SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
บทที่ 1
                           บทนำำ


ควำมเป็นมำและควำมสำำคัญของกำรวิจัย

          การจัดการเรียนการสอนตามเจตนารมณ์ของการ ปฏิรูปการ
ศึกษา ได้มงเน้น การพัฒนาผู้เรียนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้ง
              ุ่
ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและ
วัฒนธรรมในการดำารงชีวิต สามารถอยู่รวมกับผู้อื่นได้อย่างมีความ
                                       ่
สุข (พ.ร.บ.การศึกษาพ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2545 )
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศนโยบายเร่งรัดการปฏิรปการศึกษา
                                                    ู
โดยยึดคุณธรรมนำาความรู้ สร้างความตระหนัก สำานึกในคุณค่า
ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความสมานฉันท์ สันติวิธี วิถี
ประชาธิปไตย พัฒนาคนโดยใช้คุณธรรมเป็นพื้นฐานของ
กระบวน การเรียนรู้ ทีเชื่อมโยงความร่วมมือของสถาบันครอบครัว
                       ่
ชุมชน ศาสนาและสถาบัน การศึกษา โดยมีจุดเน้นเพื่อพัฒนา
เยาวชนให้เป็นคนดี มีความรู้และอยู่ดีมีสุข จึงได้กำาหนด
คุณธรรมพื้นฐาน ๘ ประการที่ควรเร่งปลูกฝัง ซึ่งได้แก่ ขยัน
ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวินย สุภาพ สะอาด สามัคคี และมีนำ้าใจ (
                         ั
กระทรวงศึกษาธิการ 2551)
          สำานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้ตระหนักเห็น
ความสำาคัญของนโยบายเร่งรัดการปฏิรูปการศึกษา ดังกล่าว จึงมี
ปรัชญาทางการศึกษาที่เน้นค่านิยมและเน้นคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ของผู้ที่สำาเร็จการศึกษา 13 ด้าน ได้แก่ การมี
มนุษยสัมพันธ์ ความมีวินัยความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์สุจริต
ความเชื่อมั่นในตนเอง การประหยัด ความสนใจใฝ่รู้ การละเว้นสิ่ง
เสพติดและการพนัน ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที ความ
คิดริเริ่มสร้างสรรค์ การพึ่งพาตนเอง และความอดกลั้น โดย
กำาหนดให้มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในสถาน
ศึกษาขึ้น การจัดการเรียนการสอน จึงต้องพัฒนาคุณธรรมควบคู่
ไปกับการเรียนรู้ในเนื้อหาแต่ละรายวิชาด้วย จึงมีการ บูรณาการ
2




คุณธรรมในการสอน และมีคะแนนคุณธรรมในการประเมินผลการ
เรียนของทุกรายวิชาด้วย
         วิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ ระดับ ประกาศนียบัตร
วิชาชีพชั้นสูง เป็นวิชาสามัญที่กำาหนดให้เรียนตามหลักสูตร โดยมี
จุดประสงค์ให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ภาษา
ไทยทีถูกต้อง เพื่อให้สามารถนำาภาษาไทยไปใช้เป็นเครื่องมือ
       ่
สื่อสารในงานอาชีพ และการ
2



ดำาเนินชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้เห็นคุณค่า ความงดงาม
ของภาษาไทยและวรรณกรรมไทย และมีมาตรฐานรายวิชาให้
นักศึกษาเลือกใช้ภาษาไทยอย่างมีศิลปะ ถูกต้องตามหลักเกณฑ์
กาลเทศะบุคคลและโอกาส วิเคราะห์และประเมินค่าสารที่ได้จาก
การฟัง การดู การอ่าน และนำาเสนอข้อมูลอย่างมีระบบ ใช้
กระบวนการฟัง การดู การอ่าน และนำาเสนอข้อมูลอย่างมีระบบ ใช้
กระบวนการเขียน การพูดรูปแบบต่างๆ สื่อสารในงานอาชีพได้
อย่างมีประสิทธิภาพ และมีคุณธรรม แยกแยะเนื้อหาสาระ คติธรรม
คุณธรรมค่านิยม ที่ได้จากการศึกวรรณกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
และนำามาประยุกต์ใช้ ในงานอาชีพและการดำาเนินชีวิตได้ การ
จัดการเรียนการสอนรายวิชาดังกล่าวให้สัมฤทธิ์ผล นอกจากมีจุด
มุ่งหมายให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑ์แล้ว สิ่ง
สำาคัญก็คือต้องพัฒนาคุณธรรมให้กับผู้เรียน เพื่อให้สอดคล้องกับ
นโยบายคุณธรรมนำาความรู้ ของสำานักงานคณะกรรมการการ
อาชีวศึกษาผู้สอนจึงต้องคิดหากิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อให้
บรรลุตาม นโยบายและเป้าหมายดังกล่าว
             การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาดังกล่าวจึงต้องยึด
หลักการเรียนการสอน โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ เน้นการพัฒนา
ความรู้และทักษะ เน้นการพัฒนากระบวนการคิด เน้นการเรียนรู้
ด้วยตนเอง และการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม วิธีการสอน
แบบร่วมมือกันเรียนรู้ หรือวิธีสอนแบบร่วมแรงร่วมใจ
( Cooperative Learning Model of Training ) เป็น
กิจกรรมการเรียนการสอนรูปแบบหนึ่งที่สมควรนำามาใช้ในการ
พัฒนาคุณธรรม ของนักศึกษา
             กาญจนา วัฒายุ ( 2544: 12 )ได้กล่าวถึงแนวคิดและ
วิธีการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้        ไว้ ว่า วิธีสอนแบบร่วมมือ
กันเรียนรู้ ( Cooperative Learning ) เป็นยุทธวิธีในการจัด
กิจกรรม
การเรียนรู้โดยจัดให้สมาชิกได้เรียนรูร่วมกัน เป็นกลุ่มเล็กๆ โดย
                                     ้
ทัวไปจะจัดกลุ่มละ 4 คน แต่ละกลุ่มประกอบด้วยสมาชิกที่มีความ
   ่
สามารถสูง ปานกลาง และตำ่า คละกัน ด้วยสัดส่วน 1:2:1 สมาชิก
จะต้องมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ และมีการช่วยเหลือกันในการ
พัฒนาการเรียนรู้ เพื่อให้กลุ่มประสบความสำาเร็จ การที่ผู้สอน
จัดการเรียนรู้โดยให้ผู้เรียนพึ่งพาอาศัยกันอย่างสมำ่าเสมอ จะทำาให้
3



ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียน และบรรลุผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนสูง สามารถพัฒนาทักษะการทำางานร่วมกับผู้อื่นได้
...
               วิธีสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ มีหลักสำาคัญ 3 ประการ
คือ
         1. รางวัลของกลุ่ม ( Group reward) หมายถึงสมาชิกใน
             กลุ่มทุกคนมีโอกาสเท่าเทียมกัน
ในการประสบความสำาเร็จและได้รับรางวัลในการประกาศ
เกียรติคุณ
        2. ความรับผิดชอบต่อผลงานของสมาชิกแต่ละคน
            ( Individual accountability )
หมายถึงผลงานของสมาชิกแต่ละคนเมือรวมกันเป็นผลงานของ
กลุ่มจะมีผลสำาเร็จตามเกณฑ์ที่กำาหนด
        3. การมีโอกาสประสบความสำาเร็จเท่าเทียมกัน (Equal
            opportunities for success)
หมายถึงสมาชิกทุกคนไม่ว่าจะมีความสามารถระดับสูง ปานกลาง
หรือตำ่า มีภารกิจในการสร้างผลงานให้กลุ่มด้วยกัน การพัฒนา
ระดับผลสัมฤทธิ์ของตนจะนำามารวมกันเป็นผลสำาเร็จของกลุม ใน      ่
การจัดการเรียนการสอนรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจยในฐานะครูผู้สอนรายวิชา
                                         ั
นี้ จึงใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ เพื่อ
พัฒนาคุณธรรมของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
นอกจากจะทำาให้ผู้เรียน มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันพึง
ประสงค์ แล้ว ยังส่งผลถึงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา
ได้อีกด้วย

 วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย
       1. เพื่อสร้างกิจกรรมการเรียนการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้
รายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ เพื่อพัฒนาคุณธรรมของ
นักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงวิทยาลัยอาชีวศึกษา
แพร่
       2. เพื่อพัฒนาคุณธรรมของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตร
วิชาชีพชั้นสูงที่เรียนรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ โดยการ
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้
4



      3. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียน
     รายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่อ
อาชีพโดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้

 ขอบเขตของกำรวิจัย
        ขอบเขตของกลุ่มเป้ำหมำย
            กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครังนี้คือ นักศึกษา
                                            ้
วิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร่ระดับชั้น
 ปวส.ชั้นปีที่ 1 ที่เรียนวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ ภาคเรียน
ที่ 1 ปีการศึกษา 2552 จำานวน 158 คน

          ขอบเขตเนื้อหำ
         เนื้อหาที่ใช้ในการวิจยครั้งนี้ มีรายละเอียด ดังนี้
                                ั
                1. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบร่วมมือกัน
เรียนรู้ เป็นกิจกรรมที่ผู้วิจัยได้นำามาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียน
การสอนรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพเพื่อพัฒนาคุณธรรม
ของนักศึกษา
                 2. คุณธรรมพื้นฐาน ๘ ประการของกระทรวง
ศึกษาธิการที่ต้องการพัฒนาให้กับนักศึกษาได้แก่ ขยัน ประหยัด
ซื่อสัตย์ มีวินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี และมีนำ้าใจ
                   3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาทักษะภาษาไทย
เพื่ออาชีพ เป็นผลที่เกิดจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ
ร่วมมือกันเรียนรู้

             ขอบเขตด้ำนประชำกร
     ประชากรหรือกลุ่มเป้าหมายในการวิจัยคือ นักศึกษาระดับ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีท1 ที่เรียนรายวิชาทักษะภาษา
                                  ี่
ไทยเพื่ออาชีพในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 จำานวน 158
คน

             ขอบเขตระยะเวลำ
         การวิจัยครังนี้ดำาเนินการวิจัยในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา
                    ้
2552 ตั้งแต่เดือน พฤษภาคม ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2552 รวม
5 เดือน
5




กรอบแนวคิดของกำรวิจัย
       การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้
รายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ เพื่อพัฒนาคุณธรรมของ
นักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

    INPUT            PROCESS             OUTPUT/OUTCOME
 (ปัจจัยกำรนำำ      (กระบวนกำร)           (ผลผลิต/ผลลัพธ์)
     เข้ำ)
                 - กระบวนการจัด          - นักศึกษามีคุณธรรม
- ครู            กิจกรรมการ              จริยธรรมพื้นฐาน
- นักศึกษา         เรียนการสอน           - นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์
- จุดประสงค์     - การสังเกต             ทางการเรียนใน
รายวิชา          พฤติกรรมกลุ่ม             รายวิชาทักษะภาษาไทย
- มาตรฐาน        - การสังเกต             เพื่ออาชีพ
รายวิชา          พฤติกรรมรายบุคคล
- เนื้อหาวิชา    - การยกย่อง ชมเชย
- กิจกรรมการ     ให้รางวัล
เรียน            - การแข่งขันระหว่าง
  การสอนแบบ      กลุ่ม
ร่วมมือกัน       - การวางเงื่อนไขกลุ่ม
  เรียนรู้




นิยำมศัพท์เฉพำะ
            กำรสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ หมายถึง การจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพที่
แบ่งนักศึกษาออกเป็นกลุ่มย่อย ให้สมาชิกในกลุ่มร่วมมือกันทำา
กิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมาย โดยนักศึกษา เพื่อนนักศึกษาและ
ครู สังเกตพฤติกรรมการมีคุณธรรมของนักศึกษาในระหว่างดำาเนิน
กิจกรรม
           คุณธรรมหมำยถึง คุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการที่
กระทรวงศึกษาธิการประกาศเป็นนโยบายให้สถาบันการศึกษานำา
6



ไปพัฒนาผู้เรียน ให้เป็นคนดี มีความรู้และอยู่อย่างมีความสุข
ได้แก่ ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี มี
นำ้าใจ
       ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน หมายถึง ผลการเรียนรายวิช า
3000-1101 ทั ก ษะภาษาไทยเพื่ อ อาชี พ ของนั ก ศึ ก ษาระดั บ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงที่ผ่านเกณฑ์การวัดผล ( มีระดับผล
การเรีย น ระดั บ 1 ถึ ง ระดั บ 4 ถือ ว่ า ผ่า นเกณฑ์ ) ซึ่ ง วั ดผลตอน
สอบปลายภาคเรียน

ประโยชน์ที่ได้รับจำกกำรวิจัย
       1. ทำาให้ได้กิจกรรมการเรียนการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้
รายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
      2. เพื่อพัฒนาคุณธรรมของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตร
วิชาชีพชั้นสูงวิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร่หลังการจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้
      3. ทำาให้นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาทักษะ
ภาษาไทยเพื่ออาชีพ ตามเป้าหมายหลังการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้
            4. เพื่อให้เป็นตัวอย่างในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม
ให้กับสถานศึกษาอื่น

More Related Content

What's hot

การจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อมการจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อม
Jit Khasana
 
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอนความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
Monthon Sorakraikitikul
 
คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
ทศพล พรหมภักดี
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
Blade HurthurtHurt
 
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียนขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
yana54
 
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูปแนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
patthanan18
 
2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิด2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิด
Nirut Uthatip
 

What's hot (20)

วิธีการสอนแบบกลุ่มย่อย
วิธีการสอนแบบกลุ่มย่อยวิธีการสอนแบบกลุ่มย่อย
วิธีการสอนแบบกลุ่มย่อย
 
การจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อมการจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อม
 
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอนความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
ความรู้ด้านเทคนิควิธีสอน
 
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพการบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
การบริหารโรงเรียนเพื่อคุณภาพ
 
คู่มือ
คู่มือคู่มือ
คู่มือ
 
ประเมินครูผู้ช่วย องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติงาน (ประเมินครั้งที่ 7)
ประเมินครูผู้ช่วย องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติงาน (ประเมินครั้งที่ 7)ประเมินครูผู้ช่วย องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติงาน (ประเมินครั้งที่ 7)
ประเมินครูผู้ช่วย องค์ประกอบที่ 2 การปฏิบัติงาน (ประเมินครั้งที่ 7)
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคลวิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
 
School curiculum
School curiculumSchool curiculum
School curiculum
 
คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
 
บทบาท และภาระงานของครู
บทบาท และภาระงานของครูบทบาท และภาระงานของครู
บทบาท และภาระงานของครู
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียนขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
ขอบข่ายงานกลุ่มกิจการนักเรียน
 
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
ทฤษฏีภาวะผู้นำและภาวะผู้นำทางวิชาการ
 
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูปแนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
 
2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิด2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิด
 
3 ตอน3 sar57
3 ตอน3 sar573 ตอน3 sar57
3 ตอน3 sar57
 
17
1717
17
 
นโยบายลดเวลเรียนปรับเมื่อ ๗ ต.ค. ๕๘
นโยบายลดเวลเรียนปรับเมื่อ ๗ ต.ค. ๕๘นโยบายลดเวลเรียนปรับเมื่อ ๗ ต.ค. ๕๘
นโยบายลดเวลเรียนปรับเมื่อ ๗ ต.ค. ๕๘
 
W 2
W 2W 2
W 2
 

Viewers also liked

Rks presentasi
Rks presentasiRks presentasi
Rks presentasi
Zo Ri
 
C:\documents and settings\osmo.sorsa\desktop\sos med\lasten ja nuorten mediat...
C:\documents and settings\osmo.sorsa\desktop\sos med\lasten ja nuorten mediat...C:\documents and settings\osmo.sorsa\desktop\sos med\lasten ja nuorten mediat...
C:\documents and settings\osmo.sorsa\desktop\sos med\lasten ja nuorten mediat...
Osmo
 
Lasten ja nuorten mediatodellisuus 2 280410
Lasten ja nuorten mediatodellisuus 2  280410Lasten ja nuorten mediatodellisuus 2  280410
Lasten ja nuorten mediatodellisuus 2 280410
Osmo
 

Viewers also liked (10)

Rks presentasi
Rks presentasiRks presentasi
Rks presentasi
 
Sgp 15
Sgp 15Sgp 15
Sgp 15
 
C:\documents and settings\osmo.sorsa\desktop\sos med\lasten ja nuorten mediat...
C:\documents and settings\osmo.sorsa\desktop\sos med\lasten ja nuorten mediat...C:\documents and settings\osmo.sorsa\desktop\sos med\lasten ja nuorten mediat...
C:\documents and settings\osmo.sorsa\desktop\sos med\lasten ja nuorten mediat...
 
Lasten ja nuorten mediatodellisuus 2 280410
Lasten ja nuorten mediatodellisuus 2  280410Lasten ja nuorten mediatodellisuus 2  280410
Lasten ja nuorten mediatodellisuus 2 280410
 
Lean Kanban Systems Training Module
Lean Kanban Systems Training ModuleLean Kanban Systems Training Module
Lean Kanban Systems Training Module
 
Six Sigma Process Capability Study (PCS) Training Module
Six Sigma Process Capability Study (PCS) Training Module Six Sigma Process Capability Study (PCS) Training Module
Six Sigma Process Capability Study (PCS) Training Module
 
Six Sigma Confidence Interval Analysis (CIA) Training Module
Six Sigma Confidence Interval Analysis (CIA) Training ModuleSix Sigma Confidence Interval Analysis (CIA) Training Module
Six Sigma Confidence Interval Analysis (CIA) Training Module
 
Six Sigma Statistical Process Control (SPC) Training Module
Six Sigma Statistical Process Control (SPC) Training ModuleSix Sigma Statistical Process Control (SPC) Training Module
Six Sigma Statistical Process Control (SPC) Training Module
 
Lean Quick Changeover (SMED) Training Module
Lean Quick Changeover (SMED) Training ModuleLean Quick Changeover (SMED) Training Module
Lean Quick Changeover (SMED) Training Module
 
Lean Value Stream Mapping (VSM) Training Module
Lean Value Stream Mapping (VSM) Training ModuleLean Value Stream Mapping (VSM) Training Module
Lean Value Stream Mapping (VSM) Training Module
 

Similar to C

บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
benty2443
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
Kunwater Tianmongkon
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
watdang
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
rampasri
 
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีนางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
Payped คิคิ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
Noppasorn Boonsena
 

Similar to C (20)

การสอน
การสอนการสอน
การสอน
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดีนางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
นางสาวรุ่งนภา ปัญญาดี
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 

C

  • 1. บทที่ 1 บทนำำ ควำมเป็นมำและควำมสำำคัญของกำรวิจัย การจัดการเรียนการสอนตามเจตนารมณ์ของการ ปฏิรูปการ ศึกษา ได้มงเน้น การพัฒนาผู้เรียนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้ง ุ่ ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริยธรรมและ วัฒนธรรมในการดำารงชีวิต สามารถอยู่รวมกับผู้อื่นได้อย่างมีความ ่ สุข (พ.ร.บ.การศึกษาพ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2545 ) กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศนโยบายเร่งรัดการปฏิรปการศึกษา ู โดยยึดคุณธรรมนำาความรู้ สร้างความตระหนัก สำานึกในคุณค่า ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความสมานฉันท์ สันติวิธี วิถี ประชาธิปไตย พัฒนาคนโดยใช้คุณธรรมเป็นพื้นฐานของ กระบวน การเรียนรู้ ทีเชื่อมโยงความร่วมมือของสถาบันครอบครัว ่ ชุมชน ศาสนาและสถาบัน การศึกษา โดยมีจุดเน้นเพื่อพัฒนา เยาวชนให้เป็นคนดี มีความรู้และอยู่ดีมีสุข จึงได้กำาหนด คุณธรรมพื้นฐาน ๘ ประการที่ควรเร่งปลูกฝัง ซึ่งได้แก่ ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวินย สุภาพ สะอาด สามัคคี และมีนำ้าใจ ( ั กระทรวงศึกษาธิการ 2551) สำานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้ตระหนักเห็น ความสำาคัญของนโยบายเร่งรัดการปฏิรูปการศึกษา ดังกล่าว จึงมี ปรัชญาทางการศึกษาที่เน้นค่านิยมและเน้นคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของผู้ที่สำาเร็จการศึกษา 13 ด้าน ได้แก่ การมี มนุษยสัมพันธ์ ความมีวินัยความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์สุจริต ความเชื่อมั่นในตนเอง การประหยัด ความสนใจใฝ่รู้ การละเว้นสิ่ง เสพติดและการพนัน ความรักสามัคคี ความกตัญญูกตเวที ความ คิดริเริ่มสร้างสรรค์ การพึ่งพาตนเอง และความอดกลั้น โดย กำาหนดให้มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมในสถาน ศึกษาขึ้น การจัดการเรียนการสอน จึงต้องพัฒนาคุณธรรมควบคู่ ไปกับการเรียนรู้ในเนื้อหาแต่ละรายวิชาด้วย จึงมีการ บูรณาการ
  • 2. 2 คุณธรรมในการสอน และมีคะแนนคุณธรรมในการประเมินผลการ เรียนของทุกรายวิชาด้วย วิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ ระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง เป็นวิชาสามัญที่กำาหนดให้เรียนตามหลักสูตร โดยมี จุดประสงค์ให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ภาษา ไทยทีถูกต้อง เพื่อให้สามารถนำาภาษาไทยไปใช้เป็นเครื่องมือ ่ สื่อสารในงานอาชีพ และการ
  • 3.
  • 4. 2 ดำาเนินชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อให้เห็นคุณค่า ความงดงาม ของภาษาไทยและวรรณกรรมไทย และมีมาตรฐานรายวิชาให้ นักศึกษาเลือกใช้ภาษาไทยอย่างมีศิลปะ ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ กาลเทศะบุคคลและโอกาส วิเคราะห์และประเมินค่าสารที่ได้จาก การฟัง การดู การอ่าน และนำาเสนอข้อมูลอย่างมีระบบ ใช้ กระบวนการฟัง การดู การอ่าน และนำาเสนอข้อมูลอย่างมีระบบ ใช้ กระบวนการเขียน การพูดรูปแบบต่างๆ สื่อสารในงานอาชีพได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และมีคุณธรรม แยกแยะเนื้อหาสาระ คติธรรม คุณธรรมค่านิยม ที่ได้จากการศึกวรรณกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น และนำามาประยุกต์ใช้ ในงานอาชีพและการดำาเนินชีวิตได้ การ จัดการเรียนการสอนรายวิชาดังกล่าวให้สัมฤทธิ์ผล นอกจากมีจุด มุ่งหมายให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามเกณฑ์แล้ว สิ่ง สำาคัญก็คือต้องพัฒนาคุณธรรมให้กับผู้เรียน เพื่อให้สอดคล้องกับ นโยบายคุณธรรมนำาความรู้ ของสำานักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษาผู้สอนจึงต้องคิดหากิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อให้ บรรลุตาม นโยบายและเป้าหมายดังกล่าว การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาดังกล่าวจึงต้องยึด หลักการเรียนการสอน โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ เน้นการพัฒนา ความรู้และทักษะ เน้นการพัฒนากระบวนการคิด เน้นการเรียนรู้ ด้วยตนเอง และการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม วิธีการสอน แบบร่วมมือกันเรียนรู้ หรือวิธีสอนแบบร่วมแรงร่วมใจ ( Cooperative Learning Model of Training ) เป็น กิจกรรมการเรียนการสอนรูปแบบหนึ่งที่สมควรนำามาใช้ในการ พัฒนาคุณธรรม ของนักศึกษา กาญจนา วัฒายุ ( 2544: 12 )ได้กล่าวถึงแนวคิดและ วิธีการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ ไว้ ว่า วิธีสอนแบบร่วมมือ กันเรียนรู้ ( Cooperative Learning ) เป็นยุทธวิธีในการจัด กิจกรรม การเรียนรู้โดยจัดให้สมาชิกได้เรียนรูร่วมกัน เป็นกลุ่มเล็กๆ โดย ้ ทัวไปจะจัดกลุ่มละ 4 คน แต่ละกลุ่มประกอบด้วยสมาชิกที่มีความ ่ สามารถสูง ปานกลาง และตำ่า คละกัน ด้วยสัดส่วน 1:2:1 สมาชิก จะต้องมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ และมีการช่วยเหลือกันในการ พัฒนาการเรียนรู้ เพื่อให้กลุ่มประสบความสำาเร็จ การที่ผู้สอน จัดการเรียนรู้โดยให้ผู้เรียนพึ่งพาอาศัยกันอย่างสมำ่าเสมอ จะทำาให้
  • 5. 3 ผู้เรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียน และบรรลุผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูง สามารถพัฒนาทักษะการทำางานร่วมกับผู้อื่นได้ ... วิธีสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ มีหลักสำาคัญ 3 ประการ คือ 1. รางวัลของกลุ่ม ( Group reward) หมายถึงสมาชิกใน กลุ่มทุกคนมีโอกาสเท่าเทียมกัน ในการประสบความสำาเร็จและได้รับรางวัลในการประกาศ เกียรติคุณ 2. ความรับผิดชอบต่อผลงานของสมาชิกแต่ละคน ( Individual accountability ) หมายถึงผลงานของสมาชิกแต่ละคนเมือรวมกันเป็นผลงานของ กลุ่มจะมีผลสำาเร็จตามเกณฑ์ที่กำาหนด 3. การมีโอกาสประสบความสำาเร็จเท่าเทียมกัน (Equal opportunities for success) หมายถึงสมาชิกทุกคนไม่ว่าจะมีความสามารถระดับสูง ปานกลาง หรือตำ่า มีภารกิจในการสร้างผลงานให้กลุ่มด้วยกัน การพัฒนา ระดับผลสัมฤทธิ์ของตนจะนำามารวมกันเป็นผลสำาเร็จของกลุม ใน ่ การจัดการเรียนการสอนรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจยในฐานะครูผู้สอนรายวิชา ั นี้ จึงใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ เพื่อ พัฒนาคุณธรรมของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง นอกจากจะทำาให้ผู้เรียน มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันพึง ประสงค์ แล้ว ยังส่งผลถึงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษา ได้อีกด้วย วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย 1. เพื่อสร้างกิจกรรมการเรียนการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ รายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ เพื่อพัฒนาคุณธรรมของ นักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงวิทยาลัยอาชีวศึกษา แพร่ 2. เพื่อพัฒนาคุณธรรมของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูงที่เรียนรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ โดยการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้
  • 6. 4 3. เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียน รายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่อ อาชีพโดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ ขอบเขตของกำรวิจัย ขอบเขตของกลุ่มเป้ำหมำย กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยครังนี้คือ นักศึกษา ้ วิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร่ระดับชั้น ปวส.ชั้นปีที่ 1 ที่เรียนวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ ภาคเรียน ที่ 1 ปีการศึกษา 2552 จำานวน 158 คน ขอบเขตเนื้อหำ เนื้อหาที่ใช้ในการวิจยครั้งนี้ มีรายละเอียด ดังนี้ ั 1. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบร่วมมือกัน เรียนรู้ เป็นกิจกรรมที่ผู้วิจัยได้นำามาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียน การสอนรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพเพื่อพัฒนาคุณธรรม ของนักศึกษา 2. คุณธรรมพื้นฐาน ๘ ประการของกระทรวง ศึกษาธิการที่ต้องการพัฒนาให้กับนักศึกษาได้แก่ ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี และมีนำ้าใจ 3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาทักษะภาษาไทย เพื่ออาชีพ เป็นผลที่เกิดจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ ร่วมมือกันเรียนรู้ ขอบเขตด้ำนประชำกร ประชากรหรือกลุ่มเป้าหมายในการวิจัยคือ นักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงชั้นปีท1 ที่เรียนรายวิชาทักษะภาษา ี่ ไทยเพื่ออาชีพในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 จำานวน 158 คน ขอบเขตระยะเวลำ การวิจัยครังนี้ดำาเนินการวิจัยในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา ้ 2552 ตั้งแต่เดือน พฤษภาคม ถึงเดือนกันยายน พ.ศ. 2552 รวม 5 เดือน
  • 7. 5 กรอบแนวคิดของกำรวิจัย การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ รายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ เพื่อพัฒนาคุณธรรมของ นักศึกษา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง INPUT PROCESS OUTPUT/OUTCOME (ปัจจัยกำรนำำ (กระบวนกำร) (ผลผลิต/ผลลัพธ์) เข้ำ) - กระบวนการจัด - นักศึกษามีคุณธรรม - ครู กิจกรรมการ จริยธรรมพื้นฐาน - นักศึกษา เรียนการสอน - นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ - จุดประสงค์ - การสังเกต ทางการเรียนใน รายวิชา พฤติกรรมกลุ่ม รายวิชาทักษะภาษาไทย - มาตรฐาน - การสังเกต เพื่ออาชีพ รายวิชา พฤติกรรมรายบุคคล - เนื้อหาวิชา - การยกย่อง ชมเชย - กิจกรรมการ ให้รางวัล เรียน - การแข่งขันระหว่าง การสอนแบบ กลุ่ม ร่วมมือกัน - การวางเงื่อนไขกลุ่ม เรียนรู้ นิยำมศัพท์เฉพำะ กำรสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ หมายถึง การจัด กิจกรรมการเรียนการสอนรายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพที่ แบ่งนักศึกษาออกเป็นกลุ่มย่อย ให้สมาชิกในกลุ่มร่วมมือกันทำา กิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมาย โดยนักศึกษา เพื่อนนักศึกษาและ ครู สังเกตพฤติกรรมการมีคุณธรรมของนักศึกษาในระหว่างดำาเนิน กิจกรรม คุณธรรมหมำยถึง คุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการที่ กระทรวงศึกษาธิการประกาศเป็นนโยบายให้สถาบันการศึกษานำา
  • 8. 6 ไปพัฒนาผู้เรียน ให้เป็นคนดี มีความรู้และอยู่อย่างมีความสุข ได้แก่ ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี มี นำ้าใจ ผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียน หมายถึง ผลการเรียนรายวิช า 3000-1101 ทั ก ษะภาษาไทยเพื่ อ อาชี พ ของนั ก ศึ ก ษาระดั บ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงที่ผ่านเกณฑ์การวัดผล ( มีระดับผล การเรีย น ระดั บ 1 ถึ ง ระดั บ 4 ถือ ว่ า ผ่า นเกณฑ์ ) ซึ่ ง วั ดผลตอน สอบปลายภาคเรียน ประโยชน์ที่ได้รับจำกกำรวิจัย 1. ทำาให้ได้กิจกรรมการเรียนการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ รายวิชาทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ 2. เพื่อพัฒนาคุณธรรมของนักศึกษา ระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูงวิทยาลัยอาชีวศึกษาแพร่หลังการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ 3. ทำาให้นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาทักษะ ภาษาไทยเพื่ออาชีพ ตามเป้าหมายหลังการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ 4. เพื่อให้เป็นตัวอย่างในการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ให้กับสถานศึกษาอื่น