SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 17
Descargar para leer sin conexión
บทที่ 6
เทคโนโลยีสารสนเทศทาง
การศึกษา
ภารกิจ
1. วิเคราะห์บทบาทและความสาคัญของเทคโนโลยี
สารสนเทศกับการพัฒนาการศึกษาตามแนวทาง
ปฏิรูปการศึกษา
บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาการศึกษาตาม
แนวทางปฏิรูปการศึกษา
เทคโนโลยีที่มีบทบาทสาคัญต่อการศึกษาประกอบด้วย
1. เทคโนโลยีที่เข้ามามีส่วนช่วยในเรื่องการเรียนรู้ เช่น ระบบคอมพิวเตอร์
ช่วยสอน (CAI) มีระบบมัลติมีเดีย (Multimedia) วิดีโอเทเลคอนเฟอเรนซ์
(Video Teleconference) และอินเตอร์เน็ต (Internet) เป็นต้น ระบบเหล่านี้
เป็นระบบสนับสนุนการรับรู้ข่าวสาร
และการค้นหาข้อมูลข่าวสารเพื่อการเรียนรู้
2. เทคโนโลยีที่เข้ามาสนับสนุนการจัดการศึกษาในการจัดการศึกษา
สมัยใหม่จาเป็นต้องอาศัยข้อมูลข่าวสารเพื่อการวางแผนการดาเนินการ
การติดตามและประเมินผลคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารโทรคมนาคม
3. เทคโนโลยีเข้ามาช่วยให้การสื่อสารระหว่างบุคคล ทางด้าน
การศึกษาจาเป็นต้องอาศัยการสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียน
กับผู้เรียน ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการเรียนการสอน
โดยอาศัยเทคโนโลยีการสื่อสารระหว่างบุคคล เช่น การใช้โทรศัพท์
โทรสาร เทเลคอนเฟอเรนส์ และไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น
ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาการศึกษา
ตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา
1. ช่วยในการจัดระบบเนื้อหาในการเรียนรู้
2. เพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตสารสนเทศ เช่น การคานวณตัวเลขที่
ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลาดับสารสนเทศ ฯลฯ
3. ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุก
ครั้งอย่างสะดวก
4. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อการจัดเก็บ
ประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศ
5. ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ
มากขึ้น
6. ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวก
รวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลา และระยะทาง
โดยการใช้ระบบโทรศัพท์และอื่นๆ
2. วิเคราะห์หาวิธีการที่จะประยุกต์เทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
• การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นการนาเอาเทคโนโลยี รวมกับการ
ออกแบบโปรแกรมการสอน มาใช้ช่วยสอน ซึ่งเรียกกันโดยทั่วไปว่า
บทเรียน CAI ( Computer - Assisted Instruction ) การจัดโปรแกรม
การสอน โดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ในปัจจุบันมักอยู่ในรูปของสื่อ
ประสม (Multimedia) ซึ่งหมายถึงนาเสนอได้ทั้งภาพ ข้อความ เสียง
ภาพเคลื่อนไหวฯลฯ โปรแกรมช่วยสอนนี้เหมาะกับการศึกษาด้วย
ตนเอง และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถโต้ตอบ กับบทเรียนได้ตลอด จน
มีผลป้ อนกลับเพื่อให้ผู้เรียนรู้ บทเรียนได้อย่างถูกต้อง และเข้าใจใน
เนื้อหาวิชาของบทเรียนนั้นๆ
• การจัดการเรียนการสอนโดยใช้เว็บเป็นหลัก เป็นการจัดการเรียน ที่
มีสภาพการเรียนต่างไปจากรูปแบบเดิม การเรียนการสอนแบบนี้ อาศัย
ศักยภาพและความสามารถของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นการนาเอา
สื่อการเรียนการสอน ที่เป็นเทคโนโลยี มาช่วยสนับสนุนการเรียนการสอน
ให้เกิดการเรียนรู้ การสืบค้นข้อมูล และเชื่อมโยงเครือข่าย ทาให้ผู้เรียน
สามารถเรียนได้ทุกสถานที่และทุกเวลา การจัดการเรียนการสอนลักษณะ
นี้ มีชื่อเรียกหลายชื่อ ได้แก่ การเรียนการสอนผ่านเว็บ (Web-based
Instruction) การฝึกอบรมผ่านเว็บ (Web-based Trainning) การสอน
ผ่านสื่อทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-learning) เป็นต้น
• การใช้อิเล็กทรอนิกส์บุ๊ค คือการเก็บข้อมูลจานวนมากด้วยซีดีรอม
หนึ่งแผ่นสามารถเก็บข้อมูลตัวอักษรได้มากถึง 600 ล้านตัวอักษร ดังนั้น
ซีดีรอมหนึ่งแผ่นสามารถเก็บข้อมูลหนังสือ หรือเอกสารได้มากกว่า
หนังสือหนึ่งเล่ม และที่สาคัญคือการใช้กับคอมพิวเตอร์ ทาให้สามารถ
เรียกค้นหาข้อมูลภายในซีดีรอม ได้อย่างรวดเร็วโดยใช้ดัชนี สืบค้นหรือ
สารบัญเรื่อง ซีดีรอมจึงเป็นสื่อที่มีบทบาทต่อการศึกษาอย่างยิ่ง เพราะใน
อนาคตหนังสือต่าง ๆ จะจัดเก็บอยู่ในรูปซีดีรอม และเรียกอ่านด้วยเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ที่เรียกว่าอิเล็กทรอนิกส์บุ๊ค ซีดีรอมมีข้อดีคือสามารถ
จัดเก็บข้อมูลในรูปของ
3. ให้ท่านพิจารณาเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ ตามบริบทของโรงเรียนที่กาหนดให้
ต่อไปนี้ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบการอธิบาย
• โรงเรียนบ้านหนองงูเห่า เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลในถิ่น
ทุรกันดาร โรงเรียนมีคอมพิวเตอร์สามเครื่อง มีโทรทัศน์ ไม่มี
สัญญาณโทรศัพท์
• โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเมือง มีความ
พร้อมทางด้านสื่อ เทคโนโลยี มีห้องคอมพิวเตอร์ มีระบบ
อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง แต่ครูมีไม่เพียงพอเนื่องจากย้ายหนี
เหตุการณ์ความไม่สงบ
การจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนบ้านหนองงูเห่า
• ลงโปสื่อที่เหมาะสาหรับการเรียนรู้ คือ แถบบันทึกภาพพร้อมเสียง (วีดี
ทัศน์) แถบบันทึกเสียง ภาพนิ่ง สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
• โปรแกรมสื่อการเรียนรู้สาเร็จรูปคือสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรู้ด้วย
ตนเองเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ออกแบบ โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็น
ฐานในการผลิตแฟ้ มสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนการสอน และนาเสนอ
แฟ้ มที่ผลิตแล้วแก่ผู้ศึกษา ผู้ศึกษาก็เพียงแต่เปิดแฟ้ มเพื่อเรียน หรือใช้
งาน ตามที่โปรแกรมสาเร็จรูปกาหนดไว้ ก็จะได้เนื้อหาลักษณะต่าง ๆ
อย่างครบถ้วน โดยการนาเสนอข้อมูลของสื่อมัลติมีเดียนี้ จะเป็นไปใน
ลักษณะสื่อมัลติมีเดียเชิงปฏิสัมพันธ์ (Interactive)
• ในการเรียนรู้ซึ่งมีเครื่องคอมพิวเตอร์เพียง
3เครื่อง และโทรทัศน์1เครื่อง ผู้สอน
อาจจะแบ่งนักเรียนศึกษาด้วยกันเป็นกลุ่ม
แล้วให้นาเสนอแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน
โดยนักเรียนทุกคนต้องได้ปฎิบัติจริง
• ควรมีการนาเสนอสื่อพวกวีดีทัศน์ประเภท
สารคดีหรือการทดลอง โดยเชื่อมจาก
เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าสู่หน้าจอโทรทัศน์
ซึ่งเป็นการเปิดโลกกว้างอีกแบบ
การจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง
เนื่องจากโรงเรียนมัธยมไฮโซเบตงมีความพร้อมทางด้านสื่อเทคโนโลยี มีห้อง
คอมพิวเตอร์ มีระบบอินเตอร์เน็ตความเร็วสูงมีครูไม่เพียงพอ จึงควรมีการนา
เทคโนโลยีสารสนเทศมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ ในรูปแบบต่างๆ ดังนี้
1. สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ (Learning environment) ควรมีการจัดห้องเรียน
เป็นห้องเรียนขนาดใหญ่เพื่อที่จะให้ครูหนึ่งคนตอบสนองต่อจานวนนักเรียน
มาก และสถานการณ์ปัญหากระตุ้นให้ผู้เรียนเรียนรู้ มีฐานการช่วยเหลือไว้คอย
สนับสนุนผู้เรียนในกรณีที่ไม่สามารถแก้ปัญหาได้ตลอดจนการเรียนรู้แบบ
ร่วมมือกันแก้ปัญหาที่สนับสนุนให้ผู้เรียนขยายมุมมองแนวคิดต่างๆ
2. การเรียนรู้แบบออนไลน์ หรือ E-learning การเรียนรู้แบบ
ออนไลน์เป็นการศึกษา เรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อินเทอร์เน็ต (Internet) หรืออินทราเน็ต (Intranet) เป็นการเรียนรู้ด้วย
ตัวเอง ผู้เรียนจะได้เรียนตามความสามารถและความสนใจของตน
3. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-books)
เป็นคาที่ใช้ในการอธิบายตัวอักษรที่มี
ลักษณะคล้ายคลึงกับหนังสือ อยู่ใน
รูปแบบดิจิตัล โดยแสดงให้เห็นบน
จอคอมพิวเตอร์
4. ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (E-library)
เป็นแหล่งความรู้ที่บันทึกข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย
และให้บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์หรือผ่านเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต
จัดทาโดย
553050054-8 นางสาวกัลยาณี ทองทับ
553050090-4 นางสาวภัทรสุดา ประสานพันธ์
553050102-3 นางสาวศศิธร พลไธสง
สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา ชั้นปีที่ 2

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Pari Za
 
บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)Annop Phetchakhong
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาFern's Supakyada
 
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซังเทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซังPanwipa' Pornpirunroj
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาPan Kannapat Hengsawat
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้lalidawan
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้lalidawan
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6Bee Bie
 
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictนวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictsarayuttong
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาsinarack
 
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้Aon Onuma
 
นำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BNนำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BNkhomAtom
 
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาB'nust Thaporn
 

La actualidad más candente (18)

บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซังเทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Digital e book
Digital e bookDigital e book
Digital e book
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictนวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
Inno 6
Inno 6Inno 6
Inno 6
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
นำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BNนำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BN
 
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 

Similar a บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร

งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1lalidawan
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯPannathat Champakul
 
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57สมใจ จันสุกสี
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาบทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาDee Arna'
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาFFon Minoz
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1issaraka
 
งานนำเสนอบท 6
งานนำเสนอบท 6งานนำเสนอบท 6
งานนำเสนอบท 6Sineenartt
 
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 
Chapter 6 นวัต
Chapter 6 นวัตChapter 6 นวัต
Chapter 6 นวัตO-mu Aomaam
 

Similar a บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร (20)

บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
Chapter6
Chapter6 Chapter6
Chapter6
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Chapter 6 gw
Chapter 6 gwChapter 6 gw
Chapter 6 gw
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
โครงการ พัฒนาสื่อและระบบสารสนเทศในโรงเรียน ปี 57
 
Inno 6
Inno 6Inno 6
Inno 6
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาบทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
งานนำเสนอบท 6
งานนำเสนอบท 6งานนำเสนอบท 6
งานนำเสนอบท 6
 
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 6 ภาค1 ปี55
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 6 นวัต
Chapter 6 นวัตChapter 6 นวัต
Chapter 6 นวัต
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
 

บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร