SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 51
การค้นพบทวีป
อเมริกาเหนือ
ชาวยุโรปที่ค้นพบทวีป
อเมริกาเหนือคนแรก
คือ คริสโตเฟอร์
โคลัมบัส ชาวอิตาเลียน
ซึ่งได้รบการสนับสนุน
        ั
คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ชาว
อิตาเลียน
โคลัมบัสได้เดินทางไปถึงหมู่
 เกาะบาฮามาสในค.ศ.1492 ซึ่ง
 เขาเข้าใจว่าดินแดนที่คนพบ
                        ้
 ใหม่นี้ คือ ประเทศอินเดีย จึง
 เรียกดินแดนนี้ว่า อินเดียตะวัน
 ตก และเรียกผู้คนที่อาศัยอยู่
อเมริโก เวสปุชชี
ได้เดินทางสำารวจดิน
แดนที่โคลัมบัสเคย
สำารวจและพบว่าดิน
แดนที่โคลัมบัสค้นพบ
อเมริโก เวสปุชชี
นักภูมศาสตร์จึงได้ตั้ง
       ิ
ชื่อดินแดนใหม่นี้วา “
                   ่
ทวีปอเมริกา” เพือเป็น
                ่
เกียรติให้แก่อเมริโก
เวสปุชชี
ปัจจัยที่ทำาให้ชาวยุโรปอพยพ
เข้าสูทวีปอเมริกา
      ่
ในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 17 -18 ได้
  มีชาวยุโรปอพยพเข้าสู่ทวีปอเมริกา
  เป็นจำานวนมาก ซึ่งเกิดจากปัจจัยหลัก
   3 ประการ คือ
1. การแสวงหาและจับจองทีดินอันอุดม
                         ่
  สมบูรณ์
2.การแสวงหาความมั่งคังจาก
                       ่
การสำา รวจทางทะเล
ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 15 เกิด
 การออกสำารวจเส้นทางเดินเรือ
 ของชาวยุโรปไปยังอินเดีย เพื่อ
 หาซือสินค้าประเภทไหม ผ้า
     ้
 ฝ้าย ถ้วยชาม อัญมณี
 สมุนไพร และเครื่องเทศต่างๆ
สาเหตุแ ห่ง การออกสำา รวจ
ในปลายคริส ต์ศ ตวรรษที่ 15
นักเดินเรือชาวยุโรปออกไป
 สำารวจดินแดนทางซีกโลกตะวัน
 ออกได้ฟังเรื่องราวของมาร์โค
 โปโล
  พ่อค้าจากนครเวนิสเดินทางไปยัง
 จีนและบันทึกเรื่องราวเกียวกับ
                         ่
 ความมังคั่งของโลกตะวันออกไว้
        ่
มาร์โค โปโล
ปัจจัยส่งเสริมการสำารวจทาง
ทะเล
1.มีการปรับปรุงสิงประดิษฐ์
                     ่
 และเทคโนโลยีในการเดิน
 เรือออกสูมหาสมุทร เช่น
          ่
 เข็มทิศ ปรับปรุงใบเรือและ
 หางเสือของเรือ
2.นักสำารวจชาวสเปน
โปรตุเกส และฝรังเศสได้รบ
               ่       ั
การสนับสนุนทางการเงิน
จากรัฐให้ออกสำารวจ
ประเทศที่บ ุก เบิก การสำา รวจ
ประเทศที่บ ุก เบิก การ
 สำา รวจ คือ ประเทศ
 โปรตุเกส และสเปน
ประเทศสเปน
ผู้สนับสนุนค่าใช้จายให้คริสโต
                   ่
เฟอร์ โคลัมบัส ในการออก
สำารวจเส้นทางเดินเรือไปยัง
อินเดีย คือ พระเจ้าเฟอร์ดินานด์
และสมเด็จพระราชินีนาถ       อิซา
เบลลาของสเปน
พระเจ้าเฟอร์ดนานด์และ
             ิ
สมเด็จพระราชินีนาถ
อิซาเบลลาของสเปน
-คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส
พบเกาะนอกฝัง
            ่
 ประเทศอินเดีย (ทีจริง
                    ่
 คือหมู่เกาะเวสต์อนดิส)
                  ิ
-อเมริโก เวสปุชชี
ไม่เชื่อตามที่โคลัมบัส
 เข้าใจ แต่เชื่อว่าเป็นอีกดิน
 แดนหนึงจึงเรียกว่า โลกใหม่
        ่
 (New World)
-เฮอร์นันโด คอร์เตส
ได้เดินทางจากคิวบา มา
 ขึ้นทีเม็กซิโกตอนใต้ เป็นผู้
       ่
 พิชิตจักรวรรดิแอซเต็ก
เฮอร์นันโด คอร์เตส
สนธิสัญญาแบ่งเขตอิทธิพลระหว่าง
สเปนกับโปรตุเกส
ต่อมาสเปนและโปรตุเกส ได้ลง
 นามในสนธิสัญญาฉบับหนึ่งตกลง
 แบ่งเขตอิทธิพล จากข้อตกลงดัง
 กล่าวทำาให้สเปนได้สิทธิสำารวจดิน
 แดนอเมริกา ส่วนโปรตุเกสได้สิทธิ
 ทางเอเชีย ปัจจุบันประเทศบราซิล
 เป็นประเทศเดียวที่เคยเป็นของ
ประเทศอังกฤษ
ได้ว่าจ้าง จอห์น แคบอต
ชาวอิตาลี
สำารวจชายฝังตะวันออก
            ่
ของทวีปอเมริกาเหนือ ประ
มาณค.ศ.1497 -1498 บริเวณ
ส่วนชาวอังกฤษได้ตงอาณานิคมของ
                  ั้
 ตนเองขึ้น 13 แห่งเรียงรายตามบริเวณ
 ชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก
อย่างไรก็ดี ทังอังกฤษและฝรั่งเศส
               ้
 ก็ได้ทำาสงครามแย่งชิงความเป็นใหญ่
 ในดินแดนอเมริกาในระหว่าง ค.ศ.
 1689 -1763 โดยผลจบลงทีฝรั่งเศสยอม
                         ่
ประเทศฝรั่ง เศส
ชาร์ค การ์ติเอ ชาวฝรั่งเศส
 ได้สำารวจบริเวณแม่นำ้าเซนต์
 ลอเรนซ์ในทวีปอเมริกาเหนือ
 ค.ศ.1534 -1541 จนถึงเมืองมอนท
 รีออล ทำาให้ฝรั่งเศสอ้างสิทธิ
 เหนือดินแดนภาคตะวันออกของ
ซามูเอล เดอ ชองแปลง
ซามูเอล เดอ ชอง
 แปลง ตั้งอาณานิคมที่ค
 วิเบกจากนั้นก็ขยายสู่
 บริเวณลุ่มแม่นำ้าเซนต์
 ลอเรนซ์และทะเลสาบ
ซามูเอล เดอ ชองแปลง
โรแบต์ เดอ ลาซาล
โรแบต์ เดอ ลาซาล สำารวจ
 ตามแม่นำ้ามิสซิสซิปปี จนถึง
 อ่าวเม็กซิโก และอ้างสิทธิของ
 ฝรั่งเศสเหนือดินแดนทั้งหมดซึ่ง
 รวมเรียกว่า “หลุยเซียนา” เพื่อ
 เฉลิมฉลองพระเกียรติพระเจ้า
ประเทศฮอลัน ดา
 ชาวฮอลันดา ได้ครอบครองเกาะ
 แมนฮัตตันและตั้งเมืองนิวอัมเส
 ตอร์ดัมขึ้นใน ค.ศ.1624 แต่ต้อง
 เสียให้กับอังกฤษไปในค.ศ.1664
 และถูกเปลี่ยนชื่อเป็น นิวยอร์ก
การเรีย กร้อ งเอกราชของชาว
อาณานิค ม
ในทวีป อเมริก าเหนือ
การได้ร ับ เอกราชของ
 สหรัฐ อเมริก า ( ของอัง กฤษ )
การได้ร ับ เอกราชของเม็ก ซิโ ก
 (ของสเปน)
การได้ร ับ เอกราชของแคนาดา
 (ของอัง กฤษ)
การได้ร ับ เอกราชของอเมริก า
สาเหตุที่ชักนำาให้อาณานิคมของ
อังกฤษทำาการปฏิวัติเพื่ออิสรภาพ มี
ดังนี้ คือ
1.มีประสบการณ์ในการปกครอง
  ตนเองมานานแล้ว
2.มีนโยบายที่จะจำากัดและ
 ควบคุมการค้าในอาณานิคม
 เพื่อผลประโยชน์ของเมืองแม่
3.รัฐบาลอังกฤษเก็บภาษี
เพิมสูงขึ้น จนชาว
   ่
อาณานิคมรูสกไม่เป็น
            ้ ึ
ธรรม
การออกฎหมายหลายฉบับโดย
เฉพาะ กฎหมายว่าด้วยอากร
แสตมป์ และกฎหมายว่าด้วย
การค้าใบชา
เหตุการณ์ที่สำาคัญเรียกว่า การเลียง
                                 ้
นำ้าชาเมืองบอสตัน ( Boston Tea
Party )
ชาวเมืองบอสตันประมาณ 50 คน
 ปลอมตัวเป็นอินเดียนแดงลักลอบขึ้น
 ไปบนเรือบรรทุกใบชาของบริษัท
 อินเดีย ตะวันออกของอังกฤษทีจอดอยู่
                               ่
 ทีทาเรือ และโยนใบชาทิงจำานวน 343
   ่ ่                   ้
 หีบ ซึ่งทำาให้เกิดการรวมตัวต่อต้าน
 รัฐบาลอังกฤษอย่างจริงจัง และทำา
 สงครามประกาศเอกราช ทีเรียกว่า
                           ่
Boston Tea Party
อาณานิคมทั้งสิบสาม (Thirteen
Colonies)
 หมายถึง 13 อาณานิคมซึ่งใน
 อดีตเคยเป็นอาณานิคมของ
 อังกฤษ และ ประกาศอิสรภาพ
 พร้อมกันเมือวันที่ 4 กรกฎาคม
            ่
 ค.ศ. 1776 (พ.ศ. 2319) กำาเนิด
 เป็นประเทศสหรัฐอเมริกา โดยมี
อาณานิคมทั้งสิบสามได้แก่
รัฐนิวยอร์ก
รัฐเพนซิวาเนีย
รัฐจอร์เจีย
รัฐนิวเจอร์ซีย์
รัฐนอร์ทแคโรไลน่า
รัฐเวอร์จิเนีย
 รัฐแมสซาซูแซตส์
 รัฐแมรี่แลนต์
รัฐเซาส์แคโรไลน่า
รัฐคอนเนกติคัต
รัฐนิวแฮมเชียร์
รัฐเดลาแวร์
รัฐโรดไอส์แลนด์
ได้ร ับ เอกราชของเม็ก ซิโ ก
( ของสเปน )
เม็กซิโกเป็นอาณานิคมของ
  สเปนอยู่เป็นเวลา 300 ปี
จนกระทั่งมีผู้นำาทางการเมือง
  ชื่อ คาสตียา (เชื้อสายสเปน
  และเป็นพระนิกายโรมันคาทอลิก)
  ปฏิวัติและตัวเขาเองถูกจับ
แต่ขบวนการกู้อสรภาพยังคง
               ิ
ดำาเนินต่อไป    จนกระทั่งกอง
กำาลังสเปนยอมจำานน และให้
เอกราชแก่เม็กซิโก เมือ ค.ศ.
                      ่
1821
และถือเอาวันที่ 16 กันยายน
ได้ร ับ เอกราชของแคนาดา
( ของอัง กฤษ )

ถึงแม้จะเปลียนอยู่ภายใต้การปกครอง
             ่
 ของอังกฤษ แต่อาณานิคมฝรั่งเศส
 บางแห่งโดยเฉพาะในควิเบกก็ได้มีชาว
 ฝรั่งเศสตังถินฐานเป็นจำานวนมากแล้ว
           ้ ่
  แม้ในขณะที่อยู่ภายใต้การปกครอง
 ของอังกฤษ รัฐบาลอังกฤษก็ยินยอม
 ให้ชาวอาณานิคมในควิเบก มีสทธิใช้
                              ิ
 ระบบกฎหมายและระบบการถือครอง
 ภายหลังจากทีแคนาดาค่อยๆขยาย
              ่
 การตังถิ่นฐานออกไปมากขึ้นแล้ว
        ้
 รัฐบาลยินยอมให้มการปกครองตนเอง
                     ี
 ใน ค.ศ. 1549
    เรียกชื่อว่า “ โดมิเนียนแห่ง
 แคนาดา ” ( โดมิเนียน คือ ประเทศ
 อิสระทีรวมอยู่ในเครือจักรภพอังกฤษ
          ่
การก่อตั้งประเทศแคนาดาจึงเริ่ม
 ต้นด้วยดินแดนที่อยู่ทางภาคตะวัน
 ออกของประเทศเนืองจากการได้
                  ่
 เอกราชของแคนาดา เป็นไปด้วย
 ความยินยอมพร้อมใจของอังกฤษ
ได้ร ับ เอกราชของอเมริก ากลาง
( ของสเปน)

อาณานิคมของสเปนในอเมริกากลาง
   แบ่งออกเป็น 2 เขตการปกครอง
    คือ
เขตทางเหนือ มีดินแดนทีเป็น
                          ่
 ประเทศกัวเตมาลา ออนดูรัส
 เอลซัลวาดอร์ นิการากัว และ
 คอสตาริกา     ในปัจจุบนมีการ
                       ั
ส่วนเขตทางใต้ คือ ดินแดนที่เป็น
 ประเทศปานามาในปัจจุบน มีการ
                        ั
 ปกครองรวมอยู่กับประเทศโคลัมเบีย
 เวเนซุเอลาและเอกวาดอร์ ในทวีป
 อเมริกาใต้ รวมเรียกว่า อาณานิคม
 นิว กรานาดา ในปี ค.ศ.1821
 อาณานิคมกัวเตมาลาได้ทำาการปฏิวติ
                                ั
 เป็นอิสระจากสเปน พร้อมๆกับการได้
อาณานิค มในหมู่เ กาะอิน ดิส
ตะวัน ตก (ของเสปน)
หมู่เกาะอินดีสตะวันตก มีฐานะเป็น
 ส่วนหนึ่งของอาณานิคม นิว สเปน
 สเปนได้สร้างเมืองซานโตโดมิงโก ใน
 เกาะฮิสแปนิโอลา เป็นศูนย์กลาง
ต่อมาในอังกฤษ ฝรั่งเศส และ
 ฮอลันดา ได้เข้ามายึดเกาะบางเกาะไป
 เป็นของตน
  ดินแดนในหมูเกาะอิดิสตะวันตกทีได้
               ่               ่
สหรัฐ อเมริก าได้ม าโดยวิธ ก าร
                           ี
ต่า งๆ ดัง นี้

 1.โดยการบุกเบิก  มีการ
 อพยพไปทางตะวันตกโดยได้รับ
 การสนับสนุนจากรัฐบาลในการ
 จัดส่งกองทหารไปคอยพิทักษ์
 ความปลอดภัยให้แก่ผู้อพยพ
2.โดยการซื้อ จากประเทศอืนๆ
                         ่
          เช่น
ซือหลุยเซียนาจากฝรั่งเศส
  ้
ซือฟลอริดา จากสเปน
    ้
ซือแคลิฟอเนีย จากเม็กซิโก
      ้
ซืออะแลสกา จากรัสเซีย
        ้
3.โดยการผนวกดินแดน ยึด
ครองผนวกเป็นของตน ได้แก่
เทกซัส ฮาวาย
4.โดยการทำาสงคราม      เช่น
สงครามกับเม็กซิโก ค.ศ.1846
เนื่องจากขัดแย้งเกียวกับดิน
                   ่
แดนแคลิฟอร์เนีย

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
Wan Ngamwongwan
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
Mild Jirachaya
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
Pannaray Kaewmarueang
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมน
Nattha Namm
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนา
supppad
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
Pannaray Kaewmarueang
 

La actualidad más candente (20)

ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
 
อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)
อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)
อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อ
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชียผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของทวีปยุโรปต่อทวีปเอเชีย
 
หลักการทรูแมน
หลักการทรูแมนหลักการทรูแมน
หลักการทรูแมน
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนาRenaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
การปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนา
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 

Similar a ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ

5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
เนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาเนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกา
krunimsocial
 
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
hackinteach
 
อเมริกาใต้
อเมริกาใต้อเมริกาใต้
อเมริกาใต้
Krittamat
 
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ออสเตรเลีย
ออสเตรเลียออสเตรเลีย
ออสเตรเลีย
chanok
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2
social602
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2
social602
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป
chanok
 

Similar a ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ (17)

5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
5.1 5.2 ขยายอิทธิพล-ฟื้นฟู
 
เฉลยใบงาน 6.4
เฉลยใบงาน 6.4เฉลยใบงาน 6.4
เฉลยใบงาน 6.4
 
สำรวจทะเล2
สำรวจทะเล2สำรวจทะเล2
สำรวจทะเล2
 
ประเทศสเปน
ประเทศสเปนประเทศสเปน
ประเทศสเปน
 
เนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาเนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกา
 
ประวัติศาสตร์+23
ประวัติศาสตร์+23ประวัติศาสตร์+23
ประวัติศาสตร์+23
 
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
 
อเมริกาใต้
อเมริกาใต้อเมริกาใต้
อเมริกาใต้
 
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
 
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทยไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
ไทม์ไลน์ประวัติทวีปอเมริกาเเละประเทศไทย
 
ออสเตรเลีย
ออสเตรเลียออสเตรเลีย
ออสเตรเลีย
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2
 
สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2สงครามโลกครั้งที่1.2
สงครามโลกครั้งที่1.2
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป
 
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
การเมือง เศรษฐกิจ สังคมและเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
พุทธในออสเตรเลีย2
พุทธในออสเตรเลีย2พุทธในออสเตรเลีย2
พุทธในออสเตรเลีย2
 
ปวศ
ปวศปวศ
ปวศ
 

ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ