SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 8
Descargar para leer sin conexión
ใบความรู้ที่ 1.1 เรื่อง การเลือกใช้ซอฟต์แวร์ที่เหมาะสม
รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 5 รหัสวิชา ง 33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เวลา 0.10 ชั่วโมง
*********************************************************
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ส่วนที่ทาหน้าที่เป็นคาสั่งที่ใช้ควบคุมการทางานของเครื่อง
คอมพิวเตอร์ หรืออาจเรียกว่า “ โปรแกรม ” ก็ได้ ซึ่งหมายถึงคาสั่งหรือชุดคาสั่ง สามารถใช้เพื่อสั่งให้
คอมพิวเตอร์ทางาน เราต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทาอะไรก็เขียนเป็นคาสั่งที่จะต้องสั่งเป็นขั้นตอน และแต่
ละขั้นตอนต้องทาอย่างละเอียดและครบถ้วนก็จะเรียกว่า นักเขียนโปรแกรม (Programmer) สาหรับการเขียน
โปรแกรมดังกล่าวใช้ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมโดยเฉพาะ หรือหมายถึง ภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์
สามารถเข้าใจได้ เช่น ภาษาเบสิก ภาษาโคบอล ภาษาปาสคาล เป็นต้น โปรแกรมที่เขียนขึ้นมาก็จะนาไปใช้ใน
งานเฉพาะอย่าง เช่น โปรแกรมสต็อกสินค้าคงคลัง โปรแกรมคานวณภาษี โปรแกรมคิดเงินเดือนพนักงาน
เป็นต้น
เครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันได้พัฒนาเทคโนโลยีให้สามารถประมวลผลได้เร็วขึ้น แต่ราคาถูกลงกว่า
แต่ก่อนมาก การเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้งานทาได้ง่าย มีให้เลือกหลากหลายรุ่นตามร้านค้าทั่วไป แต่
ผู้ใช้งานควรพิจารณาว่าจะนาคอมพิวเตอร์มาใช้เพื่อทางานด้านใด เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์มีทั้งแบบที่ใช้ได้
กับงานทุกประเภทหรืองานเฉพาะด้าน แม้ว่าราคาเครื่องอุปกรณ์ต่างๆจะถูกลง แต่ผู้ใช้ควรเลือกคอมพิวเตอร์
ให้เหมาะสมกับการใช้งานเพื่อให้คุ้มค่ากับจานวนเงิน ตัวอย่างของการเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ตามลักษณะ
ของงานแต่ละประเภท เช่น
งานเอกสาร หรืองานในสานักงาน เป็นการใช้คอมพิวเตอร์สาหรับจัดการด้านเอกสารรายงาน ตกแต่ง
ภาพ ทาการ์ดอิเล็กทรอนิกส์ ดูภาพยนตร์หรือสื่อทางการศึกษา ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต ใช้
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เช่น ซอฟแวร์ประมวลคา และซอฟแวร์ตารางทางาน เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานประเภท
นี้ไม่จาเป็นต้องใช้ซีพียูที่มีความเร็วสูง คือประมาณ 1 GHz ขึ้นไป แต่ควรมีแรมอย่างน้อย 1 GB และอาจ
เลือกใช้จอภาพแบบแอลซีดีขนาดใหญ่ 17 – 19 นิ้ว เพื่อถนอมสายตา เนื่องจากลักษณะงานต้องจ้องมอง
จอภาพตลอดเวลา
งานกราฟิก เป็นใช้คอมพิวเตอร์สาหรับการตกแต่งและออกแบบภาพ และมีการเรียกใช้งานโปรแกรม
หราฟิกหลายๆ โปรแกรมในเวลาเดียวกัน ใช้ซอฟแวร์กราฟิกในการสร้างชิ้นงาน เช่น งานสิ่งพิมพ์ งานนาเสนอ
แบบมัลติมีเดีย สร้างเว็บไซต์ ติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต โดยมีการรับ-ส่งข้อมูลจานวนมากที่มีทั้งภาพ เสียง
ภาพเคลื่อนไหว เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในงานประเภทนี้จาเป็นต้องมีซีพียูที่มีความเร็วอยู่ในระดับปานกลางถึง
ค่อนข้างสูง ประมาณ 2 GHz ขึ้นไปใช้แรมอย่างน้อย 2 GB ขึ้นไป และมีฮาร์ดดิสก์ที่มีความจุสูงเพื่อใช้ในการ
เก็บข้อมูลจานวนมาก
งานออกแบบที่ต้องแสดงผลเป็น 3 มิติ เป็นการออกแบบภาพ 3 มิติ สร้างภาพยนตร์ สร้างการ์ตูน
แอนิเมชัน (animation) ตัดต่อวีดีทัศน์ ตัดต่อเพลง เล่นเกมที่มีกราฟิกสูง งานประเภทนี้ต้องการเครื่อง
คอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถในการคานวณและแสดงภาพความละเอียดสูงสุดได้ ดังนั้น ควรเลือกซีพียูที่มี
ความเร็วไม่น้อยกว่า 2 GHz มีแรมอย่างน้อย 4 GB การ์ดแสดงผลที่สามารถแสดงภาพที่มีความละเอียดสูงได้ดี
ควรใช้จอภาพขนาดไม่ต่ากว่า 24 นิ้ว และควรมีเครื่องสารองไฟเนื่องจากการทางานประเภทนี้คอมพิวเตอร์
ต้องใช้เวลาในการประมวลผลนานถ้าหากไฟดับหรือไฟกระตุกจะไม่สะดวกในการเริ่มทางานใหม่
ประเภทของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์จะแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ ประเภท คือ
1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Software)
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
คือซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ที่ออกแบบขึ้นมาเพื่อปฏิบัติการกับฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และเพื่อจัดเตรียม
และบารุงรักษาแพลตฟอร์มจากการทางานของโปรแกรมประยุกต์
ซอฟต์แวร์ระบบพื้นฐานที่สุดมีดังนี้
ไบออสของคอมพิวเตอร์และเฟิร์มแวร์ของอุปกรณ์ ซึ่งมีเครื่องมือพื้นฐานสาหรับปฏิบัติการและ
ควบคุมฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อหรือติดตั้งในคอมพิวเตอร์
ระบบปฏิบัติการ (ตัวอย่างที่เด่น ๆ เช่น ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ แมคโอเอสเท็น และลินุกซ์) ซึ่งแบ่งสรร
ให้ส่วนต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ทางานร่วมกันโดยรับภาระงานอาทิ การส่งผ่านข้อมูลระหว่างหน่วยความจากับ
จานบันทึก หรือการส่งข้อมูลออกทางอุปกรณ์แสดงผล และยังมีแพลตฟอร์มเพื่อทางานซอฟต์แวร์ระบบ
ระดับสูงและโปรแกรมประยุกต์ด้วย
ซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์ ซึ่งช่วยวิเคราะห์ ปรับแต่ง ทาให้เหมาะสม และบารุงรักษาคอมพิวเตอร์ใน
ตาราบางเล่ม คาว่า ซอฟต์แวร์ระบบ หมายรวมถึงเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ด้วย (เช่น คอมไพเลอร์
ลิงเกอร์ หรือดีบักเกอร์ เป็นต้น)
โดยทั่วไปมิได้หมายความว่า ผู้ใช้จะต้องซื้อคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานซอฟต์แวร์ระบบ แทนที่จะเป็นอย่าง
นั้น อาจมองว่าซอฟต์แวร์ระบบเป็นสิ่งพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ที่มีมากับเครื่องหรือติดตั้งไว้ก่อนแล้ว ในทาง
ตรงข้ามกับซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ที่ผู้ใช้สามารถกระทาการต่าง ๆ อาทิสร้างเอกสารข้อความ เล่นเกม ฟัง
เพลง หรือท่องเว็บ เช่นนี้เรียกว่าโปรแกรมประยุกต์
ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/ซอฟต์แวร์ระบบ
โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utilities Program)
เรียกสั้นๆ ว่า ยูทิลิตี้ เป็นโปรแกรมประเภทหนึ่งที่ทางานบนระบบปฏิบัติการ ส่วนมากใช้เพื่อ
บารุงรักษาและเพิ่มประสิทธิภาพการทางานของคอมพิวเตอร์ คุณสมบัติการใช้งานนั้นค่อนข้างหลากหลาย
ยูทิลิตี้แบ่งออกเป็นสองชนิดคือ ยูทิลิตี้สาหรับระบบปฏิบัติการ (OS utility program) และ ยูทิลิตี้อื่นๆ
(stand-alone utility program) ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/โปรแกรมอรรถประโยชน์
ซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะด้าน (Special Purpose Software)
ซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะด้าน เป็นซอฟต์แวร์ที่ผลิตขึ้นมาเพื่อทางานอย่างใดอย่างหนึ่ง และไม่
สามารถ ทางานอื่นได้ เช่น โปรแกรมระบบบัญชี โปรแกรมเพื่องานออกแบบ โปรแกรมช่วยงานอุตสาหกรรม
เป็นต้น
1. โปรแกรมระบบบัญชี (Accounting) เช่น ระบบบัญชีเงินเดือน ลูกหนี้ ระบบเช่าซื้อบัญชี แยก
ประเภท
2. โปรแกรมช่วยงานอุตสาหกรรม CAM (Computer-Aided Manufactory and Composition And
Make-up) ซอฟต์แวร์ชนิดนี้ใช้สาหรับงานด้านอุตสาหกรรมเป็นส่วนใหญ่ เช่น ใช้คอมพิวเตอร์ดูแลและควบคุม
เครื่องจักรกลแทนคน หรืองานประเภทที่ต้องทาซ้าๆ กัน ครั้งละมากๆ (Mass-production)
3. โปรแกรมช่วยในการเรียนการสอน CAI (Computer-Assisted Instruction)โดยการใช้คอมพิวเตอร์
หรือจาลองตัวเองเป็นสื่อในการเรียนการสอนประกอบกับรูปภาพ(เคลื่อนไหว) ในลักษณะต่างๆ ซึ่งทาให้ง่าย
ต่อความเข้าใจ
4. เกม (Game) สาหรับผ่อนคลายหลังจากการใช้เครื่องแต่ส่วนใหญ่นิยมเล่นเพื่อความเพลิดเพลินกว่า
ตัวอย่างของเกมเหล่านี้ได้แก่ โปรแกรมเกมต่างๆ ตามห้างสรรพสินค้า(Arcade game) เกมบนกระดาน
(Board game) เช่น หมากรุก โมโนโปลีฯลฯ เกมส์ไพ่(Card) เกมเสมือนหรือจาลอง
5. โปรแกรมเพื่องานออกแบบหรือ CAD (Computer-Aidea Design) เช่น AutoCadAutoLISP และ
DisgnCAD เป็นต้น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ใช้สาหรับการออกแบบผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ และงาน
ออกแบบทางด้านสถาปัตยกรรม
6. โปรแกรมตรวจสอบ/ป้องกันไวรัส (Anti-Virus) มีไว้เพื่อป้องกันการโจมตีของไวรัสคอมพิวเตอร์ และ
มักจะมีคาสั่งให้ทาลายล้างไวรัสออกจากเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น McAfeevirus scan, AVI-scan, Norton
Anti-virus เป็นต้น
7. โปรแกรมมัลติมีเดีย (Multimedia) เป็นซอฟต์แวร์ใช้สาหรับสร้างโปรแกรม CAIหรือทา
Presentation หรือใช้สาหรับดูหนัง ฟังเพลง เช่น Multimedia Toolbook, XingMPEG, Authorware,
PowerDVDชนิดอื่นๆ เช่น ระบบธุรกิจต่างๆ งานทาดนตรีงานตัดต่อภาพยนตร์ การวางแผนงาน งานศิลปะ
งานวาดรูป การประมาณการ วิเคราะห์ งานพัฒนา การบริหารโครงงาน
ที่มา : http://www.learners.in.th/blogs/posts/283614
ซอฟต์แวร์สาหรับงานทั่วไป (General purpose Software)
จะเป็นซอฟต์แวร์ที่ออกแบบมาสาหรับงานทั่ว ๆ ไป สามารถนามาประยุกต์ใช้กับงานส่วนตัวได้อย่าง
หลากหลาย ทาให้เป็นซอฟต์แวร์ประเภทที่ได้รับความนิยมสูงสุดในปัจจุบัน ซึ่งส่วนมากจะเป็นซอฟต์แวร์ที่
ทางานอยู่ในเครื่องระดับไมโครคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์สาหรับงานทั่วไป สามารถแบ่งตามประเภทของงานได้ดังนี้
ซอฟต์แวร์ตารางวิเคราะห์แบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Spreadsheet)
ธุรกิจในสมัยก่อนนั้นการทางบประมาณ หรือการวางแผนต่าง ๆ ต้องใช้กระดาษบัญชีและเครื่องคิด
เลขเท่านั้น สาหรับสมัยนี้ด้วยซอฟต์แวร์ตารางวิเคราะห์แบบอิเล็กทรอนิกส์ ผู้ใช้สามารถพิมพ์หัวข้อหรือชื่อของ
ข้อมูล และตัวเลขข้อมูลต่าง ๆ เข้าในคอมพิวเตอร์ โดยที่ในคอมพิวเตอร์จะมีตารางที่เปรียบเสมือนกระดาษ
บัญชีขนาดใหญ่ ซึ่งสามารถคานวณได้ตามสูตรที่ผู้ใช้ทาการกาหนด โดยที่สูตรเหล่านั้นจะไม่ปรากฏในช่องของ
ข้อมูลเลย ยิ่งไปกว่านั้นหากผู้ใช้เปลี่ยนตัวเลขหรือข้อมูลใด ๆ ก็ตาม จะเห็นการเปลี่ยนแปลงข้อมูลอื่นที่
เกี่ยวข้องกันในทันที ปัจจุบันมีผู้ใช้ประโยชน์ของตารางวิเคราะห์แบบอิเล็กทรอนิกส์มากมาย ไม่เฉพาะแต่
ในทางบัญชีเท่านั้น แต่ยังนิยมใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ บริหารการเงิน และอื่น ๆ อีกมาก
ซอฟต์แวร์ประมวลผลคา (Word processing)
ปัจจุบันเครื่องคอมพิวเตอร์มากกว่า 85 เปอร์เซ็นต์ ต้องติดตั้งโปรแกรมสาหรับงานพิมพ์เอกสาร
รวมอยู่ด้วย ซึ่งโปรแกรมนี้ทาให้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือสาหรับสร้าง แก้ไข ตรวจสอบ พิมพ์ และจัดเก็บ
ข้อความต่าง ๆ หนังสือที่จาหน่ายในท้องตลาดในปัจจุบันนี้ ส่วนมากก็เริ่มต้นจากการพิมพ์ข้อความลงใน
คอมพิวเตอร์ด้วยซอฟต์แวร์ที่ประมวลคา
ซอฟต์แวร์การพิมพ์แบบตั้งโต๊ะ (Desktop Publishing)
ในสมัยก่อนการจัดทาหนังสือพิมพ์ หรือวารสารต่าง ๆ นั้นต้องผ่านกระบวนการต่าง ๆ มากมาย
หลายขั้นตอนซึ่งรวมเรียกว่าการเรียงพิมพ์ โดยที่จะต้องมีผู้ตัดต่อรูปภาพที่ต้องการ วาดกรอบของภาพหรือ
กรอบหัวเรื่อง และเขียนข้อความ และนาข้อความ ภาพ และกรอบมาประกอบกันตามแบบที่ออกแบบไว้ การ
ทางานที่ยุ่งยากเหล่านี้นี่เองที่ทาให้เอกสารเหล่านั้นมีราคาแพง แต่ในปัจจุบันนี้ขอเพียงมีคอมพิวเตอร์ และ
โปรแกรมการจัดพิมพ์แบบตั้งโต๊ะ เท่านั้น ก็สามารถที่จะออกแบบงานหรือเอกสารให้เป็นที่น่าสนใจได้ โดย
ซอฟต์แวร์การพิมพ์แบบตั้งโต๊ะจะมีความสามารถด้านการจัดการเอกสาร ความสามารถด้านการเรียงพิมพ์
รวมทั้งการจัดสีที่สูงกว่าซอฟต์แวร์ประมวลผลคา
ซอฟต์แวร์นาเสนอ (Presentation Software)
เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการนาเสนอข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ โดยอาจประกอบด้วยตัวอักษร รูปภาพ
แผนผัง รายงาน ตลอดจนภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น นิยมใช้ในการเรียนการสอน หรือการประชุม เพื่อนาเสนอ
ข้อมูลให้การบรรยายนั้นน่าสนใจยิ่งขึ้น
ซอฟต์แวร์กราฟิก (Graphic Software)
เป็นซอฟต์แวร์สาหรับสร้างภาพกราฟิกแบบต่าง ๆ การใช้งานในระดับเบื้องต้นอาจนาไปใช้
ประกอบการสร้างเอกสาร หรือการนาเสนอข้อมูล ส่วนการใช้ในระดับสูงอาจใช้สาหรับการตกแต่งภาพหรือรูป
ถ่าย หรือใช้สาหรับงานด้านศิลปกรรม สถาปัตยกรรม วิศวกรรม เป็นต้น
ซอฟต์แวร์ฐานข้อมูล (Database)
โปรแกรมฐานข้อมูลเป็นโปรแกรมสาหรับสร้างแฟ้มข้อมูลต่าง ๆ เก็บไว้ในสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดย
โปรแกรมจะมีเครื่องมือต่าง ๆ ในการอานวยความสะดวกเกี่ยวกับการจัดการแฟ้มข้อมูล เช่น มีเครื่องมือ
สาหรับการเพิ่มหรือแก้ไขข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ หรือสามารถเรียกแฟ้มข้อมูลนั้นขึ้นมาแสดงบนจอภาพโดยกาหนด
เงื่อนไขให้เลือกข้อมูลมาแสดงเพียงบางส่วน เป็นต้น
ซอฟต์แวร์สื่อสารโทรคมนาคม (Telecommunication Software)
ถ้าผู้ใช้ต้องการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกลออกไป สามารถทาได้โดยใช้ซอฟต์แวร์สาหรับ
ติดต่อสื่อสารข้อมูล ซอฟต์แวร์ประเภทนี้จะจาลองเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นเทอร์มินัล (terminal) ที่สามารถ
ติดต่อไปยังระบบคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่มีผู้ใช้หลายคนได้โดยใช้สายโทรศัพท์ในการโทรติดต่อ และเมื่อ
ติดต่อได้แล้วก็จะสามารถใช้งานระบบต่าง ๆ ที่อยู่ในเครื่องนั้นได้ เสมือนกับนั่งใช้เครื่องอยู่ข้าง ๆ เครื่องที่เรา
ติดต่อเข้าไป การใช้งานที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน เช่น ร่วมคุยกับกลุ่มที่สนใจเรื่องเดียวกัน แลกเปลี่ยน
จดหมายกับผู้อื่นในระบบหรือแม้กระทั่งจองตั๋วเครื่องบินและจองโรงแรมผ่านทางจอคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
ซอฟต์แวร์ค้นหาข้อมูล (Resource Discovery Software)
หมายถึงซอฟต์แวร์ที่เป็นเครื่องมือสาหรับค้นหาข้อมูลที่ต้องการ จากแหล่งข้อมูลในที่ต่าง ๆ
เนื่องจากปัจจุบันนี้ความนิยมในการใช้การติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น อินเตอร์เน็ต หรือ
เครือข่ายเชิงพาณิชย์อื่น ๆ ช่วยให้สามารถเรียกค้นข้อมูลที่ต้องการทราบได้จากทั่วโลก ตัวอย่างซอฟต์แวร์
ประเภทนี้ เช่น Archie , Gopher และ World Wide Web เป็นต้น
หลักการเลือกคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับการใช้งาน
คอมพิวเตอร์มีคุณสมบัติการใช้งานที่หลากหลายเพื่อให้รองรับการทางานในแต่ละรูปแบบของแต่ละผู้ใช้
1.วิเคราะห์วัตถุประสงค์ของการใช้งาน
วิเคราะห์เพื่อให้รู้ว่าคุณสมบัตินั้นๆเหมาะสมกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ของเราหรือไม่
1.1 การใช้งานสานักงานและงานนาเสนอทั้วไป(Home & Office) การใช้งานระบบขั้นพื้นฐาน
ส่วนมากใช้ในการรายงาน โครงงาน หรือสไลด์เพื่อใช้ในการประกอบการศึกษา การใช้งานในลักษณะนี้จะเน้น
การนาเข้าข้อมูลด้วยแผงแป้นอักขระและเมาส์ แสดงผลทางหน้าจอหรือพิมพ์ออกมาเป็นเอกสาร
1.2 การใช้งานประมาณผล(Computing) การใช้งานประเภทนี้เป็นการใช้งานแบบนาเข้าข้อมูล
ด้วยตัวเลข การคานวณ ผลที่ออกมาจะแสดงผลอยู่ในรูปแบบจาลองกราฟิก 2 มิติหรือ 3 มิติทางจอแสดงผล
1.3 การใช้สื่อประสม(Multimedia) เป็นการใช้งานที่มีการนาเข้าข้อมูลอย่างหลากหลาย เช่น
ตัวเลข แผงแป้นอักขระ นาเข้าโดยอุปกรณ์เชื่อมต่อต่างๆ เป็นต้น ซึ่งการนาเข้าข้อมูลประเภทนี้ต้องการการ
ประมวลผลที่มากและใช้ทรัพยากรระบบค่อนข้างสูง ส่วนมากจะใช้ในการสร้างงาน ภาพเคลื่อนไหว แอนนิ
เมชั่น เป็นต้น
2.เลือกคอมพิวเตอร์ตามลักษณะการใช้งาน
คอมพิวเตอร์มีหลายประเภท และได้รับการพัฒนาเพื่อตอบสนองต่อการใช้งานที่เพิ่มมากขึ้นของผู้คน
ในปัจจุบัน
2.1 งานนอกสถานที่ งานนอกสถานที่เป็นงานที่ต้องการคอมพิวเตอร์ที่สามารถพกพาได้ สะดวก
และพร้อมใช้งานทุกสถานการณ์ พอจาแนกได้ดังนี้
1. คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ก(Notebook) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก พกพาสะดวก น้าหนักเบา
ขนาดเล็ก มีการเชื่อมต่อโดยเครือข่ายมีสายและไร้สาย การใช้งานนี้เหมาะสมสาหรับนักธุรกิจ นักการขาย
นักวิชาการ วิทยากรเป็นต้น
2. คอมพิวเตอร์เน็ตบุ๊ก(Net book) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กกว่าโน๊ตบุ๊ก มีอุปกรณ์
เชื่อมต่อเหมือนโน๊ตบุ๊กทุกประการ มีหน่วยความจากลางขาดจิ๋ว ไม่มีเครื่องอ่านแผ่นซีดี ดีวีดี น้าหนักเบากว่า
โน๊ตบุ๊ก เกิดความร้อนน้อย และราคาที่ถูกกว่าโน๊ตบุ๊กอีกด้วย
3. แท็บเลตคอมพิวเตอร์(Tablet Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่รวมอุปกรณ์ต่างๆไว้
ในหน้าจอสัมผัส โดยแสดงผลผ่านหน้าจอสัมผัสนั้น
2.2 งานในสถานที่ เป็นลักษณะงานในสานักงาน ไม่มีการเคลื่อนที่คอมพิวเตอร์ โดยมีองค์ประกอบ
หลักในการใช้งานดังนี้
1. เครื่องชุด เป็นคอมพิวเตอร์สาเร็จรูปที่ซื้อมาแล้วพร้อมใช้งาน เป็นคอมพิวเตอร์ที่เป็นชุด
เดียวกันหมดหรือบางครั้งอาจเรียกว่าเครื่องแบรนด์เนม ซึ่งมีผู้ผลิตรายเดียวกันหมดทั้งชุด มีข้อดีคือมีราคาที่
แน่นอน การออกแบบดี การติดตั้งโปรแกรมหรืออุปกรณ์ต่างๆได้มาตรฐาน ทันสมัย สวยงาม และ คงทน
2. เครื่องประกอบ เป็นคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้งานต้องซื้ออุปกรณ์ต่างๆมาประกอบเอง และลง
โปรแกรมเองทั้งหมด ดีที่จะได้คอมพิวเตอร์ตามสเป็คที่เราต้องการมากที่สุด ข้อเสียคือไม่มีการรับประกันสินค้า
ดังนั้นเวลามันพังมาอาจซ้อมยากหน่อย
3.การเลือกฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ให้เหมาะสมกับลักษณะงาน
ในการเลือกคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงานนั้น เมื่อได้วิเคราะห์วัตถุประสงค์และ
ลักษณะของการใช้งานแล้ว ผู้ใช้สามารถตัดสินใจเลือกคุณลักษณะฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ได้ง่ายขึ้น ในการ
กาหนดคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์นั้น จาเป็นต้องพิจารณาด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ไปพร้อมๆกัน
เนื่องจากพัฒนาของเทคโนโลยีทั้งด้านฮาร์ดแวร์ก่อน อาจจะส่งผลให้ไม่สามารถใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่
ต้องการได้ การเลือกคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ตามวัตถุประสงค์การใช้งานมีรายละเอียดดังนี้
3.1 การใช้งานสานักงานและงานนาเสนอทั่วไป
- มีหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ที่มีความเร็วสัญญาณนาฬิกามากกว่า 2.4 กิกะเฮิร์ต
- มีส่วนควบคุมการแสดงผลที่มีหน่วยความจามากกว่า 128 เมกะไบต์(MB)
- มีหน่วยความจาหลัก (RAM) ชนิดดีดีอาร์ทรี (DDR3) หรือดีกว่า มีขนาดมากกว่า 2 กิกะไบต์(GB)
- มีหน่วยความจัดเก็บข้อมูล (Hard Disk) ชนิด SATA หรือดีกว่า ขนาดความจุมากกว่า 250
กิกะไบต์ หรือมี Solid State Disk ขนาดความจุมากกว่า 30 กิกะไบต์จานวน 1 หน่วย
- มีเครื่องอ่านและเขียนดีวีดี หรือดีกว่า จานวน 1 หน่วย
- มีช่องเชื่อมต่อระบบเครือข่าย แบบ 10/100/1,000 เมกะไบต์ต่อวินาที จานวนไม่น้อยกว่า1ช่อง
- มีจอภาพ LCD มี Contrast Ratio มากกว่า 600:1 และมีขนาดมากกว่า 18 นิ้ว จานวนหนึ่ง
หน่วย
3.2 การใช้งานประมวล
- มีหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ได้น้อยกว่า 2 แกนหลัก (2 core) และมีความเร็วสัญญาณ
นาฬิกาไม่น้อยกว่า 2.5 กิกะเฮิร์ต และมีความเร็วของหน่วยความจา หรือมี HTT ขนาดไม่น้อยกว่า
1,066 เมกะเฮิร์ต
- มีหน่วยประมวลผลเพื่อแสดงภาพแยกจากแผ่งวงจรหลัก ที่มีหน่วยความจาขนาดมากกว่า 512
เมกะไบต์
- มีหน่วยความจาหลักชนิด DDR3 หรือดีกว่า มีขนาดมากกว่า 4 กิกะไบต์
- มีหน่วยจัดเก็บข้อมูล ชนิด เอเอสทีเอ หรือดีกว่า มีขนาดความจุมากกว่า 500 กิกะไบต์
จานวน 1 หน่วย
- ที่เหลือเหมือนข้อ 3.1
3.3 การใช้สื่อประสม
- มีหน่วยประมวลผลกลาง ไม่น้อยกว่า 4 แกนหลัก และมีความเร็วสัญญาณนาฬิกามากกว่า 2..6
กิกะเฮิร์ต และมีความเร็วของหน่วยความจาขนาดไม่น้อยกว่า 1,066 เมกะเฮิร์ต
- มีหน่วยประมวลผลเพื่อแสดงภาพแยกจากแผ่งวงจรหลัก ที่มีหน่วยความไม่น้อยกว่า 1 กิกะไบต์
- มีหน่วยจัดเก็บความจาหลัก ชนิดดีดีอาร์ที หรือดีกว่า มีขนาดไม่น้อยกว่า 4 กิกะไบต์
- มีหน่วยจัดเก็บข้อมูล ชนิด เอสเอทีเอ หรือดีกว่า ขนาดความจุไม่น้อยกว่า 1 เทระไบต์
- ที่เหลือเหมือนข้อ 3.1และ3.2
เนื่องจากคอมพิวเตอร์ได้มีการพัฒนาขึ้นไปมาก และเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา คุณสมบัติดังกล่าว
อาจจะไม่ตายตัว อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงไปบ้างตามกาลเวลาและยุคสมัยเพื่อให้สอดคล้องกับการใช้
ชีวิตประจาวันอีกด้วย
4.แหล่งขาย
แหล่งขายเป็นปัจจัยหนึ่งของการเลือกฮาร์ดแวร์ เพื่อให้เหมาะสมกับงาน มีข้อพิจารณาแหล่งขายดังนี้
4.1 มีความน่าเชื่อถือ ควรเป็นสถานที่ตั้งที่แน่นอนไม่ใช่แผงเช่าถูกๆหรือนิทัศการต่างๆ เพราะสินค้า
อาจเป็นของปลอม ดังนั้นซื้อจากร้านจาหน่ายที่เป็นหลักแหล่งจะดีกว่า
4.2 มีการแข่งขันสูง ทาให้สามารถต่อราคาได้ ยิ่งถ้าเป็นย่านที่ค้าด้านนี้เฉพาะจะยิ่งถูกมาก
4.3 มีประสบการณ์ ผู้จาหน่ายต้องมีประสบการณ์พอสมควร หากไม่มีข้อมูลที่เพียงพออาจจะทาให้ผู้
ซื้อได้ข้อมูลที่ผิดๆได้
4.4 มีช่องทางการติดต่อ ถ้าหากเราต้องการเปลี่ยนสินค้าเราจะได้เปลี่ยนถูก และจะได้รับคาแนะนาที่
ดีจากผู้ขาย
4.5 เงื่อนไขรับประกัน เป็นการสร้างความหน้าเชื่อถือของร้านและอุปกรณ์ ดดยปกติอุปกรณ์
คอมพิวเตอร์จะมีการรับประกันอยู่แล้ว
หลักการเลือกใช้ซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน
ซอฟต์แวร์ประเภทซอฟต์แวร์ประยุกต์เป็นเครื่องมือที่จาเป็นสาหรับคอมพิวเตอร์เพราะช่วยอานวย
ความสะดวกในการทางาน โดยมีหลักการเลือกซอฟต์แวร์ดังนี้
1. ความสามารถในการทางาน เป็นหลักการในอันดับต้นที่ผู้ใช้ซอฟต์แวร์จะต้องเลือกเพื่อให้
ซอฟต์แวร์ที่ติดตั้งนั้น สามารถตอบสนองต่อการทางาน สามารถช่วยเหลือหรืออานวยความสะดวก และเกิด
ประสิทธิ์ภาพในการทางานมากที่สุด
2. การติดต่อกับผู้ใช้ รูปแบบของซอฟต์แวร์ต้องออกแบบมาเพื่อให้เข้าใจได้ง่ายต่อการทางาน เช่น
เป็นรูปแบบไอคอน เพื่อง่ายต่อการทางานมากขึ้น เป็นต้น
3. ความเข้ากันได้ ความเข้ากันได้ของซอฟต์แวร์สาเร็จรูป เป็นหลักการที่ต้องพิจารณาให้ละเอียด
รอบคอบอย่างเหมาะสม เนื่องจากอาจทาให้เกิดการทางานไม่เต็มที่ หรือส่งผลกระทบต่อระบบการทางานของ
คอมพิวเตอร์ได้ มีข้อต้องคานึง 2 ส่วนดังนี้
3.1 ความเข้ากันได้ของฮาร์ดแวร์ ต้องคานึงถึงความเป็นไปได้ในการใช้งานให้คู่กันไปของซอฟต์แวร์
และฮาร์ดแวร์ คือ ต้องเข้ากันได้ ควรเลือกให้สัมพันธ์กันมากที่สุด เพื่อประสิทธิภาพในการทางานสูงสุด
3.2 ความเป็นกันได้ของซอฟต์แวร์ คานึงถึงความเข้ากันได้ของระบบปฏิบัติการซอฟต์แวร์ระบบ
ปฏิบัติการวินโดวส์ ความเข้ากันได้ของรุ่นคอมพิวเตอร์ ตลอดจนความเข้ากันได้ของซอฟต์แวร์ด้วยกันเอง
4.การติดตั้งและการดูแลรักษา ซอฟต์แวร์ทั่วไปจะต้องติดตั้งง่าย มีระบบการตรวจสอบการติดตั้ง
ระบบช่วยเหลือ เพื่อความสะดวกในการใช้งานของผู้ใช้เองด้วย
5.กลุ่มผู้ใช้ หากมีผู้ใช้มากๆก็เป็นการรับรองคุณภาพได้ว่า ของเขาดีจริง จึงมีคนใช้มาก

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 5
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 5คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 5
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 5Chaiyaporn Puttachot
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1Kriangx Ch
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ Peem Jirayut
 
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...ฐนกร คำเรือง
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ Thanawut Rattanadon
 
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 4
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 4คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 4
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 4Chaiyaporn Puttachot
 
it-01-25
it-01-25it-01-25
it-01-25Jnjoann
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์pui3327
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ชาณชัย รักษ์พลพันธ์
 
สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ
สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ
สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ Khunakon Thanatee
 
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์russana
 
Computer
ComputerComputer
Computernuting
 
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์Tay Chaloeykrai
 

La actualidad más candente (18)

คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 5
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 5คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 5
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 5
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ 1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...
38743023 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1-เน€เธฃเธทเนˆเธญเธ‡-เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเ...
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 4
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 4คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 4
คอมพิวเตอร์ระบบปฏิบัติการเบื้องต้นบทที่ 4
 
it-01-25
it-01-25it-01-25
it-01-25
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ
สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ
สื่อการสอน เรื่อง ซอฟต์แวรระบบ
 
Computer system
Computer systemComputer system
Computer system
 
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
๊Unit1
๊Unit1๊Unit1
๊Unit1
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
Chapter6 software
Chapter6 softwareChapter6 software
Chapter6 software
 

Destacado

PraticaMente Due Carrare - presentazione Davide Moro
PraticaMente Due Carrare - presentazione Davide MoroPraticaMente Due Carrare - presentazione Davide Moro
PraticaMente Due Carrare - presentazione Davide MoroFrancesco Zitelli
 
Paperin mahdollisuudet aurinkokennojen painoalustana - The possibilities for ...
Paperin mahdollisuudet aurinkokennojen painoalustana - The possibilities for ...Paperin mahdollisuudet aurinkokennojen painoalustana - The possibilities for ...
Paperin mahdollisuudet aurinkokennojen painoalustana - The possibilities for ...Milla-Mari Vastavuo
 
C programming-ebook
C programming-ebookC programming-ebook
C programming-ebookDung Tan
 
Attestato delle Competenze. Tommaso Benincasa
Attestato delle Competenze. Tommaso BenincasaAttestato delle Competenze. Tommaso Benincasa
Attestato delle Competenze. Tommaso BenincasaDigital-Coach.it
 
Pastelle Magazine Sept 2014
Pastelle Magazine Sept 2014Pastelle Magazine Sept 2014
Pastelle Magazine Sept 2014Julie Spaulding
 
הסכם קואליציוני בין סיעת הליכוד בכנסת ה-20 לסיעת יהדות התורה
הסכם קואליציוני בין סיעת הליכוד בכנסת ה-20 לסיעת יהדות התורההסכם קואליציוני בין סיעת הליכוד בכנסת ה-20 לסיעת יהדות התורה
הסכם קואליציוני בין סיעת הליכוד בכנסת ה-20 לסיעת יהדות התורהesty segal
 
Термическая обработка колбас
Термическая обработка колбасТермическая обработка колбас
Термическая обработка колбасqwer78
 
dịch vụ làm tvc quảng cáo giá rẻ
dịch vụ làm tvc quảng cáo giá rẻdịch vụ làm tvc quảng cáo giá rẻ
dịch vụ làm tvc quảng cáo giá rẻneville446
 
Top 8 web specialist resume samples
Top 8 web specialist resume samplesTop 8 web specialist resume samples
Top 8 web specialist resume samplestonychoper3205
 
китобойный промысел
китобойный промыселкитобойный промысел
китобойный промыселKurilskiy
 
Ενοτητα 55
Ενοτητα 55Ενοτητα 55
Ενοτητα 55gskoubaflos
 
Wordpress 6. wp & social network
Wordpress 6. wp & social networkWordpress 6. wp & social network
Wordpress 6. wp & social networkCity Planner
 
MSc Certificate
MSc CertificateMSc Certificate
MSc CertificateGlen Chong
 
Masalah Pembelajaran Matematik Tahun Tiga
Masalah Pembelajaran Matematik Tahun TigaMasalah Pembelajaran Matematik Tahun Tiga
Masalah Pembelajaran Matematik Tahun TigaAziz Mamat
 

Destacado (16)

PraticaMente Due Carrare - presentazione Davide Moro
PraticaMente Due Carrare - presentazione Davide MoroPraticaMente Due Carrare - presentazione Davide Moro
PraticaMente Due Carrare - presentazione Davide Moro
 
Paperin mahdollisuudet aurinkokennojen painoalustana - The possibilities for ...
Paperin mahdollisuudet aurinkokennojen painoalustana - The possibilities for ...Paperin mahdollisuudet aurinkokennojen painoalustana - The possibilities for ...
Paperin mahdollisuudet aurinkokennojen painoalustana - The possibilities for ...
 
C programming-ebook
C programming-ebookC programming-ebook
C programming-ebook
 
Attestato delle Competenze. Tommaso Benincasa
Attestato delle Competenze. Tommaso BenincasaAttestato delle Competenze. Tommaso Benincasa
Attestato delle Competenze. Tommaso Benincasa
 
Pastelle Magazine Sept 2014
Pastelle Magazine Sept 2014Pastelle Magazine Sept 2014
Pastelle Magazine Sept 2014
 
N505037781
N505037781N505037781
N505037781
 
הסכם קואליציוני בין סיעת הליכוד בכנסת ה-20 לסיעת יהדות התורה
הסכם קואליציוני בין סיעת הליכוד בכנסת ה-20 לסיעת יהדות התורההסכם קואליציוני בין סיעת הליכוד בכנסת ה-20 לסיעת יהדות התורה
הסכם קואליציוני בין סיעת הליכוד בכנסת ה-20 לסיעת יהדות התורה
 
Термическая обработка колбас
Термическая обработка колбасТермическая обработка колбас
Термическая обработка колбас
 
dịch vụ làm tvc quảng cáo giá rẻ
dịch vụ làm tvc quảng cáo giá rẻdịch vụ làm tvc quảng cáo giá rẻ
dịch vụ làm tvc quảng cáo giá rẻ
 
Top 8 web specialist resume samples
Top 8 web specialist resume samplesTop 8 web specialist resume samples
Top 8 web specialist resume samples
 
китобойный промысел
китобойный промыселкитобойный промысел
китобойный промысел
 
UAS T I K 2012
UAS T I K 2012 UAS T I K 2012
UAS T I K 2012
 
Ενοτητα 55
Ενοτητα 55Ενοτητα 55
Ενοτητα 55
 
Wordpress 6. wp & social network
Wordpress 6. wp & social networkWordpress 6. wp & social network
Wordpress 6. wp & social network
 
MSc Certificate
MSc CertificateMSc Certificate
MSc Certificate
 
Masalah Pembelajaran Matematik Tahun Tiga
Masalah Pembelajaran Matematik Tahun TigaMasalah Pembelajaran Matematik Tahun Tiga
Masalah Pembelajaran Matematik Tahun Tiga
 

Similar a ใบความรู้ที่ 1.1 เรื่อง การเลือกใช้ซอฟต์แวร์ที่เหมาะสม

องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ ComputerSPipe Pantaweesak
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์SPipe Pantaweesak
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2ment1823
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์Worapod Khomkham
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Tonkaw Napassorn
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Tonkaw Napassorn
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการJewely Slsnt
 
บทที่ 5 ระบบซอฟท์แวร์
บทที่ 5 ระบบซอฟท์แวร์บทที่ 5 ระบบซอฟท์แวร์
บทที่ 5 ระบบซอฟท์แวร์Beauso English
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Yu Maneeploypeth
 

Similar a ใบความรู้ที่ 1.1 เรื่อง การเลือกใช้ซอฟต์แวร์ที่เหมาะสม (20)

องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computer
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ม.2
 
work3-57
work3-57work3-57
work3-57
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
Work3 41
Work3 41Work3 41
Work3 41
 
Lab
LabLab
Lab
 
Lab
LabLab
Lab
 
Work3
Work3Work3
Work3
 
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์โปรแกรมคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
Software
Software Software
Software
 
บทที่ 5 ระบบซอฟท์แวร์
บทที่ 5 ระบบซอฟท์แวร์บทที่ 5 ระบบซอฟท์แวร์
บทที่ 5 ระบบซอฟท์แวร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
Ch04 slide
Ch04 slideCh04 slide
Ch04 slide
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

Más de ณัฐพล บัวพันธ์

เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightณัฐพล บัวพันธ์
 
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น  บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น ณัฐพล บัวพันธ์
 
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh ณัฐพล บัวพันธ์
 
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ณัฐพล บัวพันธ์
 

Más de ณัฐพล บัวพันธ์ (20)

ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
 
วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3
 
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
 
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
 
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น
รายนามศิษย์เก่าดีเด่นรายนามศิษย์เก่าดีเด่น
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น
 
กำหนดการรับสมัครนักเรียน
กำหนดการรับสมัครนักเรียนกำหนดการรับสมัครนักเรียน
กำหนดการรับสมัครนักเรียน
 
บทที่ 7 เล่นกับเวลา
บทที่ 7 เล่นกับเวลา  บทที่ 7 เล่นกับเวลา
บทที่ 7 เล่นกับเวลา
 
บทที่ 6 ตะลุย โลกดนตรี
บทที่ 6 ตะลุย โลกดนตรีบทที่ 6 ตะลุย โลกดนตรี
บทที่ 6 ตะลุย โลกดนตรี
 
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น  บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
 
บทที่ 4 สนุกคณิตกับ KidBright
บทที่ 4 สนุกคณิตกับ KidBright  บทที่ 4 สนุกคณิตกับ KidBright
บทที่ 4 สนุกคณิตกับ KidBright
 
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
 
บทที่ 2 ท่องไปในโลก Kidbright
บทที่ 2 ท่องไปในโลก Kidbright  บทที่ 2 ท่องไปในโลก Kidbright
บทที่ 2 ท่องไปในโลก Kidbright
 
บทที่ 1 คิดคำนวณชวนสนุก
บทที่ 1 คิดคำนวณชวนสนุกบทที่ 1 คิดคำนวณชวนสนุก
บทที่ 1 คิดคำนวณชวนสนุก
 
ผลการสอบม1
ผลการสอบม1ผลการสอบม1
ผลการสอบม1
 
การจัดห้องเรียน ม4
การจัดห้องเรียน ม4การจัดห้องเรียน ม4
การจัดห้องเรียน ม4
 
ผลการสอบม4
ผลการสอบม4ผลการสอบม4
ผลการสอบม4
 
การจัดห้องเรียน
การจัดห้องเรียนการจัดห้องเรียน
การจัดห้องเรียน
 
ผลการสอบม1
ผลการสอบม1ผลการสอบม1
ผลการสอบม1
 
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
 

ใบความรู้ที่ 1.1 เรื่อง การเลือกใช้ซอฟต์แวร์ที่เหมาะสม

  • 1. ใบความรู้ที่ 1.1 เรื่อง การเลือกใช้ซอฟต์แวร์ที่เหมาะสม รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 5 รหัสวิชา ง 33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เวลา 0.10 ชั่วโมง ********************************************************* ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ส่วนที่ทาหน้าที่เป็นคาสั่งที่ใช้ควบคุมการทางานของเครื่อง คอมพิวเตอร์ หรืออาจเรียกว่า “ โปรแกรม ” ก็ได้ ซึ่งหมายถึงคาสั่งหรือชุดคาสั่ง สามารถใช้เพื่อสั่งให้ คอมพิวเตอร์ทางาน เราต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทาอะไรก็เขียนเป็นคาสั่งที่จะต้องสั่งเป็นขั้นตอน และแต่ ละขั้นตอนต้องทาอย่างละเอียดและครบถ้วนก็จะเรียกว่า นักเขียนโปรแกรม (Programmer) สาหรับการเขียน โปรแกรมดังกล่าวใช้ภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมโดยเฉพาะ หรือหมายถึง ภาษาที่เครื่องคอมพิวเตอร์ สามารถเข้าใจได้ เช่น ภาษาเบสิก ภาษาโคบอล ภาษาปาสคาล เป็นต้น โปรแกรมที่เขียนขึ้นมาก็จะนาไปใช้ใน งานเฉพาะอย่าง เช่น โปรแกรมสต็อกสินค้าคงคลัง โปรแกรมคานวณภาษี โปรแกรมคิดเงินเดือนพนักงาน เป็นต้น เครื่องคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันได้พัฒนาเทคโนโลยีให้สามารถประมวลผลได้เร็วขึ้น แต่ราคาถูกลงกว่า แต่ก่อนมาก การเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์มาใช้งานทาได้ง่าย มีให้เลือกหลากหลายรุ่นตามร้านค้าทั่วไป แต่ ผู้ใช้งานควรพิจารณาว่าจะนาคอมพิวเตอร์มาใช้เพื่อทางานด้านใด เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอร์มีทั้งแบบที่ใช้ได้ กับงานทุกประเภทหรืองานเฉพาะด้าน แม้ว่าราคาเครื่องอุปกรณ์ต่างๆจะถูกลง แต่ผู้ใช้ควรเลือกคอมพิวเตอร์ ให้เหมาะสมกับการใช้งานเพื่อให้คุ้มค่ากับจานวนเงิน ตัวอย่างของการเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ตามลักษณะ ของงานแต่ละประเภท เช่น งานเอกสาร หรืองานในสานักงาน เป็นการใช้คอมพิวเตอร์สาหรับจัดการด้านเอกสารรายงาน ตกแต่ง ภาพ ทาการ์ดอิเล็กทรอนิกส์ ดูภาพยนตร์หรือสื่อทางการศึกษา ติดต่อสื่อสาร ค้นหาข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต ใช้ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เช่น ซอฟแวร์ประมวลคา และซอฟแวร์ตารางทางาน เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานประเภท นี้ไม่จาเป็นต้องใช้ซีพียูที่มีความเร็วสูง คือประมาณ 1 GHz ขึ้นไป แต่ควรมีแรมอย่างน้อย 1 GB และอาจ เลือกใช้จอภาพแบบแอลซีดีขนาดใหญ่ 17 – 19 นิ้ว เพื่อถนอมสายตา เนื่องจากลักษณะงานต้องจ้องมอง จอภาพตลอดเวลา งานกราฟิก เป็นใช้คอมพิวเตอร์สาหรับการตกแต่งและออกแบบภาพ และมีการเรียกใช้งานโปรแกรม หราฟิกหลายๆ โปรแกรมในเวลาเดียวกัน ใช้ซอฟแวร์กราฟิกในการสร้างชิ้นงาน เช่น งานสิ่งพิมพ์ งานนาเสนอ แบบมัลติมีเดีย สร้างเว็บไซต์ ติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต โดยมีการรับ-ส่งข้อมูลจานวนมากที่มีทั้งภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในงานประเภทนี้จาเป็นต้องมีซีพียูที่มีความเร็วอยู่ในระดับปานกลางถึง ค่อนข้างสูง ประมาณ 2 GHz ขึ้นไปใช้แรมอย่างน้อย 2 GB ขึ้นไป และมีฮาร์ดดิสก์ที่มีความจุสูงเพื่อใช้ในการ เก็บข้อมูลจานวนมาก งานออกแบบที่ต้องแสดงผลเป็น 3 มิติ เป็นการออกแบบภาพ 3 มิติ สร้างภาพยนตร์ สร้างการ์ตูน แอนิเมชัน (animation) ตัดต่อวีดีทัศน์ ตัดต่อเพลง เล่นเกมที่มีกราฟิกสูง งานประเภทนี้ต้องการเครื่อง
  • 2. คอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถในการคานวณและแสดงภาพความละเอียดสูงสุดได้ ดังนั้น ควรเลือกซีพียูที่มี ความเร็วไม่น้อยกว่า 2 GHz มีแรมอย่างน้อย 4 GB การ์ดแสดงผลที่สามารถแสดงภาพที่มีความละเอียดสูงได้ดี ควรใช้จอภาพขนาดไม่ต่ากว่า 24 นิ้ว และควรมีเครื่องสารองไฟเนื่องจากการทางานประเภทนี้คอมพิวเตอร์ ต้องใช้เวลาในการประมวลผลนานถ้าหากไฟดับหรือไฟกระตุกจะไม่สะดวกในการเริ่มทางานใหม่ ประเภทของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์จะแบ่งออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ ประเภท คือ 1. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ( Application Software) ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) คือซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ที่ออกแบบขึ้นมาเพื่อปฏิบัติการกับฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ และเพื่อจัดเตรียม และบารุงรักษาแพลตฟอร์มจากการทางานของโปรแกรมประยุกต์ ซอฟต์แวร์ระบบพื้นฐานที่สุดมีดังนี้ ไบออสของคอมพิวเตอร์และเฟิร์มแวร์ของอุปกรณ์ ซึ่งมีเครื่องมือพื้นฐานสาหรับปฏิบัติการและ ควบคุมฮาร์ดแวร์ที่เชื่อมต่อหรือติดตั้งในคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการ (ตัวอย่างที่เด่น ๆ เช่น ไมโครซอฟท์ วินโดวส์ แมคโอเอสเท็น และลินุกซ์) ซึ่งแบ่งสรร ให้ส่วนต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ทางานร่วมกันโดยรับภาระงานอาทิ การส่งผ่านข้อมูลระหว่างหน่วยความจากับ จานบันทึก หรือการส่งข้อมูลออกทางอุปกรณ์แสดงผล และยังมีแพลตฟอร์มเพื่อทางานซอฟต์แวร์ระบบ ระดับสูงและโปรแกรมประยุกต์ด้วย ซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์ ซึ่งช่วยวิเคราะห์ ปรับแต่ง ทาให้เหมาะสม และบารุงรักษาคอมพิวเตอร์ใน ตาราบางเล่ม คาว่า ซอฟต์แวร์ระบบ หมายรวมถึงเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ด้วย (เช่น คอมไพเลอร์ ลิงเกอร์ หรือดีบักเกอร์ เป็นต้น) โดยทั่วไปมิได้หมายความว่า ผู้ใช้จะต้องซื้อคอมพิวเตอร์เพื่อใช้งานซอฟต์แวร์ระบบ แทนที่จะเป็นอย่าง นั้น อาจมองว่าซอฟต์แวร์ระบบเป็นสิ่งพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ที่มีมากับเครื่องหรือติดตั้งไว้ก่อนแล้ว ในทาง ตรงข้ามกับซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ที่ผู้ใช้สามารถกระทาการต่าง ๆ อาทิสร้างเอกสารข้อความ เล่นเกม ฟัง เพลง หรือท่องเว็บ เช่นนี้เรียกว่าโปรแกรมประยุกต์ ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/ซอฟต์แวร์ระบบ โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utilities Program) เรียกสั้นๆ ว่า ยูทิลิตี้ เป็นโปรแกรมประเภทหนึ่งที่ทางานบนระบบปฏิบัติการ ส่วนมากใช้เพื่อ บารุงรักษาและเพิ่มประสิทธิภาพการทางานของคอมพิวเตอร์ คุณสมบัติการใช้งานนั้นค่อนข้างหลากหลาย ยูทิลิตี้แบ่งออกเป็นสองชนิดคือ ยูทิลิตี้สาหรับระบบปฏิบัติการ (OS utility program) และ ยูทิลิตี้อื่นๆ (stand-alone utility program) ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/โปรแกรมอรรถประโยชน์ ซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะด้าน (Special Purpose Software) ซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะด้าน เป็นซอฟต์แวร์ที่ผลิตขึ้นมาเพื่อทางานอย่างใดอย่างหนึ่ง และไม่
  • 3. สามารถ ทางานอื่นได้ เช่น โปรแกรมระบบบัญชี โปรแกรมเพื่องานออกแบบ โปรแกรมช่วยงานอุตสาหกรรม เป็นต้น 1. โปรแกรมระบบบัญชี (Accounting) เช่น ระบบบัญชีเงินเดือน ลูกหนี้ ระบบเช่าซื้อบัญชี แยก ประเภท 2. โปรแกรมช่วยงานอุตสาหกรรม CAM (Computer-Aided Manufactory and Composition And Make-up) ซอฟต์แวร์ชนิดนี้ใช้สาหรับงานด้านอุตสาหกรรมเป็นส่วนใหญ่ เช่น ใช้คอมพิวเตอร์ดูแลและควบคุม เครื่องจักรกลแทนคน หรืองานประเภทที่ต้องทาซ้าๆ กัน ครั้งละมากๆ (Mass-production) 3. โปรแกรมช่วยในการเรียนการสอน CAI (Computer-Assisted Instruction)โดยการใช้คอมพิวเตอร์ หรือจาลองตัวเองเป็นสื่อในการเรียนการสอนประกอบกับรูปภาพ(เคลื่อนไหว) ในลักษณะต่างๆ ซึ่งทาให้ง่าย ต่อความเข้าใจ 4. เกม (Game) สาหรับผ่อนคลายหลังจากการใช้เครื่องแต่ส่วนใหญ่นิยมเล่นเพื่อความเพลิดเพลินกว่า ตัวอย่างของเกมเหล่านี้ได้แก่ โปรแกรมเกมต่างๆ ตามห้างสรรพสินค้า(Arcade game) เกมบนกระดาน (Board game) เช่น หมากรุก โมโนโปลีฯลฯ เกมส์ไพ่(Card) เกมเสมือนหรือจาลอง 5. โปรแกรมเพื่องานออกแบบหรือ CAD (Computer-Aidea Design) เช่น AutoCadAutoLISP และ DisgnCAD เป็นต้น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ชนิดนี้ใช้สาหรับการออกแบบผลิตภัณฑ์ชนิดต่างๆ และงาน ออกแบบทางด้านสถาปัตยกรรม 6. โปรแกรมตรวจสอบ/ป้องกันไวรัส (Anti-Virus) มีไว้เพื่อป้องกันการโจมตีของไวรัสคอมพิวเตอร์ และ มักจะมีคาสั่งให้ทาลายล้างไวรัสออกจากเครื่องคอมพิวเตอร์ เช่น McAfeevirus scan, AVI-scan, Norton Anti-virus เป็นต้น 7. โปรแกรมมัลติมีเดีย (Multimedia) เป็นซอฟต์แวร์ใช้สาหรับสร้างโปรแกรม CAIหรือทา Presentation หรือใช้สาหรับดูหนัง ฟังเพลง เช่น Multimedia Toolbook, XingMPEG, Authorware, PowerDVDชนิดอื่นๆ เช่น ระบบธุรกิจต่างๆ งานทาดนตรีงานตัดต่อภาพยนตร์ การวางแผนงาน งานศิลปะ งานวาดรูป การประมาณการ วิเคราะห์ งานพัฒนา การบริหารโครงงาน ที่มา : http://www.learners.in.th/blogs/posts/283614 ซอฟต์แวร์สาหรับงานทั่วไป (General purpose Software) จะเป็นซอฟต์แวร์ที่ออกแบบมาสาหรับงานทั่ว ๆ ไป สามารถนามาประยุกต์ใช้กับงานส่วนตัวได้อย่าง หลากหลาย ทาให้เป็นซอฟต์แวร์ประเภทที่ได้รับความนิยมสูงสุดในปัจจุบัน ซึ่งส่วนมากจะเป็นซอฟต์แวร์ที่ ทางานอยู่ในเครื่องระดับไมโครคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์สาหรับงานทั่วไป สามารถแบ่งตามประเภทของงานได้ดังนี้ ซอฟต์แวร์ตารางวิเคราะห์แบบอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Spreadsheet) ธุรกิจในสมัยก่อนนั้นการทางบประมาณ หรือการวางแผนต่าง ๆ ต้องใช้กระดาษบัญชีและเครื่องคิด เลขเท่านั้น สาหรับสมัยนี้ด้วยซอฟต์แวร์ตารางวิเคราะห์แบบอิเล็กทรอนิกส์ ผู้ใช้สามารถพิมพ์หัวข้อหรือชื่อของ ข้อมูล และตัวเลขข้อมูลต่าง ๆ เข้าในคอมพิวเตอร์ โดยที่ในคอมพิวเตอร์จะมีตารางที่เปรียบเสมือนกระดาษ บัญชีขนาดใหญ่ ซึ่งสามารถคานวณได้ตามสูตรที่ผู้ใช้ทาการกาหนด โดยที่สูตรเหล่านั้นจะไม่ปรากฏในช่องของ
  • 4. ข้อมูลเลย ยิ่งไปกว่านั้นหากผู้ใช้เปลี่ยนตัวเลขหรือข้อมูลใด ๆ ก็ตาม จะเห็นการเปลี่ยนแปลงข้อมูลอื่นที่ เกี่ยวข้องกันในทันที ปัจจุบันมีผู้ใช้ประโยชน์ของตารางวิเคราะห์แบบอิเล็กทรอนิกส์มากมาย ไม่เฉพาะแต่ ในทางบัญชีเท่านั้น แต่ยังนิยมใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ บริหารการเงิน และอื่น ๆ อีกมาก ซอฟต์แวร์ประมวลผลคา (Word processing) ปัจจุบันเครื่องคอมพิวเตอร์มากกว่า 85 เปอร์เซ็นต์ ต้องติดตั้งโปรแกรมสาหรับงานพิมพ์เอกสาร รวมอยู่ด้วย ซึ่งโปรแกรมนี้ทาให้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือสาหรับสร้าง แก้ไข ตรวจสอบ พิมพ์ และจัดเก็บ ข้อความต่าง ๆ หนังสือที่จาหน่ายในท้องตลาดในปัจจุบันนี้ ส่วนมากก็เริ่มต้นจากการพิมพ์ข้อความลงใน คอมพิวเตอร์ด้วยซอฟต์แวร์ที่ประมวลคา ซอฟต์แวร์การพิมพ์แบบตั้งโต๊ะ (Desktop Publishing) ในสมัยก่อนการจัดทาหนังสือพิมพ์ หรือวารสารต่าง ๆ นั้นต้องผ่านกระบวนการต่าง ๆ มากมาย หลายขั้นตอนซึ่งรวมเรียกว่าการเรียงพิมพ์ โดยที่จะต้องมีผู้ตัดต่อรูปภาพที่ต้องการ วาดกรอบของภาพหรือ กรอบหัวเรื่อง และเขียนข้อความ และนาข้อความ ภาพ และกรอบมาประกอบกันตามแบบที่ออกแบบไว้ การ ทางานที่ยุ่งยากเหล่านี้นี่เองที่ทาให้เอกสารเหล่านั้นมีราคาแพง แต่ในปัจจุบันนี้ขอเพียงมีคอมพิวเตอร์ และ โปรแกรมการจัดพิมพ์แบบตั้งโต๊ะ เท่านั้น ก็สามารถที่จะออกแบบงานหรือเอกสารให้เป็นที่น่าสนใจได้ โดย ซอฟต์แวร์การพิมพ์แบบตั้งโต๊ะจะมีความสามารถด้านการจัดการเอกสาร ความสามารถด้านการเรียงพิมพ์ รวมทั้งการจัดสีที่สูงกว่าซอฟต์แวร์ประมวลผลคา ซอฟต์แวร์นาเสนอ (Presentation Software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการนาเสนอข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ โดยอาจประกอบด้วยตัวอักษร รูปภาพ แผนผัง รายงาน ตลอดจนภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น นิยมใช้ในการเรียนการสอน หรือการประชุม เพื่อนาเสนอ ข้อมูลให้การบรรยายนั้นน่าสนใจยิ่งขึ้น ซอฟต์แวร์กราฟิก (Graphic Software) เป็นซอฟต์แวร์สาหรับสร้างภาพกราฟิกแบบต่าง ๆ การใช้งานในระดับเบื้องต้นอาจนาไปใช้ ประกอบการสร้างเอกสาร หรือการนาเสนอข้อมูล ส่วนการใช้ในระดับสูงอาจใช้สาหรับการตกแต่งภาพหรือรูป ถ่าย หรือใช้สาหรับงานด้านศิลปกรรม สถาปัตยกรรม วิศวกรรม เป็นต้น ซอฟต์แวร์ฐานข้อมูล (Database) โปรแกรมฐานข้อมูลเป็นโปรแกรมสาหรับสร้างแฟ้มข้อมูลต่าง ๆ เก็บไว้ในสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดย โปรแกรมจะมีเครื่องมือต่าง ๆ ในการอานวยความสะดวกเกี่ยวกับการจัดการแฟ้มข้อมูล เช่น มีเครื่องมือ สาหรับการเพิ่มหรือแก้ไขข้อมูลที่จัดเก็บอยู่ หรือสามารถเรียกแฟ้มข้อมูลนั้นขึ้นมาแสดงบนจอภาพโดยกาหนด เงื่อนไขให้เลือกข้อมูลมาแสดงเพียงบางส่วน เป็นต้น ซอฟต์แวร์สื่อสารโทรคมนาคม (Telecommunication Software) ถ้าผู้ใช้ต้องการติดต่อกับคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกลออกไป สามารถทาได้โดยใช้ซอฟต์แวร์สาหรับ ติดต่อสื่อสารข้อมูล ซอฟต์แวร์ประเภทนี้จะจาลองเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นเทอร์มินัล (terminal) ที่สามารถ ติดต่อไปยังระบบคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่มีผู้ใช้หลายคนได้โดยใช้สายโทรศัพท์ในการโทรติดต่อ และเมื่อ ติดต่อได้แล้วก็จะสามารถใช้งานระบบต่าง ๆ ที่อยู่ในเครื่องนั้นได้ เสมือนกับนั่งใช้เครื่องอยู่ข้าง ๆ เครื่องที่เรา
  • 5. ติดต่อเข้าไป การใช้งานที่ได้รับความนิยมในปัจจุบัน เช่น ร่วมคุยกับกลุ่มที่สนใจเรื่องเดียวกัน แลกเปลี่ยน จดหมายกับผู้อื่นในระบบหรือแม้กระทั่งจองตั๋วเครื่องบินและจองโรงแรมผ่านทางจอคอมพิวเตอร์ เป็นต้น ซอฟต์แวร์ค้นหาข้อมูล (Resource Discovery Software) หมายถึงซอฟต์แวร์ที่เป็นเครื่องมือสาหรับค้นหาข้อมูลที่ต้องการ จากแหล่งข้อมูลในที่ต่าง ๆ เนื่องจากปัจจุบันนี้ความนิยมในการใช้การติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น อินเตอร์เน็ต หรือ เครือข่ายเชิงพาณิชย์อื่น ๆ ช่วยให้สามารถเรียกค้นข้อมูลที่ต้องการทราบได้จากทั่วโลก ตัวอย่างซอฟต์แวร์ ประเภทนี้ เช่น Archie , Gopher และ World Wide Web เป็นต้น หลักการเลือกคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับการใช้งาน คอมพิวเตอร์มีคุณสมบัติการใช้งานที่หลากหลายเพื่อให้รองรับการทางานในแต่ละรูปแบบของแต่ละผู้ใช้ 1.วิเคราะห์วัตถุประสงค์ของการใช้งาน วิเคราะห์เพื่อให้รู้ว่าคุณสมบัตินั้นๆเหมาะสมกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ของเราหรือไม่ 1.1 การใช้งานสานักงานและงานนาเสนอทั้วไป(Home & Office) การใช้งานระบบขั้นพื้นฐาน ส่วนมากใช้ในการรายงาน โครงงาน หรือสไลด์เพื่อใช้ในการประกอบการศึกษา การใช้งานในลักษณะนี้จะเน้น การนาเข้าข้อมูลด้วยแผงแป้นอักขระและเมาส์ แสดงผลทางหน้าจอหรือพิมพ์ออกมาเป็นเอกสาร 1.2 การใช้งานประมาณผล(Computing) การใช้งานประเภทนี้เป็นการใช้งานแบบนาเข้าข้อมูล ด้วยตัวเลข การคานวณ ผลที่ออกมาจะแสดงผลอยู่ในรูปแบบจาลองกราฟิก 2 มิติหรือ 3 มิติทางจอแสดงผล 1.3 การใช้สื่อประสม(Multimedia) เป็นการใช้งานที่มีการนาเข้าข้อมูลอย่างหลากหลาย เช่น ตัวเลข แผงแป้นอักขระ นาเข้าโดยอุปกรณ์เชื่อมต่อต่างๆ เป็นต้น ซึ่งการนาเข้าข้อมูลประเภทนี้ต้องการการ ประมวลผลที่มากและใช้ทรัพยากรระบบค่อนข้างสูง ส่วนมากจะใช้ในการสร้างงาน ภาพเคลื่อนไหว แอนนิ เมชั่น เป็นต้น 2.เลือกคอมพิวเตอร์ตามลักษณะการใช้งาน คอมพิวเตอร์มีหลายประเภท และได้รับการพัฒนาเพื่อตอบสนองต่อการใช้งานที่เพิ่มมากขึ้นของผู้คน ในปัจจุบัน 2.1 งานนอกสถานที่ งานนอกสถานที่เป็นงานที่ต้องการคอมพิวเตอร์ที่สามารถพกพาได้ สะดวก และพร้อมใช้งานทุกสถานการณ์ พอจาแนกได้ดังนี้ 1. คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ก(Notebook) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก พกพาสะดวก น้าหนักเบา ขนาดเล็ก มีการเชื่อมต่อโดยเครือข่ายมีสายและไร้สาย การใช้งานนี้เหมาะสมสาหรับนักธุรกิจ นักการขาย นักวิชาการ วิทยากรเป็นต้น 2. คอมพิวเตอร์เน็ตบุ๊ก(Net book) เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กกว่าโน๊ตบุ๊ก มีอุปกรณ์ เชื่อมต่อเหมือนโน๊ตบุ๊กทุกประการ มีหน่วยความจากลางขาดจิ๋ว ไม่มีเครื่องอ่านแผ่นซีดี ดีวีดี น้าหนักเบากว่า โน๊ตบุ๊ก เกิดความร้อนน้อย และราคาที่ถูกกว่าโน๊ตบุ๊กอีกด้วย 3. แท็บเลตคอมพิวเตอร์(Tablet Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่รวมอุปกรณ์ต่างๆไว้ ในหน้าจอสัมผัส โดยแสดงผลผ่านหน้าจอสัมผัสนั้น
  • 6. 2.2 งานในสถานที่ เป็นลักษณะงานในสานักงาน ไม่มีการเคลื่อนที่คอมพิวเตอร์ โดยมีองค์ประกอบ หลักในการใช้งานดังนี้ 1. เครื่องชุด เป็นคอมพิวเตอร์สาเร็จรูปที่ซื้อมาแล้วพร้อมใช้งาน เป็นคอมพิวเตอร์ที่เป็นชุด เดียวกันหมดหรือบางครั้งอาจเรียกว่าเครื่องแบรนด์เนม ซึ่งมีผู้ผลิตรายเดียวกันหมดทั้งชุด มีข้อดีคือมีราคาที่ แน่นอน การออกแบบดี การติดตั้งโปรแกรมหรืออุปกรณ์ต่างๆได้มาตรฐาน ทันสมัย สวยงาม และ คงทน 2. เครื่องประกอบ เป็นคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้งานต้องซื้ออุปกรณ์ต่างๆมาประกอบเอง และลง โปรแกรมเองทั้งหมด ดีที่จะได้คอมพิวเตอร์ตามสเป็คที่เราต้องการมากที่สุด ข้อเสียคือไม่มีการรับประกันสินค้า ดังนั้นเวลามันพังมาอาจซ้อมยากหน่อย 3.การเลือกฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ให้เหมาะสมกับลักษณะงาน ในการเลือกคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงานนั้น เมื่อได้วิเคราะห์วัตถุประสงค์และ ลักษณะของการใช้งานแล้ว ผู้ใช้สามารถตัดสินใจเลือกคุณลักษณะฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ได้ง่ายขึ้น ในการ กาหนดคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์นั้น จาเป็นต้องพิจารณาด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ไปพร้อมๆกัน เนื่องจากพัฒนาของเทคโนโลยีทั้งด้านฮาร์ดแวร์ก่อน อาจจะส่งผลให้ไม่สามารถใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่ ต้องการได้ การเลือกคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ตามวัตถุประสงค์การใช้งานมีรายละเอียดดังนี้ 3.1 การใช้งานสานักงานและงานนาเสนอทั่วไป - มีหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ที่มีความเร็วสัญญาณนาฬิกามากกว่า 2.4 กิกะเฮิร์ต - มีส่วนควบคุมการแสดงผลที่มีหน่วยความจามากกว่า 128 เมกะไบต์(MB) - มีหน่วยความจาหลัก (RAM) ชนิดดีดีอาร์ทรี (DDR3) หรือดีกว่า มีขนาดมากกว่า 2 กิกะไบต์(GB) - มีหน่วยความจัดเก็บข้อมูล (Hard Disk) ชนิด SATA หรือดีกว่า ขนาดความจุมากกว่า 250 กิกะไบต์ หรือมี Solid State Disk ขนาดความจุมากกว่า 30 กิกะไบต์จานวน 1 หน่วย - มีเครื่องอ่านและเขียนดีวีดี หรือดีกว่า จานวน 1 หน่วย - มีช่องเชื่อมต่อระบบเครือข่าย แบบ 10/100/1,000 เมกะไบต์ต่อวินาที จานวนไม่น้อยกว่า1ช่อง - มีจอภาพ LCD มี Contrast Ratio มากกว่า 600:1 และมีขนาดมากกว่า 18 นิ้ว จานวนหนึ่ง หน่วย 3.2 การใช้งานประมวล - มีหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ได้น้อยกว่า 2 แกนหลัก (2 core) และมีความเร็วสัญญาณ นาฬิกาไม่น้อยกว่า 2.5 กิกะเฮิร์ต และมีความเร็วของหน่วยความจา หรือมี HTT ขนาดไม่น้อยกว่า 1,066 เมกะเฮิร์ต - มีหน่วยประมวลผลเพื่อแสดงภาพแยกจากแผ่งวงจรหลัก ที่มีหน่วยความจาขนาดมากกว่า 512 เมกะไบต์ - มีหน่วยความจาหลักชนิด DDR3 หรือดีกว่า มีขนาดมากกว่า 4 กิกะไบต์ - มีหน่วยจัดเก็บข้อมูล ชนิด เอเอสทีเอ หรือดีกว่า มีขนาดความจุมากกว่า 500 กิกะไบต์ จานวน 1 หน่วย
  • 7. - ที่เหลือเหมือนข้อ 3.1 3.3 การใช้สื่อประสม - มีหน่วยประมวลผลกลาง ไม่น้อยกว่า 4 แกนหลัก และมีความเร็วสัญญาณนาฬิกามากกว่า 2..6 กิกะเฮิร์ต และมีความเร็วของหน่วยความจาขนาดไม่น้อยกว่า 1,066 เมกะเฮิร์ต - มีหน่วยประมวลผลเพื่อแสดงภาพแยกจากแผ่งวงจรหลัก ที่มีหน่วยความไม่น้อยกว่า 1 กิกะไบต์ - มีหน่วยจัดเก็บความจาหลัก ชนิดดีดีอาร์ที หรือดีกว่า มีขนาดไม่น้อยกว่า 4 กิกะไบต์ - มีหน่วยจัดเก็บข้อมูล ชนิด เอสเอทีเอ หรือดีกว่า ขนาดความจุไม่น้อยกว่า 1 เทระไบต์ - ที่เหลือเหมือนข้อ 3.1และ3.2 เนื่องจากคอมพิวเตอร์ได้มีการพัฒนาขึ้นไปมาก และเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา คุณสมบัติดังกล่าว อาจจะไม่ตายตัว อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงไปบ้างตามกาลเวลาและยุคสมัยเพื่อให้สอดคล้องกับการใช้ ชีวิตประจาวันอีกด้วย 4.แหล่งขาย แหล่งขายเป็นปัจจัยหนึ่งของการเลือกฮาร์ดแวร์ เพื่อให้เหมาะสมกับงาน มีข้อพิจารณาแหล่งขายดังนี้ 4.1 มีความน่าเชื่อถือ ควรเป็นสถานที่ตั้งที่แน่นอนไม่ใช่แผงเช่าถูกๆหรือนิทัศการต่างๆ เพราะสินค้า อาจเป็นของปลอม ดังนั้นซื้อจากร้านจาหน่ายที่เป็นหลักแหล่งจะดีกว่า 4.2 มีการแข่งขันสูง ทาให้สามารถต่อราคาได้ ยิ่งถ้าเป็นย่านที่ค้าด้านนี้เฉพาะจะยิ่งถูกมาก 4.3 มีประสบการณ์ ผู้จาหน่ายต้องมีประสบการณ์พอสมควร หากไม่มีข้อมูลที่เพียงพออาจจะทาให้ผู้ ซื้อได้ข้อมูลที่ผิดๆได้ 4.4 มีช่องทางการติดต่อ ถ้าหากเราต้องการเปลี่ยนสินค้าเราจะได้เปลี่ยนถูก และจะได้รับคาแนะนาที่ ดีจากผู้ขาย 4.5 เงื่อนไขรับประกัน เป็นการสร้างความหน้าเชื่อถือของร้านและอุปกรณ์ ดดยปกติอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์จะมีการรับประกันอยู่แล้ว หลักการเลือกใช้ซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน ซอฟต์แวร์ประเภทซอฟต์แวร์ประยุกต์เป็นเครื่องมือที่จาเป็นสาหรับคอมพิวเตอร์เพราะช่วยอานวย ความสะดวกในการทางาน โดยมีหลักการเลือกซอฟต์แวร์ดังนี้ 1. ความสามารถในการทางาน เป็นหลักการในอันดับต้นที่ผู้ใช้ซอฟต์แวร์จะต้องเลือกเพื่อให้ ซอฟต์แวร์ที่ติดตั้งนั้น สามารถตอบสนองต่อการทางาน สามารถช่วยเหลือหรืออานวยความสะดวก และเกิด ประสิทธิ์ภาพในการทางานมากที่สุด 2. การติดต่อกับผู้ใช้ รูปแบบของซอฟต์แวร์ต้องออกแบบมาเพื่อให้เข้าใจได้ง่ายต่อการทางาน เช่น เป็นรูปแบบไอคอน เพื่อง่ายต่อการทางานมากขึ้น เป็นต้น 3. ความเข้ากันได้ ความเข้ากันได้ของซอฟต์แวร์สาเร็จรูป เป็นหลักการที่ต้องพิจารณาให้ละเอียด รอบคอบอย่างเหมาะสม เนื่องจากอาจทาให้เกิดการทางานไม่เต็มที่ หรือส่งผลกระทบต่อระบบการทางานของ คอมพิวเตอร์ได้ มีข้อต้องคานึง 2 ส่วนดังนี้
  • 8. 3.1 ความเข้ากันได้ของฮาร์ดแวร์ ต้องคานึงถึงความเป็นไปได้ในการใช้งานให้คู่กันไปของซอฟต์แวร์ และฮาร์ดแวร์ คือ ต้องเข้ากันได้ ควรเลือกให้สัมพันธ์กันมากที่สุด เพื่อประสิทธิภาพในการทางานสูงสุด 3.2 ความเป็นกันได้ของซอฟต์แวร์ คานึงถึงความเข้ากันได้ของระบบปฏิบัติการซอฟต์แวร์ระบบ ปฏิบัติการวินโดวส์ ความเข้ากันได้ของรุ่นคอมพิวเตอร์ ตลอดจนความเข้ากันได้ของซอฟต์แวร์ด้วยกันเอง 4.การติดตั้งและการดูแลรักษา ซอฟต์แวร์ทั่วไปจะต้องติดตั้งง่าย มีระบบการตรวจสอบการติดตั้ง ระบบช่วยเหลือ เพื่อความสะดวกในการใช้งานของผู้ใช้เองด้วย 5.กลุ่มผู้ใช้ หากมีผู้ใช้มากๆก็เป็นการรับรองคุณภาพได้ว่า ของเขาดีจริง จึงมีคนใช้มาก