสถานะของสารจากของแข็งเป็นของเหลว   เนื่องจากได้รับความร้อนทำให้อนุภาคมีพลังงานจลน์  ( ได้จากการเคลื่อนที่ )  เกิดการเคลื่อนไหวเร็วขึ้นมีการถ่ายเท พลังงานจลน์ให้กันและกันเมื่อถึงจุดจุดหนึ่งโมเลกุลก็จะ เคลื่อนที่ห่างออกจากกัน แรงยึดเหนี่ยวน้อยลง เรียกว่าการละลาย  การหลอมเหลว หรือ การหลอมละลาย
2.  การเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นก๊าซ   เกิดจากอนุภาคได้รับความร้อนพลังงานจลน์เพิ่มขึ้นอนุภาคห่างกัน  จนไม่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างกัน เรียกว่า การระเหย  3.  การเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นก๊าซ   เกิดจากอนุภาคได้รับความร้อนสูง  จนแรงยึดเหนี่ยวหลุดจากกัน  เรียกว่า การระเหิด
สถานะของสาร   สารแบ่งออกเป็น     3   สถานะ    คือ  1. ของแข็ง  (  solid  )    หมายถึงสารที่มีลักษณะรูปร่างไม่เปลี่ยนแปลง  และมีรูปร่างเฉพาะตัว    เนื่องจากอนุภาคในของแข็งจัดเรียงชิดติดกัน และอัดแน่นอย่างมีระเบียบไม่มีการเคลื่อนที่หรือเคลื่อนที่ได้น้อยมาก ไม่สามารถทะลุผ่านได้และไม่สามารถบีบหรือทำให้เล็กลงได้    เช่น ไม้    หิน    เหล็ก    ทองคำ    ดิน    ทราย    พลาสติก    กระดาษ    เป็นต้น
 
2. ของเหลว  (  liquid  )    หมายถึง สารที่มีลักษณะไหลได้     มีรูปร่างตามภาชนะที่บรรจุ เนื่องจากอนุภาคในของเหลว อยู่ห่างกันมากกว่าของแข็ง    อนุภาคไม่ยึดติดกันจึงสามารถ เคลื่อนที่ได้ในระยะใกล้ และมีแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน  มีปริมาตรคงที่    สามารถทะลุผ่านได้    เช่น    น้ำ    แอลกอฮอล์  น้ำมันพืช    น้ำมันเบนซิน    เป็นต้น
 
3.  แก๊ส     (  gas  )   หมายถึงสารที่ลักษณะฟุ้งกระจายเต็มภาชนะที่บรรจุ     เนื่องจากอนุภาคของแก๊สอยู่ห่างกันมาก    มีพลังงานในการเคลื่อนที่ อย่างรวดเร็วไปได้ในทุกทิศทางตลอดเวลา    จึงมีแรงดึงดูดระหว่าง อนุภาคน้อยมาก สามารถทะลุผ่านได้ง่าย    และบีบอัดให้เล็กลงได้ง่าย เช่น    อากาศ    แก๊สออกซิเจน    แก๊สหุงต้ม    เป็นต้น
 
การจำแนกประเภทของสาร   สารเนื้อเดียว   สารเนื้อผสม
1.     สารบริสุทธิ์     หมายถึง    สารเนื้อเดียวที่มีองค์ประกอบ เพียงชนิดเดียว    มีสมบัติเหมือนกัน    แบ่งเป็น  1.1     ธาตุ     ธาตุ   คือ   สารบริสุทธิ์ที่ประกอบด้วยธาตุหรือสารชนิดเดียว ไม่สามารถแยกหรือสลายออกเป็นสารอื่นได้   เช่น เงิน   ทอง     คาร์บอน   ออกซิเจน   เป็นต้น   ในปัจจุบันมีการค้นคว้าพบธาตุ ประมาณ   107   ธาตุ   เป็นธาตุที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ   92   ธาตุ ที่เหลือเป็นธาตุที่สังเคราะห์ขึ้นในห้องทดลอง   ธาตุจำแนกออกเป็น   3   ชนิด   ดังนี้
1)  โลหะ   มีสถานะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิปกติ   ยกเว้นปรอท ที่เป็นโลหะแต่อยู่ในสถานะของเหลว   โลหะจะมีผิวเป็นมันวาว มีจุดเดือดสูง   และนำไฟฟ้าได้ดี   โลหะบางชนิดเป็นสารแม่เหล็ก   ตัวอย่างของธาตุโลหะ   เช่น เหล็ก   ทองแดง   สังกะสี   แมกนีเซียม เป็นต้น
 
2)   อโลหะ   เป็นได้ทั้ง  3   สถานะ   คือ   ของแข็ง   ของเหลว   และก๊าซ เช่น   กำมะถันเป็นของแข็งสีเหลือง   ธาตุโบรมีนเป็นของเหลวสีแดง และคลอรีนเป็นก๊าซสีเขียวอ่อน   อโลหะส่วนใหญ่มีสมบัติตรงข้าม กับโลหะ   เช่น   เปราะ   ไม่นำไฟฟ้า   มีจุดเดือดต่ำ
3)   ธาตุกึ่งโลหะ   เป็นธาตุที่มีสมบัติกึ่งโลหะและอโลหะ   เช่น โบรอนเป็นของแข็งสีดำ   เปราะ   ไม่นำไฟฟ้า   มีจุดเดือดสูงถึง 4 ,000  องศาเซลเซียล   ธาตุซิลิคอน   เป็นของแข็งสีมันวาว   เปราะ นำไฟฟ้าได้เล็กน้อย   มีจุดเดือด    3,265   องศาเซลเซียล
แสงเป็นสารหรือไม่ ใช่ ไม่ใช่
น้ำสลัดจัดเป็นสารละลายหรือไม่ เป็น ไม่เป็น
การเปลี่ยนแปลงในข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงทางเคมี Timer วางห่อการบูรไว้ในรถ เคี่ยวน้ำเชื่อมให้แห้ง บดหินปูนให้เป็นผง เหล็กเป็นสนิม
สารกลุ่มใดเป็นสารละลาย Timer ทองเหลือง ทองแดง อากาศ นาก น้ำเกลือ ฟิวส์ แก๊สหุงต้ม น้ำเชื่อม น้ำแข็ง ทองคำขาว ทองเหลือง นาก
สถานะของแป้งคืออะไร <Keyboard will appear here based on shape and location of this rectangle.>
แสงเป็นสารหรือไม่ สถานะของแป้งคืออะไร ข้าวผัออเมริกันจัดเป็นสารกลุ่มใด ควันไฟจัดเป็นสารประเภทใด สารละลายน้ำเกลือมีสารใดเป็นตัวถูกละลาย น้ำสลัดจัดเป็นสารละลายหรือไม่ สสารคืออะไร <Question here> จงตอบคำถามต่อไปนี้ <Keyboard will appear here based on shape and location of this rectangle.>

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
ครูแป้ง ครูตาว
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
kruannchem
 

La actualidad más candente (20)

Punmanee study 3
Punmanee study 3Punmanee study 3
Punmanee study 3
 
แข็ง เหลว แก๊ส
แข็ง เหลว แก๊สแข็ง เหลว แก๊ส
แข็ง เหลว แก๊ส
 
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
สมบัติของธาตุและสารประกอบ2
 
Punmanee study 5
Punmanee study 5Punmanee study 5
Punmanee study 5
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
 
020 gas liquid-solid-3
020 gas liquid-solid-3020 gas liquid-solid-3
020 gas liquid-solid-3
 
Punmanee study 10
Punmanee study 10Punmanee study 10
Punmanee study 10
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
Punmanee study 9
Punmanee study 9Punmanee study 9
Punmanee study 9
 
Chap 4 periodic table
Chap 4 periodic tableChap 4 periodic table
Chap 4 periodic table
 
Punmanee study 8
Punmanee study 8Punmanee study 8
Punmanee study 8
 
Study 1
Study 1Study 1
Study 1
 
คุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอมคุณสมบัติบางประการของอะตอม
คุณสมบัติบางประการของอะตอม
 
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
 
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊สบทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
 
Punmanee study 2
Punmanee study 2Punmanee study 2
Punmanee study 2
 

Similar a สารและสมบัติของสาร

ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9
Sumarin Sanguanwong
 
ใบความรู้ สสาร
ใบความรู้ สสารใบความรู้ สสาร
ใบความรู้ สสาร
Sumalee Panpeng
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
Kittivut Tantivuttiki
 
ชีวะวิทยา.pdf
ชีวะวิทยา.pdfชีวะวิทยา.pdf
ชีวะวิทยา.pdf
ssuser09955f
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
weerabong
 

Similar a สารและสมบัติของสาร (20)

ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 ความรู้พื้นฐานทางเคมี ความรู้พื้นฐานทางเคมี
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9
 
นำเสนอสาร
นำเสนอสารนำเสนอสาร
นำเสนอสาร
 
นำเสนอสาร
นำเสนอสารนำเสนอสาร
นำเสนอสาร
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
 
ใบความรู้ สสาร
ใบความรู้ สสารใบความรู้ สสาร
ใบความรู้ สสาร
 
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบเคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
 
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
เรื่องสารเคมีภายในเซลล์ cytochemistry ตอนที่ 1
 
Lesson10
Lesson10Lesson10
Lesson10
 
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งแวดล้อม
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
ชีวะวิทยา.pdf
ชีวะวิทยา.pdfชีวะวิทยา.pdf
ชีวะวิทยา.pdf
 
ชีวะวิทยา.pdf
ชีวะวิทยา.pdfชีวะวิทยา.pdf
ชีวะวิทยา.pdf
 
เกิดปฎิกิริยาเคมีเทอม 2
เกิดปฎิกิริยาเคมีเทอม 2เกิดปฎิกิริยาเคมีเทอม 2
เกิดปฎิกิริยาเคมีเทอม 2
 
สารประกอบ
สารประกอบสารประกอบ
สารประกอบ
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
 
Palangngan
PalangnganPalangngan
Palangngan
 

สารและสมบัติของสาร

  • 1. เรื่อง สารและสสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเลยอนุกูลวิทยา นางสาวสุทิสา เทพบล อำเภอเมือง จังหวัดเลย
  • 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1 . สามารถอธิบายความหมายธาตุและสารประกอบได้ 2 . สามารถจำแนกประเภทสารบริสุทธิ์ 3 . สามารถเปรียบเทียบสมบัติของโลหะ อโลหะ และกึ่งอโลหะ 4 . สามารถอธิบายความหมายธาตุและสารประกอบ
  • 3. สสารและสาร สิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัวเราไม่ว่าจะเป็นเสื้อผ้า อาหาร ของใช้ในชีวิตประจำวัน เครื่องอำนวยความสะดวก สิ่งก่อสร้างต่างๆ รวมทั้งต้นไม้ ดิน น้ำ อากาศ นักวิทยาศาสตร์จัดสิ่งเหล่านี้เป็นสสาร
  • 4. สสาร คือ สิ่งที่มีมวล ต้องการที่อยู่ และสามารถสัมผัสได้ หรืออาจหมายถึงสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรา มีตัวตน ต้องการที่อยู่ สัมผัสได้ อาจมองเห็นหรือไม่เห็นก็ได้ เช่น อากาศ เป็นต้น นักวิทยาศาสตร์เรียกสสารที่รู้จักแล้วว่า สาร สาร คือสสารที่ศึกษาค้นคว้าจนทราบสมบัติและองค์ประกอบที่แน่นอนซึ่งก็คือเนี้อของสสารนั่นเอง
  • 6. ตัวอย่างของสารที่ใช้ในบ้าน ผงชูรส เป็นชื่อกลางที่ใช้เรียก โมโนโซเดียมกลูตาเมต ( MonoSodium Glutamate ) วัตถุเจือปนอาหารประเภท วัตถุปรุงแต่งรสอาหาร โมโนโซเดียมกลูตาเมตเป็นเกลือ ของกรดกลูตามิค ซึ่งเป็นกรดอะมิโนชนิดหนึ่งที่เป็น องค์ประกอบสำคัญของโปรตีน
  • 7. โซเดียมคลอไรด์ (Sodium chloride, สูตรเคมี : Na Cl ) มีชื่อ ที่เรียกทั่วไปดังนี้ เกลือแกง หรือ เกลือโต๊ะ หรือ ฮาไลต์ เป็น สารประกอบเคมี โซเดียมคลอไรด์เป็น เกลือ ที่บทบาทต่อ ความเค็มของ มหาสมุทร และ ของเหลวภายนอกเซลล์ ของ สิ่งมีชีวิต หลายเซลล์ เป็นส่วนประกอบหลักใน เกลือที่กินได้ มันถูกใช้อย่างกว้างขวางในการเป็น เครื่องปรุงรส และใช้ใน การถนอมอาหาร ผลึกเกลือ
  • 8. สมบัติของสาร สมบัติของสาร หมายถึง ลักษณะเฉพาะตัวของสารที่สามารถ บ่งบอกว่าสารชนิดนั้นคืออะไร สารแต่ละชนิดจะมีสมบัติของ สารที่สังเกตได้ คือ สี กลิ่น รส สถานะ เนื้อสาร
  • 9. สมบัติของสารในสถานะต่างๆ สถานะของแข็ง    มีรูปร่างแน่นอน  อนุภาคชิดกันแน่นที่สุด สถานะของเหลว   มีรูปร่างไม่แน่นอน ตามภาชนะที่มันอยู่ อนุภาคห่างกัน  เช่น  ในแก้วน้ำ  กระป๋อง สถานะแก๊ส       มีรูปร่างไม่แน่นอน  อนุภาคอยู่ห่างกันมากที่สุด สมบัติของสารจำแนกได้เป็น 2 ประเภท คือ        1 .       สมบัติทางกายภาพ        2 .       สมบัติทางเคมี
  • 10. สมบัติทางกายภาพของสาร สารแต่ละชนิดจะมีสมบัติเฉพาะตัว  เรียกว่า สมบัติทางกายภาพของสาร ซึ่งสามารถสังเกตได้ง่ายจากภายนอก  เช่น เป็นของแข็ง ของเหลว หรือก๊าซ สี จุดหลอมเหลว จุดเดือด การนำไฟฟ้า การนำความร้อน ความแข็ง ความเหนียว หรือเปราะ สมบัติทางเคมี หมายถึง สมบัติที่เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาเคมี เช่น ปฏิกิริยาระหว่างสาร   ก .   กับสาร   ข .   หรือปฏิกิริยา ระหว่างกรดกับเบส   เป็นต้น
  • 11. การเปลี่ยนสถานะของสาร 1. การเปลี่ยนสถานะของสารจากของแข็งเป็นของเหลว เนื่องจากได้รับความร้อนทำให้อนุภาคมีพลังงานจลน์ ( ได้จากการเคลื่อนที่ ) เกิดการเคลื่อนไหวเร็วขึ้นมีการถ่ายเท พลังงานจลน์ให้กันและกันเมื่อถึงจุดจุดหนึ่งโมเลกุลก็จะ เคลื่อนที่ห่างออกจากกัน แรงยึดเหนี่ยวน้อยลง เรียกว่าการละลาย การหลอมเหลว หรือ การหลอมละลาย
  • 12. 2. การเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นก๊าซ เกิดจากอนุภาคได้รับความร้อนพลังงานจลน์เพิ่มขึ้นอนุภาคห่างกัน จนไม่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างกัน เรียกว่า การระเหย 3. การเปลี่ยนสถานะจากของแข็งเป็นก๊าซ เกิดจากอนุภาคได้รับความร้อนสูง  จนแรงยึดเหนี่ยวหลุดจากกัน เรียกว่า การระเหิด
  • 13. สถานะของสาร สารแบ่งออกเป็น   3  สถานะ   คือ 1. ของแข็ง ( solid )   หมายถึงสารที่มีลักษณะรูปร่างไม่เปลี่ยนแปลง และมีรูปร่างเฉพาะตัว   เนื่องจากอนุภาคในของแข็งจัดเรียงชิดติดกัน และอัดแน่นอย่างมีระเบียบไม่มีการเคลื่อนที่หรือเคลื่อนที่ได้น้อยมาก ไม่สามารถทะลุผ่านได้และไม่สามารถบีบหรือทำให้เล็กลงได้   เช่น ไม้   หิน   เหล็ก   ทองคำ   ดิน   ทราย   พลาสติก   กระดาษ   เป็นต้น
  • 14.  
  • 15. 2. ของเหลว ( liquid )   หมายถึง สารที่มีลักษณะไหลได้   มีรูปร่างตามภาชนะที่บรรจุ เนื่องจากอนุภาคในของเหลว อยู่ห่างกันมากกว่าของแข็ง   อนุภาคไม่ยึดติดกันจึงสามารถ เคลื่อนที่ได้ในระยะใกล้ และมีแรงดึงดูดซึ่งกันและกัน มีปริมาตรคงที่   สามารถทะลุผ่านได้   เช่น   น้ำ   แอลกอฮอล์ น้ำมันพืช   น้ำมันเบนซิน   เป็นต้น
  • 16.  
  • 17. 3. แก๊ส   ( gas ) หมายถึงสารที่ลักษณะฟุ้งกระจายเต็มภาชนะที่บรรจุ   เนื่องจากอนุภาคของแก๊สอยู่ห่างกันมาก   มีพลังงานในการเคลื่อนที่ อย่างรวดเร็วไปได้ในทุกทิศทางตลอดเวลา   จึงมีแรงดึงดูดระหว่าง อนุภาคน้อยมาก สามารถทะลุผ่านได้ง่าย   และบีบอัดให้เล็กลงได้ง่าย เช่น   อากาศ   แก๊สออกซิเจน   แก๊สหุงต้ม   เป็นต้น
  • 18.  
  • 19. การจำแนกประเภทของสาร สารเนื้อเดียว สารเนื้อผสม
  • 20. 1.   สารบริสุทธิ์   หมายถึง   สารเนื้อเดียวที่มีองค์ประกอบ เพียงชนิดเดียว   มีสมบัติเหมือนกัน   แบ่งเป็น 1.1   ธาตุ   ธาตุ คือ สารบริสุทธิ์ที่ประกอบด้วยธาตุหรือสารชนิดเดียว ไม่สามารถแยกหรือสลายออกเป็นสารอื่นได้ เช่น เงิน ทอง   คาร์บอน ออกซิเจน เป็นต้น ในปัจจุบันมีการค้นคว้าพบธาตุ ประมาณ 107 ธาตุ เป็นธาตุที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ 92 ธาตุ ที่เหลือเป็นธาตุที่สังเคราะห์ขึ้นในห้องทดลอง ธาตุจำแนกออกเป็น 3 ชนิด ดังนี้
  • 21. 1) โลหะ มีสถานะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิปกติ ยกเว้นปรอท ที่เป็นโลหะแต่อยู่ในสถานะของเหลว โลหะจะมีผิวเป็นมันวาว มีจุดเดือดสูง และนำไฟฟ้าได้ดี โลหะบางชนิดเป็นสารแม่เหล็ก ตัวอย่างของธาตุโลหะ เช่น เหล็ก ทองแดง สังกะสี แมกนีเซียม เป็นต้น
  • 22.  
  • 23. 2) อโลหะ เป็นได้ทั้ง 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ เช่น กำมะถันเป็นของแข็งสีเหลือง ธาตุโบรมีนเป็นของเหลวสีแดง และคลอรีนเป็นก๊าซสีเขียวอ่อน อโลหะส่วนใหญ่มีสมบัติตรงข้าม กับโลหะ เช่น เปราะ ไม่นำไฟฟ้า มีจุดเดือดต่ำ
  • 24. 3) ธาตุกึ่งโลหะ เป็นธาตุที่มีสมบัติกึ่งโลหะและอโลหะ เช่น โบรอนเป็นของแข็งสีดำ เปราะ ไม่นำไฟฟ้า มีจุดเดือดสูงถึง 4 ,000 องศาเซลเซียล ธาตุซิลิคอน เป็นของแข็งสีมันวาว เปราะ นำไฟฟ้าได้เล็กน้อย มีจุดเดือด   3,265  องศาเซลเซียล
  • 27. การเปลี่ยนแปลงในข้อใดเป็นการเปลี่ยนแปลงทางเคมี Timer วางห่อการบูรไว้ในรถ เคี่ยวน้ำเชื่อมให้แห้ง บดหินปูนให้เป็นผง เหล็กเป็นสนิม
  • 28. สารกลุ่มใดเป็นสารละลาย Timer ทองเหลือง ทองแดง อากาศ นาก น้ำเกลือ ฟิวส์ แก๊สหุงต้ม น้ำเชื่อม น้ำแข็ง ทองคำขาว ทองเหลือง นาก
  • 29. สถานะของแป้งคืออะไร <Keyboard will appear here based on shape and location of this rectangle.>
  • 30. แสงเป็นสารหรือไม่ สถานะของแป้งคืออะไร ข้าวผัออเมริกันจัดเป็นสารกลุ่มใด ควันไฟจัดเป็นสารประเภทใด สารละลายน้ำเกลือมีสารใดเป็นตัวถูกละลาย น้ำสลัดจัดเป็นสารละลายหรือไม่ สสารคืออะไร <Question here> จงตอบคำถามต่อไปนี้ <Keyboard will appear here based on shape and location of this rectangle.>