SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม
1
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
(buoyant force)
เมื่อชั่งวัตถุชนิดเดียวกันในน้้าและในอากาศ
น้้าหนักที่ชั่งได้ทั้ง 2 กรณี มีค่าเท่ากันหรือไม่อย่างไร
ปัญหา
2
เรื่อง แรงพยุง
วันที่ .......................................................
จุดประสงค์การทดลอง เพื่อศึกษาแรงพยุงที่กระทาต่อวัตถุ
กิจกรรมที่ 3
3
4
วิธีการทดลอง
ผลการทดลอง
5
1.น้้าหนักก้อนดินน้้ามันที่ชั่งในอากาศ และชั่งในน้้า
เท่ากันหรือไม่ เพราะเหตุใด
2.จากการเปรียบเทียบน้้าหนักของน้้าที่ล้นออกมากับ
ผลต่างของน้้าหนักก้อนดินน้้ามันเมื่อชั่งในอากาศกับชั่ง
ขณะอยู่ในน้้าจะได้ข้อสรุปว่าอย่างไร
คาถาม
6
ภาพ แรงดันเนื่องจากของเหลวที่กระท้าต่อวัตถุ
7
ภาพ การเปรียบเทียบน้้าหนักของวัตถุ เมื่อชั่งในน้้ากับชั่งในอากาศ
8
แรงพยุง = น้้าหนักวัตถุที่ชั่งในอากาศ - น้้าหนักวัตถุที่ชั่งในของเหลว
“น้้าหนักวัตถุที่หายไปเมื่อชั่งในของเหลว จะเท่ากับน้้าหนัก
ของของเหลวที่มีปริมาตรเท่ากับปริมาตรวัตถุส่วนที่จม”
ขนาดของแรงพยุง = ขนาดน้้าหนักของของเหลวที่ถูกวัตถุแทนที่
9
จากหลักของอาร์คิมีดิส สามารถพิสูจน์ได้ว่า FB = Vg
โดย  คือ ความหนาแน่นของของเหลว
มีหน่วยเป็น กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (kg/m3)
V คือ ปริมาตรของของเหลวที่ถูกแทนที่ มีหน่วยเป็น ลูกบาศก์เมตร
(m3)
g คือ ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก
มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาทีกาลังสอง (m/s2)
FB คือ ขนาดของแรงพยุง มีหน่วยเป็น นิวตัน (N)
10
ถ้าความหนาแน่นของวัตถุน้อยกว่าของเหลว
จะลอย
ถ้าความหนาแน่นของวัตถุมากกว่าของเหลว
จะจม
 = หรือ D =V
M
V
M
11
12
มงกุฎทองค้า ที่มาของค้าว่า "ยูเรก้า"
ตัวอย่าง
เมื่อน้าดินน้้ามันก้อนหนึ่งแขวนด้วยเครื่องชั่งสปริง พบว่า อ่านค่าน้้าหนัก
ได้ 5.45 นิวตัน แต่เมื่อน้าไปชั่งในน้้า พบว่า อ่านค่าน้้าหนักบนเครื่องชั่งสปริง
ได้ 4.20 นิวตัน แรงพยุงที่น้้ากระท้าต่อดินน้้ามันมีค่าเท่าไร
วิธีท้า จากแรงพยุงของน้้า
= น้้าหนักดินน้้ามันที่ชั่งในอากาศ – น้้าหนักดินน้้ามันที่ชั่งในน้้า
แทนค่า = 5.45 – 4.20 N
= 1.25 N
ดังนั้น แรงพยุงที่น้้ากระท้าต่อดินน้้ามันมีค่า เท่ากับ 1.25 นิวตัน
13
ตัวอย่าง
เหล็กแท่งหนึ่งมีน้้าหนัก 7.84 นิวตัน เมื่อชั่งในอากาศ ถ้าน้า
แท่งเหล็กไปชั่งขณะจมอยู่ในน้้า เครื่องชั่งอ่านค่าได้ 6.86 นิวตัน จง
หาปริมาตรของแท่งเหล็ก (ก้าหนดให้น้้ามีความหนาแน่นเท่ากับ 1.0
x 103 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร และความเร่งเนื่องจากแรงโน้ม
ถ่วงของโลก เท่ากับ 9.8 เมตรต่อวินาทีก้าลังสอง)
วิธีทา แรงพยุงของน้า
= น้าหนักแท่งเหล็กที่ชั่งในอากาศ – น้าหนักแท่งเหล็กที่ชั่งในน้า
FB = 7.84 N – 6.86 N
FB = 0.98 N
14
จาก FB = Vg
V =
แทนค่า V =
= 1.0 x 10-4 ลูกบาศก์เมตร
ดังนั้น ปริมาตรของแท่งเหล็กมีค่าเท่ากับ 1.0 x 10-4 ลูกบาศก์เมตร
g
FB
ρ
9.8x10
3x1.0
N0.98
15
ตัวอย่าง วัตถุจมในของเหลวบางส่วน
วิเคราะห์ 1. วัตถุมีความหนาแน่นน้อยกว่าของเหลว
2. น้าหนักของของเหลวส่วนที่ถูกวัตถุส่วนที่จมใน
ของเหลวแทนที่ (ส่วน ข) คือ แรงพยุง หรือ
แรงลอยตัว = น้าหนักของของเหลวที่มีปริมาตรเท่ากับ
ปริมาตรของวัตถุส่วนที่จมในของเหลว (ส่วน ข) 16
ตัวอย่าง วัตถุจมในของเหลวตรงระดับของของเหลวพอดี แต่ยัง
ลอยอยู่ในของเหลวได้
วิเคราะห์ 1. วัตถุมีความหนาแน่นเท่ากับของเหลว
2. แรงลอยตัว = น้้าหนักของของเหลวที่มีปริมาตร
เท่าวัตถุ
17
ตัวอย่าง วัตถุจมสู่ก้นภาชนะ
วิเคราะห์ 1. วัตถุมีความหนาแน่นมากกว่าของเหลว
2. แรงพยุงน้อยกว่าน้าหนักของวัตถุ วัตถุจึงจม
18
การที่ถ้วยดินน้ามันลอยนิ่งอยู่ได้ แสดงว่า
แรงขึน (แรงพยุง) = แรงลง (แรงจากน้าหนักของวัตถุ)
กรณีที่วัตถุลอยนา
แรงพยุง = น้าหนักของของเหลวที่ถูกแทนที่
หรือ = น้าหนักของของเหลวที่มีปริมาตรเท่ากับวัตถุส่วนที่จม
19
กรณีที่วัตถุจมน้า
แรงพยุง = น้าหนักของวัตถุที่ชั่งอากาศ - น้าหนักของวัตถุที่ชั่งในของเหลว
ดังนั้น แรงพยุงของน้้า = (500 - 470) กรัม
= 30 กรัม
20
ของเหลวต่างชนิดกัน มีแรงพยุงต่างกัน ของเหลวที่
มีความหนาแน่นมากจะมีแรงพยุงที่กระทาต่อวัตถุมาก เช่น
ในทะเลตาย (dead sea) มีความหนาแน่นของน้าทะเล
มาก พยุงให้คนเล่นน้าทะเลลอยน้าได้
21
ประโยชน์ของแรงพยุง
1. ใช้ในการขนส่งสินค้าและคมนาคมทางน้้า
2. ใช้สร้างที่อยู่อาศัยเป็นเรือนแพลอยน้้า
3. ช่วยให้ชาวประมงใช้เรือประกอบอาชีพจับสัตว์น้้า
22
กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
จงตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
1. จากข้อมูลที่กาหนดให้
1.1 วัตถุ A มีมวลเท่าใด
1.2 แรงพยุงของวัตถุมีค่าเท่าใด 23
1.3 น้้าที่มีปริมาตรเท่ากับวัตถุจะมีมวลมากหรือน้อยกว่าแรงพยุง
2. ถ้าวัตถุมีมวล 80 กรัม และแรงพยุงของน้้ามีค่าเท่ากับ 57 กรัม
วัตถุนี้จะจมหรือลอยน้้า เพราะเหตุใด
3. ถ้าวัตถุมีมวล 60 กรัม และน้้าหนักของน้้าที่มีปริมาตรเท่าวัตถุทั้ง
ก้อนเท่ากับ 60 กรัม เมื่อน้าวัตถุใส่ลงในน้้า ผลจะเป็นอย่างไร เพราะ
เหตุใด
24

More Related Content

What's hot

แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
Jariya Jaiyot
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้
dnavaroj
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
Jariya Jaiyot
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Thanyamon Chat.
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
dnavaroj
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
krupornpana55
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
krupornpana55
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
Maikeed Tawun
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
website22556
 

What's hot (20)

แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 

Viewers also liked

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
lOOPIPER
 
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
Nattanan Thammakhankhang
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
Wijitta DevilTeacher
 

Viewers also liked (8)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ใบความรู้+ประโยชน์ของแรงดันอากาศ+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f09-4page
ใบความรู้+ประโยชน์ของแรงดันอากาศ+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f09-4pageใบความรู้+ประโยชน์ของแรงดันอากาศ+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f09-4page
ใบความรู้+ประโยชน์ของแรงดันอากาศ+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f09-4page
 
ใบความรู้+อากาศมีแรงกระทำต่อวัตถุหรือไม่+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f45-1page
ใบความรู้+อากาศมีแรงกระทำต่อวัตถุหรือไม่+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f45-1pageใบความรู้+อากาศมีแรงกระทำต่อวัตถุหรือไม่+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f45-1page
ใบความรู้+อากาศมีแรงกระทำต่อวัตถุหรือไม่+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f45-1page
 
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
 
ใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-1page
ใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-1pageใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-1page
ใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-1page
 
ใบความรู้+อากาศมีแรงกระทำต่อวัตถุหรือไม่+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f03-1page
ใบความรู้+อากาศมีแรงกระทำต่อวัตถุหรือไม่+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f03-1pageใบความรู้+อากาศมีแรงกระทำต่อวัตถุหรือไม่+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f03-1page
ใบความรู้+อากาศมีแรงกระทำต่อวัตถุหรือไม่+ป.5+278+dltvscip5+55t2sci p05 f03-1page
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 

More from เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham

More from เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham (10)

เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 
ใบงานเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรี
ใบงานเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรีใบงานเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรี
ใบงานเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรี
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
ระบบย่อยอาหาร3
ระบบย่อยอาหาร3ระบบย่อยอาหาร3
ระบบย่อยอาหาร3
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
ธรณีประวัติ
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชน
 

แรงพยุงหรือแรงลอยตัว