SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 7
Descargar para leer sin conexión
CHAPTER 5
โรงเรียนบ้านหนองใหญ่ได้รับการบริจาคห้องคอมพิวเตอร์ใหม่ หลังจากที่ได้มี โครงการผ้าป่าซื้อคอมพิวเตอร์ให้กับโรงเรียน ซึ่ง ผอ.โรงเรียนจึงได้มีนโยบายให้ครูทุก ระดับชั้นพัฒนาสื่อการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ หรือหากใครที่ยังไม่สามารถสร้างเองได้ก็ ให้บูรณาการคอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอน และเปิดช่วงเวลาให้นักเรียนเข้ามาใช้ คอมพิวเตอร์ได้ ผลจากการประเมินการใช้คอมพิวเตอร์ของโรงเรียนในปีที่ผ่านมาพบว่า ครูพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ในลักษณะที่เป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดและนำเสนอเนื้อหาการ เรียนการสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน โดยในบทเรียนคอมพิวเตอร์มีการทดสอบ การนาเสนอ เนื้อหา การทดสอบหลังเรียน บทบาทผู้เรียนก็ยังเป็นเพียงแค่การท่องจำเนื้อหา ซึ่งไม่ ส่งเสริมกระบวนการคิดปัญหาอีกประการที่พบคือ เมื่อครูจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเข้าไปใช้ คอมพิวเตอร์ก็มักจะใช้เพื่อเล่นเกม ดูหนัง สนทนาออนไลน์ และ Social media โดยเฉพาะ face book ซึ่งไม่ได้ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการแสวงหาและสร้างการเรียนรู้ของ ตนเอง 
สถานการณ์ปัญหา
ตอบ การแก้ปัญหามีดังนี้ 
- ส่วนของเนื้อหาควรจะมีความน่าสนใจ แปลกใหม่ อาจจะจัดเป็น กิจกรรมหรือสถานการณ์ปัญหาให้ผู้เรียนได้คิดคำตอบจัดเป็นกิจกรรมกลุ่ม ให้มีการอภิปรายร่วมกันและเพื่อส่งเสริมความสามัคคีอีกด้วย 
- ควรจัดกิจกรรมให้มีงานส่งในคาบเรียน เพื่อกระตุ้นให้นักเรียน สนใจกิจกรรมในชั้นเรียน สิ่งที่สำคัญคือกติกาในชั้นเรียน ควรมีกติกาเรื่อง การคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะโซเชียลเน็ตเวิร์ก 
ภารกิจที่ 1 นักศึกษาจะมีแนวทางในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหาของ โรงเรียนบ้านหนองใหญ่ อย่างไร
ตอบ การใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือทางปัญญา เป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ประกอบด้วย 
1. เครื่องมือค้นพบ (Discovery tools) เป็นการค้นหาข้อมูล เพื่อนำมาซึ่งการค้นพบ สารสนเทศหรือความรู้ที่ต้องการ โดยมีพื้นฐานจากทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา ที่ว่าการเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ลงมือปฏิบัติ โดยอาศัยประสบการณ์ตรงและค้นหา วิธีการแก้ปัญหา 
2. เครื่องมือสร้างความรู้ (Knowledge creation tools) เป็นการสนับสนุนการสร้าง ความรู้ของผู้เรียนที่เกิดขึ้นในความจำระยะสั้น ประมวลผลสารสนเทศต่างๆที่ผ่านเข้ามา เพื่อจัดระเบียบ หมวดหมู่ สร้างความสัมพันธ์เครื่องมือสร้างความรู้ 
3. เครื่องมือการสื่อสาร (Communication tool) เป็นเครื่องมือที่ใช้สนับสนุนการสื่อสาร สนทนาแลกเปลี่ยนแนวคิดระหว่างผู้เรียนด้วยกันเองและผู้สอน เพื่อสร้างชุมชนในการ เรียนรู้ และสังคมของผู้เรียน 
ภารกิจที่ 2 บทบาทของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เป็น อย่างไร
ตอบ 
การใช้คอมพิวเตอร์เป็นครู เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer assisted instruction: CAI), การเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นฐาน (Computer-based instruction CBI), หรือการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยเรียนรู้ (Computer assisted learning: CAL) 
การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้ช่วยสอน เป็นเครื่องมือช่วยผู้เรียนในการทำงานประจำ ต่างๆเกี่ยวกับการเรียนและงานที่ครูมอบหมายและเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร ช่วยให้ผู้เรียน สร้างผลงานให้สำเร็จตามเป้าหมายได้ 
การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียน บทบาทของผู้เรียนจึงเป็นผู้สอนและบทบาทของ คอมพิวเตอร์จึงเป็นผู้เรียน ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความเข้าใจปัญหาบางอย่างหรือเนื้อหาที่ใช้ในการ สื่อสารกับคอมพิวเตอร์ 
ภารกิจที่ 3 ให้เสนอรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการจัดการ เรียนรู้ตามสาระการเรียนรู้ที่นักศึกษารับผิดชอบ
นางสาวทัชชา ทัศน์ละไม 563050531-1 
นางสาวธีรดา เลาประเสริฐสุข 563050533-7 
นางสาวอัษฎาพร รัตนสีหา 563050551-5 
สาขา การสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ 
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 
จัดทำโดย

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5LALILA226
 
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้Amu P Thaiying
 
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Thamonwan Kottapan
 
Presentation5 2557
Presentation5 2557Presentation5 2557
Presentation5 2557pohn
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้sinarack
 
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Pan Kannapat Hengsawat
 
Chater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for LearningChater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for LearningMod DW
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Wuth Chokcharoen
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Dee Arna'
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 

La actualidad más candente (16)

นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5นวัตกรรม บทที่ 5
นวัตกรรม บทที่ 5
 
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
 
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Presentation5 2557
Presentation5 2557Presentation5 2557
Presentation5 2557
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
 
Chater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for LearningChater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for Learning
 
นวัต5
นวัต5นวัต5
นวัต5
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 

Destacado

มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาiibowvie
 
Top Brand Logo Design Secrets
Top Brand Logo Design SecretsTop Brand Logo Design Secrets
Top Brand Logo Design SecretsSuper Logo
 
ประวัติและความเป็นมาของภาษาซี
ประวัติและความเป็นมาของภาษาซีประวัติและความเป็นมาของภาษาซี
ประวัติและความเป็นมาของภาษาซีDo Teerasuk
 
Actividad 3 geometria
Actividad 3 geometriaActividad 3 geometria
Actividad 3 geometriaBelem Anell
 
The History of Hoodies
The History of HoodiesThe History of Hoodies
The History of HoodiesSuper Logo
 
Football Badges Made Literal
Football Badges Made LiteralFootball Badges Made Literal
Football Badges Made LiteralSuper Logo
 
The Benefits of School Trips
The Benefits of School TripsThe Benefits of School Trips
The Benefits of School TripsSuper Logo
 
Ekonomi bab Ketenagakerjaan
Ekonomi bab KetenagakerjaanEkonomi bab Ketenagakerjaan
Ekonomi bab KetenagakerjaanDiki Armanda
 
Sistem Peredaran Darah
Sistem Peredaran DarahSistem Peredaran Darah
Sistem Peredaran DarahDiki Armanda
 
Early american literature pre 1800 (1)
Early american literature   pre 1800 (1)Early american literature   pre 1800 (1)
Early american literature pre 1800 (1)Charles Gallagher
 
Wolfram alpha presentation
Wolfram alpha presentationWolfram alpha presentation
Wolfram alpha presentationMatthew Imaizumi
 

Destacado (19)

มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Top Brand Logo Design Secrets
Top Brand Logo Design SecretsTop Brand Logo Design Secrets
Top Brand Logo Design Secrets
 
Social media for tumwater u
Social media for tumwater uSocial media for tumwater u
Social media for tumwater u
 
Cgle 2014 notice
Cgle 2014 noticeCgle 2014 notice
Cgle 2014 notice
 
ประวัติและความเป็นมาของภาษาซี
ประวัติและความเป็นมาของภาษาซีประวัติและความเป็นมาของภาษาซี
ประวัติและความเป็นมาของภาษาซี
 
Your last lecture
Your last lectureYour last lecture
Your last lecture
 
Actividad 3 geometria
Actividad 3 geometriaActividad 3 geometria
Actividad 3 geometria
 
chapter2
chapter2chapter2
chapter2
 
The History of Hoodies
The History of HoodiesThe History of Hoodies
The History of Hoodies
 
Football Badges Made Literal
Football Badges Made LiteralFootball Badges Made Literal
Football Badges Made Literal
 
The Benefits of School Trips
The Benefits of School TripsThe Benefits of School Trips
The Benefits of School Trips
 
Ekonomi bab Ketenagakerjaan
Ekonomi bab KetenagakerjaanEkonomi bab Ketenagakerjaan
Ekonomi bab Ketenagakerjaan
 
Sistem Peredaran Darah
Sistem Peredaran DarahSistem Peredaran Darah
Sistem Peredaran Darah
 
Early american literature pre 1800 (1)
Early american literature   pre 1800 (1)Early american literature   pre 1800 (1)
Early american literature pre 1800 (1)
 
Dekrit presiden
Dekrit presidenDekrit presiden
Dekrit presiden
 
Wolfram alpha presentation
Wolfram alpha presentationWolfram alpha presentation
Wolfram alpha presentation
 
American romanticism (1)
American romanticism (1)American romanticism (1)
American romanticism (1)
 
Capp
CappCapp
Capp
 
Cad cam
Cad camCad cam
Cad cam
 

Similar a Chap 5

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้N'Fern White-Choc
 
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Nidnoy Thanyarat
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5oraya-s
 
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Pan Kannapat Hengsawat
 
Unit5sattakamon
Unit5sattakamonUnit5sattakamon
Unit5sattakamonSattakamon
 
Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Teerasak Nantasan
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้JaengJy Doublej
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Fern's Supakyada
 
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Prakaidao Suebwong
 
Chapter5 (1)
Chapter5 (1)Chapter5 (1)
Chapter5 (1)FerNews
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5beta_t
 

Similar a Chap 5 (17)

คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
 
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Unit5sattakamon
Unit5sattakamonUnit5sattakamon
Unit5sattakamon
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
241203 chapter05
241203 chapter05241203 chapter05
241203 chapter05
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter5 (1)
Chapter5 (1)Chapter5 (1)
Chapter5 (1)
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 

Chap 5

  • 1.
  • 3. โรงเรียนบ้านหนองใหญ่ได้รับการบริจาคห้องคอมพิวเตอร์ใหม่ หลังจากที่ได้มี โครงการผ้าป่าซื้อคอมพิวเตอร์ให้กับโรงเรียน ซึ่ง ผอ.โรงเรียนจึงได้มีนโยบายให้ครูทุก ระดับชั้นพัฒนาสื่อการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ หรือหากใครที่ยังไม่สามารถสร้างเองได้ก็ ให้บูรณาการคอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอน และเปิดช่วงเวลาให้นักเรียนเข้ามาใช้ คอมพิวเตอร์ได้ ผลจากการประเมินการใช้คอมพิวเตอร์ของโรงเรียนในปีที่ผ่านมาพบว่า ครูพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ในลักษณะที่เป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดและนำเสนอเนื้อหาการ เรียนการสอนโดยตรงไปยังผู้เรียน โดยในบทเรียนคอมพิวเตอร์มีการทดสอบ การนาเสนอ เนื้อหา การทดสอบหลังเรียน บทบาทผู้เรียนก็ยังเป็นเพียงแค่การท่องจำเนื้อหา ซึ่งไม่ ส่งเสริมกระบวนการคิดปัญหาอีกประการที่พบคือ เมื่อครูจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเข้าไปใช้ คอมพิวเตอร์ก็มักจะใช้เพื่อเล่นเกม ดูหนัง สนทนาออนไลน์ และ Social media โดยเฉพาะ face book ซึ่งไม่ได้ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการแสวงหาและสร้างการเรียนรู้ของ ตนเอง สถานการณ์ปัญหา
  • 4. ตอบ การแก้ปัญหามีดังนี้ - ส่วนของเนื้อหาควรจะมีความน่าสนใจ แปลกใหม่ อาจจะจัดเป็น กิจกรรมหรือสถานการณ์ปัญหาให้ผู้เรียนได้คิดคำตอบจัดเป็นกิจกรรมกลุ่ม ให้มีการอภิปรายร่วมกันและเพื่อส่งเสริมความสามัคคีอีกด้วย - ควรจัดกิจกรรมให้มีงานส่งในคาบเรียน เพื่อกระตุ้นให้นักเรียน สนใจกิจกรรมในชั้นเรียน สิ่งที่สำคัญคือกติกาในชั้นเรียน ควรมีกติกาเรื่อง การคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะโซเชียลเน็ตเวิร์ก ภารกิจที่ 1 นักศึกษาจะมีแนวทางในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหาของ โรงเรียนบ้านหนองใหญ่ อย่างไร
  • 5. ตอบ การใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือทางปัญญา เป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ประกอบด้วย 1. เครื่องมือค้นพบ (Discovery tools) เป็นการค้นหาข้อมูล เพื่อนำมาซึ่งการค้นพบ สารสนเทศหรือความรู้ที่ต้องการ โดยมีพื้นฐานจากทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงปัญญา ที่ว่าการเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ลงมือปฏิบัติ โดยอาศัยประสบการณ์ตรงและค้นหา วิธีการแก้ปัญหา 2. เครื่องมือสร้างความรู้ (Knowledge creation tools) เป็นการสนับสนุนการสร้าง ความรู้ของผู้เรียนที่เกิดขึ้นในความจำระยะสั้น ประมวลผลสารสนเทศต่างๆที่ผ่านเข้ามา เพื่อจัดระเบียบ หมวดหมู่ สร้างความสัมพันธ์เครื่องมือสร้างความรู้ 3. เครื่องมือการสื่อสาร (Communication tool) เป็นเครื่องมือที่ใช้สนับสนุนการสื่อสาร สนทนาแลกเปลี่ยนแนวคิดระหว่างผู้เรียนด้วยกันเองและผู้สอน เพื่อสร้างชุมชนในการ เรียนรู้ และสังคมของผู้เรียน ภารกิจที่ 2 บทบาทของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เป็น อย่างไร
  • 6. ตอบ การใช้คอมพิวเตอร์เป็นครู เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer assisted instruction: CAI), การเรียนการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นฐาน (Computer-based instruction CBI), หรือการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยเรียนรู้ (Computer assisted learning: CAL) การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้ช่วยสอน เป็นเครื่องมือช่วยผู้เรียนในการทำงานประจำ ต่างๆเกี่ยวกับการเรียนและงานที่ครูมอบหมายและเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร ช่วยให้ผู้เรียน สร้างผลงานให้สำเร็จตามเป้าหมายได้ การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียน บทบาทของผู้เรียนจึงเป็นผู้สอนและบทบาทของ คอมพิวเตอร์จึงเป็นผู้เรียน ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความเข้าใจปัญหาบางอย่างหรือเนื้อหาที่ใช้ในการ สื่อสารกับคอมพิวเตอร์ ภารกิจที่ 3 ให้เสนอรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการจัดการ เรียนรู้ตามสาระการเรียนรู้ที่นักศึกษารับผิดชอบ
  • 7. นางสาวทัชชา ทัศน์ละไม 563050531-1 นางสาวธีรดา เลาประเสริฐสุข 563050533-7 นางสาวอัษฎาพร รัตนสีหา 563050551-5 สาขา การสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จัดทำโดย