SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 95
Descargar para leer sin conexión
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม
ธรณีประวัติ
1
2
ประวัติศาสตร์ทางธรณีวิทยาของโลก
ที่จะบอกเล่าความเป็นมาและสภาพเหตุการณ์ที่
เกิดขึ้นในอดีต ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนแปลง
สภาพทางภูมิศาสตร์ตลอดจนวิวัฒนาการของ
สิ่งมีชีวิต
ธรณีประวัติ
3
ข้อมูลทางธรณีวิทยา
เป็นข้อมูลที่ใช้สาหรับศึกษาธรณีประวัติ ได้แก่
1. อายุทางธรณีวิทยา
2. ซากดึกดาบรรพ์
3. การลาดับชั้นหิน
4
จากบทเรียนที่ผ่านมา นักเรียนคิดว่าอะไร
เป็นหลักฐานหรือข้อมูลที่จะบอกกล่าวความ
เป็นมาของโลกได้ดีที่สุด
ตอบ ข้อมูลทางธรณีวิทยาที่สามารถอธิบายความ
เป็นมาของพื้นที่ในอดีต ได้แก่ อายุทางธรณีวิทยา
ซากดึกดาบรรพ์ โครงสร้างและการลาดับชั้นหิน
เป็นต้น 5
โดยทั่วไปอายุทางธรณีวิทยาแบ่งเป็น
2 แบบ คือ อายุเปรียบเทียบ(อายุเทียบ
สัมพันธ์) และอายุสัมบูรณ์
6
อายุเทียบสัมพันธ์หรืออายุเปรียบเทียบ
• อายุเปรียบเทียบ(relative age) เป็นอายุหินเปรียบเทียบซึ่งบอก
ว่าหินชุดใดมีอายุมากหรือน้อยกว่ากัน
• อายุเปรียบเทียบหาได้โดย
• 1. ข้อมูลจากซากดึกดาบรรพ์ที่ทราบอายุ
2. ลักษณะการลาดับชั้นของหินชนิดต่างๆ
3. ลักษณะโครสร้างทางธรณีวิทยาของหินแล้วนามาเปรียบเทียบกับ
ช่วงเวลาทางธรณีวิทยาที่เรียกว่า ธรณีกาล (geologic time)
7
อายุสัมบูรณ์ (absolute age)
• เป็นอายุของหินหรือซากดึกดาบรรพ์ ที่สามารถ
บอกจานวนปีที่ค่อนข้างแน่นอน
• การหาอายุสัมบูรณ์ใช้วิธีคานวณจากครึ่งชีวิตของ
ธาตุกัมมันตรังสีที่มีอยู่ในหิน หรือซากดึกดา
บรรพ์ที่ต้องการศึกษา
8
ครึ่งชีวิต (Half Life)
• ครึ่งชีวิต หมายถึง ระยะเวลาที่ปริมาณของธาตุ
กัมมันตภาพรังสีสลายตัวจนลดลงเหลือครึ่งหนึ่งของเดิม
• ธาตุกัมมันตรังสีที่นิยมนามาหาอายุสัมบูรณ์ได้แก่ ธาตุ
คาร์บอน-14 ธาตุโพแทสเซียม-40 ธาตุเรเดียม-
226 และธาตุยูเรเนียม-238 เป็นต้น
9
- นักเรียนคิดว่าการหาอายุทางธรณีวิทยาทั้ง
2 แบบ มีความสัมพันธ์กับวิชาอะไร
• Chem Bio and Physics
10
ซากหอยนางรม ที่สะสมอยู่กับดินเหนียวทะเล มีอายุประมาณ 5,500 ปี
ใช้กัมมันตภาพรังสีคาร์บอน-14 ซึ่งตรวจซากดึกดาบรรพ์ที่มีอายุน้อยกว่า
50,000 ปี
11
ซากดึกดาบรรพ์(Fossil)
12
ซากดึกดาบรรพ์ (Fossils)
คือซากของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและ
สัตว์ที่เคยอาศัยอยู่ในบริเวณ
นั้น เมื่อตายลงซากก็ถูกทับถม
และฝังตัวอยู่ในชั้นหินตะกอน
13
•ซากดึกดาบรรพ์สามารถพบได้ตามชั้น
หินตะกอนเป็นส่วนใหญ่
•เราจะไม่พบซากดึกดาบรรพ์ในหินอัคนี
และหินแปร เนื่องจากความร้อนใน
ระหว่างที่เกิดหินเหล่านั้น ทาให้ซากดึก
ดาบรรพ์สลายไป 14
กระบวนการเกิดซากดึกดาบรรพ์
1. สัตว์หรือพืชตายลงจมลงสู่ก้นทะเลและส่วนที่
เหลือจะค่อยๆถูกฝังลงในชั้นของตะกอน
2. ตะกอนชั้นล่างๆได้กลายเป็นหินและส่วนที่
เหลืออยู่จะแข็งตัวกลายเป็นซากดึกดาบรรพ์
3. หินถูกดันขึ้นไปมาและถูกกัดเซาะ
4. ซากดึกดาบรรพ์โผล่ขึ้นสู่ชั้นผิวโลก
15
ขั้นตอนการเกิดซากดึกดาบรรพ์
16
17
18
19
ซากดึกดาบรรพ์ที่พบ
มากที่สุด
เป็นซากดึกดาบรรพ์ของสัตว์ทะเล
20
ซากดึกดาบรรพ์ดัชนี (index fossil)
• เป็นซากดึกดาบรรพ์ที่บอกอายุได้แน่นอน
เนื่องจาก
• เป็นซากดึกดาบรรพ์ที่มีวิวัฒนาการทางโครงสร้าง
และรูปร่างอย่างรวดเร็ว
• มีความแตกต่างในแต่ละช่วงอายุอย่างเด่นชัด
• ปรากฏให้เห็นเพียงช่วงอายุหนึ่งก็สูญพันธุ์ไป
ได้แก่ ไทรโลไบต์ แกรพโตไลต์ ฟิวซูลินิด เป็นต้น
21
• เพราะเหตุใดซากดึกดาบรรพ์จึงบอกอายุของหิน
ข้างเคียงได้
• นักเรียนรู้จักซากดึกดาบรรพ์อะไรบ้าง มีอายุ
ประมาณเท่าไร ทราบได้อย่างไร
เพราะซากดึกดาบรรพ์ที่ใช้บอกอายุหิน มีวิวัฒนาการทางโครงสร้างและ
รูปร่างอย่างรวดเร็ว มีความแตกต่างในแต่ละช่วงอายุชัดเจน
ยกตัวอย่างเช่น ไม้กลายเป็นหิน รอยเท้าไดโนเสาร์ สืบค้นจาก เวป
ไซต์เพิ่มเติม 22
รูปแบบและชนิดของซากดึกดาบรรพ์
โดยทั่วไปซากดึกดาบรรพ์ที่ค้นพบจะมี 2 รูปแบบ
ใหญ่ ๆคือ
• ซากดึกดาบรรพ์ที่เป็นร่องรอย (trace fossils)
• ซากดึกดาบรรพ์ที่เป็นรูปร่าง (body fossils)
23
ซากดึกดาบรรพ์ที่เป็นร่องรอย
•ซากที่เกิดจากกิจกรรมของสิ่งมีชีวิตในอดีตที่อาศัย
อยู่ ณ บริเวณนั้น ส่วนมากจะเห็นเป็นร่องรอย
ไม่ได้เป็นกระดูกหรือโครงร่าง
•ตัวอย่างเช่น รอยกัดแทะ ช่องหรือรูที่อยู่อาศัย
รังและไข่ของสัตว์ รูหากิน
24
รอยเท้าไดโนเสาร์กินเนื้อบนหินทรายแสดงถึงการเดินหากินใน
พื้นทรายริมน้าในอดีตเมื่อประมาณ 135 ล้านปีที่ผ่านมา
ภาพจากบริเวณภูแฝก กิ่งอาเภอนาคู จังหวัดกาฬสินธุ์ 25
รูปพิมพ์ของรูหากินสัตว์ทะเลบริเวณที่ราบน้าขึ้นถึง เมื่อประมาณ 5,000 ปีที่ผ่านมา
ภาพจากบริเวณบ้านปากบ่อ อาเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร
26
ซากดึกดาบรรพ์ที่เป็นรูปร่าง
ซากดึกดาบรรพ์ขนาดเล็ก
– ประเทศไทยมีซากดึกดาบรรพ์ขนาดเล็กหลายชนิด
บอกอายุ
– อาจมองเห็นด้วยตาเปล่าหรือไม่เห็น
– มีทั้งซากพืช(เป็นส่วนของเรณู ) และสัตว์
(ไดอะทอไมต์ ) 27
ไดอะตอมขยาย 350
เท่า ผ่านกล้อง
จุลทรรศน์อิเล็กตรอน
แบบส่องกราด มีอายุ
ตั้งแต่ 25 ล้านปีที่ผ่าน
มาจนถึงปัจจุบัน พบอยู่
ในชั้นตะกอนบริเวณที่
ลุ่ม อาเภอศรีมโหสถ
จังหวัดปราจีนบุรี 28
ชั้นของไดอะทอไมต์ที่ทับถมยึดกันแน่นอยู่ใต้ชั้นกรวดทราย
บริเวณเหมืองบ้านฟ่อน จังหวัดลาปาง 29
ซากดึกดาบรรพ์ของฟิวซูลิ
นิด ในหินปูนบริเวณ
บ้านหนองหิน อาเภอ
หนองไผ่ จังหวัด
เพชรบูรณ์ อายุประมาณ
290 ล้านปี ภาพใน
กรอบเล็กขยายให้เห็นห้อง
หลายๆ ห้องที่ประกอบ
กันเป็นฟิวซูลินิด ซึ่งเป็น
สัตว์ทะเลที่สูญพันธุ์แล้ว
จัดเป็นซากดึกดาบรรพ์
ดัชนี 30
ซากดึกดาบรรพ์ของพืช
– พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีประวัติยาวนาน ตั้งแต่เริ่มแรกของโลก
ในยุคพรีแคมเบรียน (สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน )
– ซากดึกดาบรรพ์ของสาหร่ายจะพบน้อยมาก
– มักพบในหินที่สะสมตัวในสภาพแวดล้อมเป็นกรด
31
ซากดึกดาบรรพ์ของใบเฟิร์น
(Gleichenoides
frantiensis) ในหินทราย
แป้งสีเทาปนเขียวอายุ
ประมาณ 135 ล้านปีที่ผ่าน
มาริมถนนสายตรัง-สิเกา
(ก.ม. 27.1) จังหวัดตรัง
32
ไม้กลายเป็นหินพบใน
หินทรายแป้งอายุ
ประมาณ200ล้านปี
บริเวณแหลมจมูกควาย
อาเภอเมือง
จังหวัดกระบี่
33
• 2.3 ซากดึกดาบรรพ์ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
– พบมากที่สุด เพราะสัตว์พวกนี้มีเปลือกแข็ง
– เด่นชัดในยุคแคมเบรียน (545 ล้านปีที่ผ่านมา)
– แมงกระพรุนจะพบเห็นเป็นซากดึกดาบรรพ์น้อย
– แต่ซากดึกดาบรรพ์ส่วนใหญ่ที่พบเป็นพวกปะการัง
– ซากดึกดาบรรพ์ที่สาคัญซึ่งพบในไทย เป็นพวก
“อาร์โทรพอด” ซึ่งได้แก่สัตว์ที่มีกระดอง
34
ซากดึกดาบรรพ์ของปะการัง
ในหินปูนชนิดเวนซีลอยเดส
(Wentzelloides sp.)
อายุประมาณ 250 ล้านปี
บริเวณวัดวิสุทธิมรรคาราม
อาเภอวิเชียรบุรี จังหวัด
เพชรบูรณ์
35
ซากดึกดาบรรพ์ของปูในบริเวณที่น้าขึ้นถึงเดิม(old tidal flat)
อายุประมาณ 5,000 ปี ก่อนปัจจุบัน A-B เป็นด้านหน้าและหลังของตัวอย่าง
จากจังหวัดตราด C-D เป็นด้านหน้าและหลังของตัวอย่างจากบ้านแพรกษา
จังหวัดสมุทรปราการ 36
ซากดึกดาบรรพ์ของปลาดาวเปราะในหินทรายแป้ง (Eospondylus sp.)
อายุประมาณ 345 ล้านปีที่ผ่านมา บริเวณอาเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์
ธานี 37
2.4 ซากดึกดาบรรพ์สัตว์มีกระดูกสันหลัง
– มักจะเป็นส่วนแข็งของร่างกาย
– เริ่มพบตั้งแต่ยุคไซลูเรียนถึงดีโวเนียน
– ซากดึกดาบรรพ์ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเป็นซาก
ดึกดาบรรพ์ที่พบน้อย เนื่องจากสัตว์มีกระดูกสัน
หลังส่วนใหญ่จะอาศัยอยู่บนบกและเมื่อล้มตายลง
การเก็บรักษาซากเป็นไปได้ยากกว่าในน้า
38
ซากดึกดาบรรพ์ของปลาในหินดินดานปนทราย พบมากเมื่อประมาณ 50
ล้านปีที่ผ่านมา (ยุคเทอร์เชียรี) ส่วนมากเป็นปลาน้าจืดที่อาศัยอยู่ในหนอง
หรือทะเลสาบ 39
ฟอสซิลต้นตระกูลนก
Archaeopteryx : อาคีออปเทอร์ริกซ์ 40
ฟอสซิลนกโบราณ
(Archaeopteryx)
อายุ 140 ล้านปี
มีลักษณะกึ่งกลาง
ระหว่างสัตว์เลื้อยคลาน และนก
มีฟัน ขาหน้า และขาหลัง
คล้ายบรรพบุรุษของสัตว์เลื้อยคลาน
และมีลักษณะอื่น เช่น
ขนนก ที่คล้ายกับ นกปัจจุบัน
Transitional fossil เชื่อมโยง อดีต กับ ปัจจุบัน
เรียก
41
ฟอสซิลต้นตระกูลนก
• เกิดขึ้นได้ยากมาก เนื่องจาก กระดูกของมัน
มี ลักษณะเบา เป็นรูพรุน
• นักวิทยาศาสตร์ ส่วนใหญ่เชื่อกันว่า นก และ สัตว์
เลี้ยงลูกด้วยนม ล้วนมีวิวัฒนาการมาจาก
สัตว์เลื้อยคลาน
• บรรพบุรุษ ของนกในยุคปัจจุบันเกิดขึ้น
เมื่อ 35 ล้านปีมาแล้ว 42
43
44
ซากชีวิตที่เกิดจากการแทนที่ของสารอื่น
เช่น ซิลิคา แทนที่ส่วนที่เป็นเนื้ออ่อนของสิ่งมีชีวิต
เกลือคาร์บอเนตแทนที่อวัยวะภายในของสิ่งมีชีวิต
โครงร่างของ ichthyosaur 45
ตัวอย่างซากดึกดาบรรพ์
46
47
ซากดึกดาบรรพ์ของ กลอสซอฟเทอริส
48
ซากชีวิตที่อยู่ครบบริบูรณ์
เช่น ซากของตัวแมลงที่ฝังอยู่ในทุ่งหิมะของไซบีเรีย
หรือแมลงที่พบอยู่ในแท่งอาพันเป็นต้น
แมลงที่พบอยู่ในแท่งอาพัน 49
50
51
ยุคไทรแอสสิก (Triassic period)
248-213 ล้านปีก่อน
ยุคไทรแอสสิก เป็นช่วงเวลาเริ่มต้นแห่งยุคไดโนเสาร์ สันนิฐาน
กันว่าแผ่นดินทั้งหมดในโลกแผ่ติดกัน เป็นทวีปอันกว้างใหญ่
เรียกว่า “พันเจีย” แผ่นดิน ทั่วไปในยุคนี้จะมีอากาศที่อบอุ่นเว้นแต่
พื้นที่ส่วนใน ของทวีปซึ่งอยู่ห่างไกลทะเล จะมีสภาพเป็นทะเลทราย
เพราะลมไม่สามารถพัดพาความชุ่มชื้น จากพื้นน้าทะเล เข้าไปถึง
ไดโนเสาร์ในยุคไทรแอสสิกนั้น ตัวไม่ใหญ่ พอปลายยุคจะมี
ไดโนเสาร์ กินเนื้อขนาดเล็กและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
52
ยุคจูแรสสิก (Jurassic period)
213-144 ล้านปีมาแล้ว
• ยุคนี้เป็นช่วงกลางของไดโนเสาร์ มีพืชจาพวก ปรง เฟิร์น จิงโก้ และมี
ต้นสนขนาดใหญ่ ส่วนสัตว์มีทั้งพวกไดโนเสาร์กินพืชและไดโนเสาร์กิน
เนื้อ ขนาดใหญ่และขนาดเล็ก เช่น คอมพ์ซอกนาธัส มีไดโนเสาร์หุ้ม
เกราะ และมีสัตวคล้ายจระเข้อยู่ในแหล่งน้าอีกด้วยสัตว์จาพวกที่เลี้ยง
ลูกด้วยนมในยุค นี้ส่วนใหญ่จะมีขนาดเล็ก ไม่สามารถเทียบกับ
ไดโนเสาร์ได้ จึงมักหลบซ่อนอยู่ในโพรงไม้ โพรงถ้า หรือขุดรูอยู่ใต้ดิน
และออกหากินเวลากลางคืน
53
ยุคครีเตเซียส (Cretaceus)
144-65 ล้านปีมาแล้ว
• ในยุคครีเตเซียสนี้มีพืชดอกหลายชนิด มีไดโนเสาร์กิน
เนื้อขนาดใหญ่ที่สุด คือ ไทรันโนซอรัส มีไดโนเสาร์
ปากเป็ดและไดโนเสาร์คล้ายนกไม่มีฟัน ส่วนสัตว์อื่นมี
ประเภท กบ ซาลามานเดอร์ เต่า กิ้งก่า งู จระเข้ นก
น้า สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ขนาดเล็ก หลังจากผ่านยุคนี้
ไปไดโนเสาร์และสัตว์อื่นๆ ก็สูญพันธุ์ไปหมดโดยที่ ไม่
ทราบสาเหตุที่แน่ชัด 54
แหล่งซากไดโนเสาร์ของประเทศไทย
• ส่วนมากอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
• ในชั้นหินทราย หินทรายแป้ง
• พบในยุคไทรแอสสิกตอนปลายถึงยุคครีเตเชียสตอนกลาง
• อายุ 200 – 100 ล้านปีที่ผ่านมา
• ไดโนเสาร์ชนิดแรกที่พบคือ สยามโมซอรัส สุธีธรนี
55
ฟอสซิลไดโนเสาร์
56
สยามโมซอรัส สุธีธรนี
(Siamosaurus suteethorni )
• ยุค : ครีเตเซียสตอนต้น ประมาณ 130 ล้านปีมาแล้ว
ไดโนเสาร์ชนิดแรกของไทย ตั้งชื่อให้เป็นเกียรติแก่
นายวราวุธ สุธีธร ผู้สารวจ เป็นเทอโรพอดขนาดใหญ่ มี
ความยาวประมาณ 7 เมตร ลักษณะฟันรูปทรงกรวย มีแนว
ร่องและสันเรียงสลับตลอด ฟันคล้ายของจระข้
• สถานที่พบ : ภูเวียง ภูกุ้มข้าว ภูนาขาม ภูผาโง
• พบครั้งแรกในไทย ปี 1986
57
สยามโมซอรัส สุธีธรนี
(Siamosaurus suteethorni )
58
ซากดึกดาบรรพ์ของไดโนเสาร์กินพืช ประกอบด้วยลาตัวสะโพก
และหางม้วนตวัดขึ้นไป ส่วนหัวหายไป อายุประมาณ 135 ล้านปีที่
ผ่านมา บริเวณภูกุ้มข้าว อาเภอสหัสขันท์ จังหวัดกาฬสินธุ์59
ฟอสซิลฟันของสยามโมซอรัส พบที่ขอนแก่น
60
ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน
(Phuwianggosaurus sirindhornae)
• ยุค : ครีเตเซียสตอนต้น ประมาณ 130 ล้านปีมาแล้ว
ไดโนเสาร์ซอโรพอดชนิดแรกของไทย ตั้งชื่อให้เป็นเกียรติแก่
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ผู้ทรงสน
พระทัยในงานด้านโบราณชีววิทยา เป็นเทอโรพอดขนาดกลาง
มีความยาวประมาณ 15-20 เมตร เดิน 4 เท้า คอยาว กินพืช
เป็นอาหาร
• สถานที่พบ : บริเวณห้วยประตูตีหมา อ.ภูเวียง จ.ขอนแก่น
• พบครั้งแรกในไทยปี 1994 61
ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน
62
63ภูเวียงโกซอรัส สิรินธรเน
64
65
สยามไมไทรันนัส อิสานเอนซิส
(Siamotyrannus isanensis)
66
• ยุค : ครีเตเซียสตอนต้น
ประมาณ 130 ล้านปีมาแล้ว
เป็นไดโนเสาร์กินเนื้อขนาดใหญ่
มีความยาวประมาณ 7 เมตร
ขาหลังมีขนาดใหญ่และแข็งแรง
• สถานที่พบ : ที่บริเวณหิน
ลาดยาว ภูเวียง จังหวัด
ขอนแก่นเมื่อเดือนสิงหาคม
ปี 1996
A dinosaur fossil found within the remains of a mammal 67
• เป็นไดโนเสาร์กินเนื้อขนาดเล็กที่มีลักษณะคล้ายนก มีหัว
ขนาดเล็กคอ ขา และหางยาว ส่วนแขนสั้น มีมือข้างละ 3
นิ้ว มีเล็บแหมลโค้ง มีฟันแหลมคมไว้กัดกินแมลงและ
สัตว์เลื้อยคลานตัวเล็กๆ มีขนาดลาตัวประมาณ 2 ฟุตและ
มีน้าหนักเพียง 3 กิโลกรัม ในประเทศไทยพบกระดูกขา
หลังท่อนล่าง กระดูกขาหน้าชิ้นบนอย่างละชิ้นของ
ไดโนเสาร์
• สถานที่พบที่ภูประตูตีหมา อาเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น มีความ
ยาวประมาณ 70 เซนติเมตร น้าหนักประมาณ 3.5 กิโลกรัม
คอมพ์ซอกนาธัส (Compsognathus logipes)
68
คอมพ์ซอกนาธัส
69
ประโยชน์ของซากดึกดาบรรพ์
• ซากดึกดาบรรพ์แสดงถึงความเปลี่ยนแปลงและความก้าวหน้า
ทางวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
• ทราบถึงความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสภาพแวดล้อมในอดีต
• นอกจากนั้นซากดึกดาบรรพ์ยังทาให้เรียนรู้ถึงกฎเกณฑ์การดารง
ชีพของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด
• เป็นเหมือนลายแทงในการสารวจหาแหล่งปิโตรเลียม ก๊าซ
ธรรมชาติและถ่านหิน
• ยืนยันถึงการแปรสัณฐานของแผ่นธรณีภาค
• เป็นหลักฐานใช้ศึกษาหาความสัมพันธ์ของชั้นหินตะกอน 70
•ซากดึกดาบรรพ์ที่ค้นพบในแต่ละพื้นที่มี
ความสาคัญอย่างไร สามารถบอก
ประวัติความเป็นมาของพื้นที่นั้นได้อย่างไร
ซากดึกดาบรรพ์สามารถบอกวิวัฒนาการ
การเปลี่ยนแปลงและอายุของพื้นที่นั้นๆ
71
หน่วยเวลาของธรณีกาล
นักวิทยาศาสตร์ได้แบ่งธรณีกาลออกเป็น
มหายุค (era)
ยุค (period)
สมัย (epoch)
ช่วงอายุ ( age)
ตามลาดับ
72
73
Historical geology
74
75
วิวัฒนาการของมนุษย์
76
วิวัฒนาการของมนุษย์
77
วิวัฒนาการของมนุษย์
78
วิวัฒนาการของมนุษย์
79
วิวัฒนาการของมนุษย์
80
วิวัฒนาการของมนุษย์
81
วิวัฒนาการของมนุษย์
82
วิวัฒนาการของมนุษย์
83
วิวัฒนาการของมนุษย์
84
วิวัฒนาการของมนุษย์
85
86
การหาอายุหินโดยการใช้คานวณจากครึ่งชีวิตของธาตุ
กัมมันตรังสี เป็นการหาอายุหินแบบใด
เวลาสัมพัทธ์ อายุสัมบูรณ์
อายุเปรียบเทียบ อายุเทียบสัมพันธ์
87
การทับถมของซากดึกดาบรรพ์ ควรเกิดที่บริเวณใดมาก
ที่สุด
ส่วนที่เป็นทวีป ในยางไม้
ทะเลมหาสมุทร ในทะเลสาบลึกๆ
88
แหล่งซากไดโนเสาร์ของประเทศไทย อยู่ในหินยุคใด
ไตรแอสสิกตอนต้น ถึงยุคจูแรสสิกตอนปลาย
ไตรแอสสิกตอนปลาย ถึงยุคครีเตเชียสตอนกลาง
ไตรแอสสิกตอนปลาย ถึงยุคครีเตเชียสตอนปลาย
ไตรแอสสิกตอนปลาย ถึงยุคจูแรสสิกตอนปลาย
89
แหล่งซากไดโนเสาร์ในประเทศไทยอยู่ในชั้นหินชนิดใด
หินทราย หินทรายแป้ง หินทรายสลับหินดินดาน
หินปูน หินทราย
90
91
การหาอายุหินโดยการใช้คานวณจากครึ่งชีวิตของธาตุ
กัมมันตรังสี เป็นการหาอายุหินแบบใด
เวลาสัมพัทธ์ อายุสัมบูรณ์
อายุเปรียบเทียบ อายุเทียบสัมพันธ์
92
การทับถมของซากดึกดาบรรพ์ ควรเกิดที่บริเวณใดมาก
ที่สุด
ส่วนที่เป็นทวีป ในยางไม้
ทะเลมหาสมุทร ในทะเลสาบลึกๆ
93
แหล่งซากไดโนเสาร์ของประเทศไทย อยู่ในหินยุคใด
ไตรแอสสิกตอนต้น ถึงยุคจูแรสสิกตอนปลาย
ไตรแอสสิกตอนปลาย ถึงยุคครีเตเชียสตอนกลาง
ไตรแอสสิกตอนปลาย ถึงยุคครีเตเชียสตอนปลาย
ไตรแอสสิกตอนปลาย ถึงยุคจูแรสสิกตอนปลาย
94
แหล่งซากไดโนเสาร์ในประเทศไทยอยู่ในชั้นหินชนิดใด
หินทราย หินทรายแป้ง หินทรายสลับหินดินดาน
หินปูน หินทราย
95

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03Chay Kung
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพTa Lattapol
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีsoysuwanyuennan
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรงTaweesak Poochai
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงrutchaneechoomking
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานWeerachat Martluplao
 
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2Wichai Likitponrak
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์Ta Lattapol
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติnaleesaetor
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8Varin D' Reno
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศPinutchaya Nakchumroon
 
Astronomy 02
Astronomy 02Astronomy 02
Astronomy 02Chay Kung
 

La actualidad más candente (20)

Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพบทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 2 การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
 
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
หิน
หินหิน
หิน
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลงสื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
สื่อการสอนเรื่องโลกและการเปลี่ยนแปลง
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติ
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
Astronomy 02
Astronomy 02Astronomy 02
Astronomy 02
 
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะเอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
เอกภพ กาแล็กซี่ และระบบสุริยะ
 

Similar a ธรณีประวัติ

Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...krunrita
 
ธรณีกาล605
ธรณีกาล605ธรณีกาล605
ธรณีกาล605Fluofern
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาmocxx
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะnative
 
Sea animals in Thailand
 Sea animals in Thailand Sea animals in Thailand
Sea animals in Thailandnewja
 
9789740331315
97897403313159789740331315
9789740331315CUPress
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์Surapol Imi
 
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตบทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตฟลุ๊ค ลำพูน
 

Similar a ธรณีประวัติ (20)

Pim
PimPim
Pim
 
Pim
PimPim
Pim
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
 
A2 thai-history
A2 thai-historyA2 thai-history
A2 thai-history
 
ธรณีกาล
ธรณีกาลธรณีกาล
ธรณีกาล
 
ธรณีกาล605
ธรณีกาล605ธรณีกาล605
ธรณีกาล605
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
 
นำเสนอโลก
นำเสนอโลกนำเสนอโลก
นำเสนอโลก
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Sea animals in Thailand
 Sea animals in Thailand Sea animals in Thailand
Sea animals in Thailand
 
9789740331315
97897403313159789740331315
9789740331315
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
โลกดึกดำบรรพ์โคราช
โลกดึกดำบรรพ์โคราชโลกดึกดำบรรพ์โคราช
โลกดึกดำบรรพ์โคราช
 
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
 
1ธรรมชาติของฟิสิกส์
1ธรรมชาติของฟิสิกส์1ธรรมชาติของฟิสิกส์
1ธรรมชาติของฟิสิกส์
 
Contentastrounit1
Contentastrounit1Contentastrounit1
Contentastrounit1
 
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตบทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์
 

Más de เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham

ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 

Más de เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham (11)

เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 
ใบงานเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรี
ใบงานเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรีใบงานเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรี
ใบงานเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรี
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
ระบบย่อยอาหาร3
ระบบย่อยอาหาร3ระบบย่อยอาหาร3
ระบบย่อยอาหาร3
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชน
 

ธรณีประวัติ