SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 12
ตรีโกณมิติ ตรีโกณ ความหมายตามพจนานุกรมแปลว่า สามเหลี่ยม  ตรีโกณมิติ คือ คณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ว่าด้วยการคำนวณ  มุมของสามเหลี่ยม
ความเป็นมา เมื่อ  640-546  ปี ก่อนคริสต์ศักราช ทาเรส  (thales) คำนวณหาความสูง ของพีรามิด ในประเทศอียิปต์โดยอาศัยเงา วิธีหนึ่งที่ทาเรสใช้คือ คำนวณความสูงของพีรามิดจากความยาวของเงาของพีรามิด ในขณะที่เงาของเขามีความยาวเท่ากับความสูงของเขาเอง อีกวิธีหนึ่งที่ทาเรสใช้คำนวณ ความสูงของพีรามิดคือ การเปรียบเทียบความยาวของเงาของพีรามิดกับความยาวของเงาของไม้ ( ไม้ที่ทราบความยาว ถ้าสมัยนี้ก็คือไม้เมตรนั่นเอง )  โดยอาศัยรูปสามเหลี่ยมคล้าย ซึ่งก็คือ อัตราส่วนตรีโกณมิติที่เรียกว่า  แทนเจนต์   (tangent)  นั่นเอง
อัตราส่วนตรีโกณมิติ    อัตราส่วนตรีโกณมิติ  ( Trigonometric Ratio)  หมายถึง อัตราส่วนของด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก การเรียนในเรื่องนี้ผู้เรียนจำเป็นต้อง ใช้ความรู้เดิมเรื่องสามเหลี่ยมคล้ายเพื่อเป็นพื้นฐานในการทำความเข้าใจ การเรียนวิชาตรีโกณมิติให้ได้ดีนั้นต้องจำนิยามของตรีโกณมิติให้ได้ ระดับมัธยมต้นใช้นิยามสามเหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งอัตราส่วนตรีโกณมิติ ก็คือ อัตราส่วนของความยาวด้านสองด้านของสามเหลี่ยมมุมฉากซึ่งจะมีชื่อเรียกดังนี้
จากรูป  ABC  เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก  โดยมี  AĈB  = 90  องศา  ถ้าเราพิจารณาที่มุม  A 1.  ด้าน  AB  เรียกว่า  ด้านตรงข้ามมุมฉาก 2.  ด้าน  BC  เรียกว่า  ด้านตรงข้ามมุม  A 3.  ด้าน  AC  เรียกว่า  ด้านประชิดมุม  A A B C a b c
"Sine A"  ไซน์ของมุม  A  หรือเขียนย่อว่า  sin A  หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านตรงข้ามมุม  A  ต่อความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก  "Cos A"  โคไซน์ของมุม  A  หรือเขียนย่อว่า  cos A  หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านประชิดมุม  A  ต่อความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก  "Tangent A"  แทนเจนต์ของมุม  A  หรือเขียนย่อว่า  tan A  หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านตรงข้ามมุม  A  ต่อความยาวด้านประชิดมุม  A  ส่วนฟังก์ชัน  cosec, sec  และ  cot  นั้น ก็ใช้นิยามเข้าช่วย ซึ่งเป็นส่วนกลับของ  sin, cos  และ  tan  ตามลำดับ จึงต้องจำฟังก์ชัน  sin, cos, tan  ก็จะได้ในส่วนของ  cosec, sec  และ  cot  ขึ้นมาเองโดยอัตโนมัติ  "Cotangent A"  โคแทนเจนต์ของมุม  A  หรือเขียนย่อว่า  cot A  หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านด้านประชิดมุม  A  ต่อความยาวด้านตรงข้ามมุม  A  "Secant A"  ซีแคนต์ของมุม  A  หรือเขียนย่อว่า  sec A  หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก ต่อ ความยาวด้านประชิดมุม  A  "Cosecant A"  โคซีแคนต์ของมุม  A  หรือเขียนย่อว่า  cosec A  หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก ต่อ ความยาวด้านตรงข้ามมุม  A
ข้อสังเกต 1.  0 < sin A < 1  และ  cosec A > 1 2.  0 < cos A < 1  และ  sec A > 1 3.  sin ( A + B )     sin A + sin B 4.  =   5.  (sin A)(sin A)  =  (sin A) 2   =  sin 2 A     sin A 2 6.  sin A  =  cos ( 90 – A ) 7.  cos A  =  sin ( 90 – A ) 8.  tan A  =  cot ( 90 – A ) 9.  sec A  =  cosec ( 90 – A )
ค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติ  อัตราส่วนตรีโกณมิติ
เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ นิยาม เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ  คือ  การเท่ากันของอัตราส่วนตรีโกณมิติที่ต่างกันและเป็นจริงสำหรับทุกๆค่าขององศา  เมื่อกำหนด  A  เป็นมุมแหลม 1.  sin A  x  cosec A = 1  2.  cos A  x  sec A = 1 3.  tan A  x  cot A = 1 4.  cos A  x  tan A = sin A 5.  cot A  x  sin A = cos A 6.  sin 2 A  +  cos 2 A = 1 7.  sec 2 A  -  tan 2 A = 1 8.  cosec 2 A  -  cot 2 A = 1
  ฟังก์ชันของมุมรอบจุด ข้อสังเกต     1.  ฟังก์ชัน       90o    +    A        ,          270o    +    A                  จะได้    co-function    2.  ฟังก์ชัน     180o    +    A        ,     n  .  360o    +    A    ,   -A       จะได้ฟังก์ชันเดิม
- sin A cos A - tan A - cot A sec A - csc A sin A cos A tan A cot A sec A csc A - sin A cos A - tan A - cot A sec A - csc A -cos A sin A - cot A - tan A csc A - sec A - cos A - sin A cot A tan A - csc A - sec A - sin A - cos A tan A cot A - sec A - csc A sin A - cos A - tan A - cot A - sec A csc A cos A - sin A - cot A - tan A - csc A sec A cos A sin A cot A tan A csc A sec A sin cos tan cot sec csc - A  360 o  + A  360 o  - A  270 o  + A  270 o  - A  180 o  + A  180 o  - A  90 o  + A  90 o  - A
หน่วยองศา 1  องศา       60' ( ลิปดา )  1  ลิปดา      60&quot; ( ฟิลิปดา ) หน่วยเรเดียน   มุม
เครื่องหมายของฟังก์ชันตรีโกณมิติตามควอแดรนต์

Más contenido relacionado

Destacado

قانـــون دانــــه
قانـــون دانــــهقانـــون دانــــه
قانـــون دانــــهhhaghdadi
 
Beautiful earth
Beautiful earthBeautiful earth
Beautiful earthhhaghdadi
 
ETCA -- Beta Class Kick-Off Presentation March 28, 2010
ETCA -- Beta Class Kick-Off Presentation March 28, 2010ETCA -- Beta Class Kick-Off Presentation March 28, 2010
ETCA -- Beta Class Kick-Off Presentation March 28, 2010Lindsey Wilson College
 
My Experiences From Wt 2008
My Experiences From Wt 2008My Experiences From Wt 2008
My Experiences From Wt 2008Rorsanee
 
Creación proyecto Retratos con Emoción
Creación proyecto Retratos con EmociónCreación proyecto Retratos con Emoción
Creación proyecto Retratos con EmociónCharo Patricio
 
Model akibat logikal dreikurs
Model akibat logikal dreikursModel akibat logikal dreikurs
Model akibat logikal dreikursWan Noryazmeen
 

Destacado (7)

قانـــون دانــــه
قانـــون دانــــهقانـــون دانــــه
قانـــون دانــــه
 
Beautiful earth
Beautiful earthBeautiful earth
Beautiful earth
 
ETCA -- Beta Class Kick-Off Presentation March 28, 2010
ETCA -- Beta Class Kick-Off Presentation March 28, 2010ETCA -- Beta Class Kick-Off Presentation March 28, 2010
ETCA -- Beta Class Kick-Off Presentation March 28, 2010
 
My Experiences From Wt 2008
My Experiences From Wt 2008My Experiences From Wt 2008
My Experiences From Wt 2008
 
Creación proyecto Retratos con Emoción
Creación proyecto Retratos con EmociónCreación proyecto Retratos con Emoción
Creación proyecto Retratos con Emoción
 
Model akibat logikal dreikurs
Model akibat logikal dreikursModel akibat logikal dreikurs
Model akibat logikal dreikurs
 
Top Ten Brands
Top Ten BrandsTop Ten Brands
Top Ten Brands
 

Similar a ตรีโกณ

ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณguestf22633
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณguestf22633
 
ตรีโกณ.
ตรีโกณ.ตรีโกณ.
ตรีโกณ.guestf22633
 
สรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติสรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติThphmo
 
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWANฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWANNan's Tippawan
 
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธบทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธChattichai
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติchanphen
 

Similar a ตรีโกณ (13)

3
33
3
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณ
 
02
0202
02
 
03
0303
03
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณ
 
ตรีโกณ.
ตรีโกณ.ตรีโกณ.
ตรีโกณ.
 
สรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติสรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติ
 
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWANฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
ฟังกชันตรีโกณมิติ BY TIPPAWAN
 
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธบทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
 
Chap5 1
Chap5 1Chap5 1
Chap5 1
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
Trigonometry1
Trigonometry1Trigonometry1
Trigonometry1
 

ตรีโกณ

  • 1. ตรีโกณมิติ ตรีโกณ ความหมายตามพจนานุกรมแปลว่า สามเหลี่ยม ตรีโกณมิติ คือ คณิตศาสตร์แขนงหนึ่งที่ว่าด้วยการคำนวณ มุมของสามเหลี่ยม
  • 2. ความเป็นมา เมื่อ 640-546 ปี ก่อนคริสต์ศักราช ทาเรส (thales) คำนวณหาความสูง ของพีรามิด ในประเทศอียิปต์โดยอาศัยเงา วิธีหนึ่งที่ทาเรสใช้คือ คำนวณความสูงของพีรามิดจากความยาวของเงาของพีรามิด ในขณะที่เงาของเขามีความยาวเท่ากับความสูงของเขาเอง อีกวิธีหนึ่งที่ทาเรสใช้คำนวณ ความสูงของพีรามิดคือ การเปรียบเทียบความยาวของเงาของพีรามิดกับความยาวของเงาของไม้ ( ไม้ที่ทราบความยาว ถ้าสมัยนี้ก็คือไม้เมตรนั่นเอง ) โดยอาศัยรูปสามเหลี่ยมคล้าย ซึ่งก็คือ อัตราส่วนตรีโกณมิติที่เรียกว่า แทนเจนต์ (tangent) นั่นเอง
  • 3. อัตราส่วนตรีโกณมิติ   อัตราส่วนตรีโกณมิติ ( Trigonometric Ratio) หมายถึง อัตราส่วนของด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก การเรียนในเรื่องนี้ผู้เรียนจำเป็นต้อง ใช้ความรู้เดิมเรื่องสามเหลี่ยมคล้ายเพื่อเป็นพื้นฐานในการทำความเข้าใจ การเรียนวิชาตรีโกณมิติให้ได้ดีนั้นต้องจำนิยามของตรีโกณมิติให้ได้ ระดับมัธยมต้นใช้นิยามสามเหลี่ยมมุมฉาก ซึ่งอัตราส่วนตรีโกณมิติ ก็คือ อัตราส่วนของความยาวด้านสองด้านของสามเหลี่ยมมุมฉากซึ่งจะมีชื่อเรียกดังนี้
  • 4. จากรูป ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยมี AĈB = 90 องศา ถ้าเราพิจารณาที่มุม A 1. ด้าน AB เรียกว่า ด้านตรงข้ามมุมฉาก 2. ด้าน BC เรียกว่า ด้านตรงข้ามมุม A 3. ด้าน AC เรียกว่า ด้านประชิดมุม A A B C a b c
  • 5. &quot;Sine A&quot; ไซน์ของมุม A หรือเขียนย่อว่า sin A หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านตรงข้ามมุม A ต่อความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก &quot;Cos A&quot; โคไซน์ของมุม A หรือเขียนย่อว่า cos A หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านประชิดมุม A ต่อความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก &quot;Tangent A&quot; แทนเจนต์ของมุม A หรือเขียนย่อว่า tan A หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านตรงข้ามมุม A ต่อความยาวด้านประชิดมุม A ส่วนฟังก์ชัน cosec, sec และ cot นั้น ก็ใช้นิยามเข้าช่วย ซึ่งเป็นส่วนกลับของ sin, cos และ tan ตามลำดับ จึงต้องจำฟังก์ชัน sin, cos, tan ก็จะได้ในส่วนของ cosec, sec และ cot ขึ้นมาเองโดยอัตโนมัติ &quot;Cotangent A&quot; โคแทนเจนต์ของมุม A หรือเขียนย่อว่า cot A หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านด้านประชิดมุม A ต่อความยาวด้านตรงข้ามมุม A &quot;Secant A&quot; ซีแคนต์ของมุม A หรือเขียนย่อว่า sec A หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก ต่อ ความยาวด้านประชิดมุม A &quot;Cosecant A&quot; โคซีแคนต์ของมุม A หรือเขียนย่อว่า cosec A หาได้จากอัตราส่วนของความยาวด้านตรงข้ามมุมฉาก ต่อ ความยาวด้านตรงข้ามมุม A
  • 6. ข้อสังเกต 1. 0 < sin A < 1 และ cosec A > 1 2. 0 < cos A < 1 และ sec A > 1 3. sin ( A + B )  sin A + sin B 4. =  5. (sin A)(sin A) = (sin A) 2 = sin 2 A  sin A 2 6. sin A = cos ( 90 – A ) 7. cos A = sin ( 90 – A ) 8. tan A = cot ( 90 – A ) 9. sec A = cosec ( 90 – A )
  • 8. เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ นิยาม เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ คือ การเท่ากันของอัตราส่วนตรีโกณมิติที่ต่างกันและเป็นจริงสำหรับทุกๆค่าขององศา เมื่อกำหนด A เป็นมุมแหลม 1. sin A x cosec A = 1 2. cos A x sec A = 1 3. tan A x cot A = 1 4. cos A x tan A = sin A 5. cot A x sin A = cos A 6. sin 2 A + cos 2 A = 1 7. sec 2 A - tan 2 A = 1 8. cosec 2 A - cot 2 A = 1
  • 9.   ฟังก์ชันของมุมรอบจุด ข้อสังเกต   1. ฟังก์ชัน       90o    +   A        ,         270o    +   A                  จะได้    co-function   2. ฟังก์ชัน     180o    +   A        ,    n  .  360o    +   A    ,   -A       จะได้ฟังก์ชันเดิม
  • 10. - sin A cos A - tan A - cot A sec A - csc A sin A cos A tan A cot A sec A csc A - sin A cos A - tan A - cot A sec A - csc A -cos A sin A - cot A - tan A csc A - sec A - cos A - sin A cot A tan A - csc A - sec A - sin A - cos A tan A cot A - sec A - csc A sin A - cos A - tan A - cot A - sec A csc A cos A - sin A - cot A - tan A - csc A sec A cos A sin A cot A tan A csc A sec A sin cos tan cot sec csc - A 360 o + A 360 o - A 270 o + A 270 o - A 180 o + A 180 o - A 90 o + A 90 o - A
  • 11. หน่วยองศา 1 องศา       60' ( ลิปดา ) 1 ลิปดา      60&quot; ( ฟิลิปดา ) หน่วยเรเดียน มุม