SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 32
Descargar para leer sin conexión
1
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
โครงการความร่วมมือเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาลในการจัด
การเมือง สาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
2
แนวทางการดาเนินงาน
ในประเด็นหลักของโครงการ
เทศบาลนาร่อง
1)ธรรมาภิบาลในองค์กร •ทน.สงขลา (ปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการประชาชน)
•ทน.เชียงราย (การบูรณาการความร่วมมือระหว่างเครือข่ายเมือง),
•ทน.ยะลา (การให้บริการสาธารณะโดยการมีส่วนร่วมของ
ชุมชน)
2) การบริการสาธารณะด้านสิ่งแวดล้อม •ทต.เมืองแกลง (เมืองคาร์บอนต่า)
•ทน.อุดรธานี (การจัดการน้าเสียของเมือง)
3) การบริหารจัดการงบประมาณและ
การลงทุน
•ทน.ปากเกร็ด (การอนุรักษ์และพัฒนาตลาดเก่าอย่างมีส่วนร่วม
อย่างยั่งยืน)
4) การมีส่วนร่วมในการวางแผนและ
ตัดสินใจ
เป็นตัวหลักในการดาเนินงานของทุกประเด็น
3
นโยบาย
เครือข่าย
สันนิบาตเทศบาล
หน่วยงาน (เทศบาล)
โครงการ
2
3
4
5
1
4
ข้อเสนอแนะ : ระดับโครงการ
ปัญหา ข้อเสนอแนะ
• ขาดผู้เชี่ยวชาญด้านซอฟแวร์
งบประมาณจากัด (SK)
• ขอรับการสนับสนุนจาก กพร.
ปัญหาด้านกาลังคน
– วิทยากรพี่เลี้ยงมีภารกิจอื่น
– เปลี่ยนแปลงคณะผู้บริหาร
(CR)
• มีการปรับแผนการทางานให้
เหมาะสมตามสถานการณ์
• การทาความเข้าใจ
1
5
ข้อเสนอแนะ : ระดับโครงการ
ปัญหา ข้อเสนอแนะ
• สมาชิกในตลาดมีหลายกลุ่ม
ขาดผู้นาตลาดที่แท้จริง (PK)
• โครงการในตลาดไม่ต่อเนื่อง ไม่
สามารถตอบสนองความต้องการ
ของกลุ่มตลาดได้ (PK)
• ควรจัดให้มีการอบรม ศึกษาดูงาน
ให้ปรับเปลี่ยนแนวคิดในการพัฒนา
ชุมชนโดยชุมชนเอง และผลักดันให้
กลุ่มตั้งเป็นมูลนิธิต่อไป
• แผนต่างๆต้องจัดทาโดยการมีส่วน
ร่วมในชุมชน
1
6
ข้อเสนอแนะ : ระดับโครงการ
ปัญหา ข้อเสนอแนะ
• ชุมชนในเขตเทศบาลนครยะลามี
ลักษณะความเป็นอยู่ของชุมชน
เมืองสูง (YL)
• ผู้นาชุมชนไม่ให้ความสาคัญกับ
โครงการฯ (YL)
• ส่งเสริมความสัมพันธ์ภายใน
ชุมชนและระหว่างเทศบาลและ
ชุมชนอย่างต่อเนื่องและจริงจัง
• ให้ความสาคัญและยกย่องบุคคลที่
มีจิตสาธารณะที่เข้าร่วมกิจกรรม
ของชุมชนและเทศบาล
1
7
ข้อเสนอแนะ : ระดับหน่วยงาน (เทศบาล)
ปัญหา ข้อเสนอแนะ
• หน่วยงานหลักขาดบุคลากรที่
จะรับผิดชอบดูแลโครงการฯ
อย่างต่อเนื่อง (SK,YL)
• ผู้บริหารต้องให้ความสาคัญกับ
โครงการอย่างจริงจังและสร้าง
แรงจูงใจให้กับบุคลากร
• ผู้บริหารท้องถิ่นต้องให้
ความสาคัญในระดับนโยบายอย่าง
ต่อเนื่อง
2
8
ข้อเสนอแนะ : ระดับหน่วยงาน (เทศบาล)
ปัญหา ข้อเสนอแนะ
อปท.บางแห่งไม่ให้ความสาคัญในการ
ลดปริมาณขยะ (CR)
• สร้างกลไกการมีส่วนร่วมระหว่าง อปท. กับ
ประชาชน (Co-management) ในการจัดการ
ขยะมูลฝอยอย่างครบวงจร (ต้นทางถึง
ปลายทาง)
• เพิ่มประสิทธิภาพในการขับเคลื่อน อปท. ให้เข้ามา
ดูแลสิ่งแวดล้อมตามภารกิจของตนอย่างเห็นผล
(การขับเคลื่อนกระบวนการจัดการขยะอย่างครบ
วงจร )
2
9
ข้อเสนอแนะ : ระดับหน่วยงาน (เทศบาล)
ปัญหา ข้อเสนอแนะ
• มีปัญหาทางการเมืองท้องถิ่นในตลาด
และปัญหาสะสมจากการพัฒนาตลาด
ในช่วงแรกของเทศบาล (PK)
• เทศบาลควรปรับบทบาทเป็น
ผู้สนับสนุนดูแลตลาดตามภารกิจใน
อานาจหน้าที่
• เทศบาลควรนากระบวนการ จัดทาแผน
ชุมชน เป็นเครื่องมือในการพัฒนา
ตลาดเก่าฯ ผ่านประธานกรรมการ
ชุมชน หรือตั้งกลุ่มตลาดเก่าเป็นชุมชน
ต่อไป
2
10
ข้อเสนอแนะ : สันนิบาตเทศบาล
ข้อเสนอแนะ/แนวทางการผลักดัน
• ส.ท.ท. ต้องหนุนเสริม Best Practice ได้อย่างไรเพื่อให้เกิดการทางานอย่างต่อเนื่อง
• ส.ท.ท. จะสร้าง Best Practice ใหม่ได้อย่างไร
• ส.ท.ท. ต้องสนับสนุนการเพิ่มจานวน Coach อย่างน้อย 1 เทศบาล : 1 Coach
• ส.ท.ท.ต้องสร้างความเข้มแข็งและเสริมบทบาทของ ศูนย์เครือข่ายการเรียนรู้ด้านการ
จัดการเมืองและสิ่งแวดล้อม ทั้ง 5 ภาค
3
11
ข้อเสนอแนะ/แนวทางการผลักดัน : ภาคีเครือข่าย
4
สถาบันพระปกเกล้า
สถาบันการศึกษาอื่นๆ ในพื้นที่แต่ละภาค
ภาคประชาสังคม –มูลนิธิ สมาคมต่างๆ
สื่อมวลชน
12
สถาบันพระปกเกล้า
• จัดทาข้อเสนอต่อรัฐบาลเพื่อสนับสนุนท้องถิ่น
• Capacity Building การจัดอบรมเสริมสร้างศักยภาพ
• การทาวิจัย
4
13
สถาบันการศึกษาอื่นๆ ในพื้นที่แต่ละภาค
• Capacity Building
การจัดอบรมเสริมสร้างศักยภาพ
• การทาวิจัยร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และการ
จัดทาหลักสูตรท้องถิ่น
• การสนับสนุนและร่วมเป็นวิทยากรพี่เลี้ยงเพื่อร่วม
ขับเคลื่อนโครงการ
4
14
ภาคประชาสังคม –มูลนิธิ สมาคมต่างๆ
• ร่วมสนับสนุนการทางานขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น โดยเฉพาะในประเด็นเฉพาะด้าน
• ร่วมให้ข้อคิดเห็น สร้างการเรียนรู้ในระดับชุมชน
• ช่วยผลักดันและขับเคลื่อนข้อเสนอเชิงนโยบาย
4
15
สื่อมวลชน
• ร่วมสนับสนุนการทางานขององค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น ในการสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง
• เผยแพร่กิจกรรมที่ดาเนินการอยู่
• ช่วยผลักดันและขับเคลื่อนข้อเสนอเชิงนโยบาย
4
16
ข้อเสนอแนะ : ระดับนโยบาย/ข้อกฎหมาย
ประเด็น ประเด็นย่อย ปัญหา ผลที่เกิดขึ้น ข้อเสนอแนะ
ข้อกฎหมายและ
ระเบียบ
กฎหมายเกี่ยวกับการ
กระจายอานาจ
1) การให้อานาจ
ท้องถิ่นอย่างแท้จริง
 ไม่สามารถ
ดาเนินงานได้ตามที่
กาหนดไว้
• การแก้กฎหมายให้อปท.
สามารถทางานในชุมชน
ได้อย่างคล่องตัวได้
2) การถ่ายโอนภารกิจ  ถ่ายโอนมาแล้ว แต่
อปท ยังประสบ
ปัญหางบประมาณ
คน และเครื่องมือ
 ถ่ายโอนมาพร้อม
วัสดุอุปกรณ์ที่
เสื่อมสภาพ เป็น
ภาระกับท้องถิ่น
(CR)
• ควรสนับสนุนให้มี
การออกกฎหมายเพื่อ
รองรับกับหลัก3Rs
• รัฐควรสนับสนุน
งบประมาณ และสร้าง
ศักยภาพแก่ อปท. ที่
เป็นศูนย์กาจัดขยะ
รวม
5
17
ข้อเสนอแนะ : ระดับนโยบาย/ข้อกฎหมาย
ประเด็น ประเด็นย่อย ปัญหา ผลที่เกิดขึ้น ข้อเสนอแนะ
ข้อกฎหมายและ
ระเบียบ
กฎหมายกระจาย
อานาจ
3) ความเป็นอิสระ
(Autonomy) และ
ความคล่องตัวใน
การดาเนินงาน ให้
ลงมาถึงภาค
ประชาชนให้
ร่วมกันพัฒนา
ท้องถิ่นยังมีน้อย
 การดึงภาค
ประชาชนมามี
ส่วนร่วมในการ
ให้บริการ
สาธารณะใน
ชุมชนของ
ตนเอง
(YL)
• การแก้กฎหมาย
ให้ อปท.
สามารถทางาน
ได้คล่องตัว
5
18
ข้อเสนอแนะ : ระดับนโยบาย/ข้อกฎหมาย
ประเด็น ประเด็นย่อย ปัญหา ผลที่เกิดขึ้น ข้อเสนอแนะ
ข้อกฎหมายและ
ระเบียบ
พระราชกฤษฎีกา
การปรับปรุงการ
ให้บริการประชาชน
ฯ
(E-Gov)
1) เป็นเพียง
แนวทางกว้างๆ
ไม่มีระบบ
สนับสนุนที่ชัดเจน
 ขาดงบประมาณ
ผู้เชี่ยวชาญ และ
หน่วยงานกลาง
ที่ให้การ
สนับสนุน
• ควรมีหน่วยงาน
กลางที่วางระบบ
และพัฒนา E-
Gov ของ อปท.
ให้เป็นระบบ
เดียวกัน
5
19
ข้อเสนอแนะ : ระดับนโยบาย/ข้อกฎหมาย
ประเด็น ประเด็นย่อย ปัญหา ผลที่เกิดขึ้น ข้อเสนอแนะ
ข้อกฎหมายและ
ระเบียบ
ระเบียบ หนังสือสั่ง
การอื่นๆ
1) การให้อานาจ
เทศบาลในการ
จัดตั้งกลุ่มในพื้นที่
กรณี ทน.ปากเกร็ด
 เทศบาลไม่สามารถตั้งกลุ่ม
เองได้แต่ต้องทาโดยท้องที่
ผ่านอาเภอเท่านั้น และการ
สนับสนุนของเทศบาล
ตาม หลักเกณฑ์เงิน
อุดหนุนของท้องถิ่น
 สองมาตรฐานในการให้
ค่าตอบแทน
ทางานกับท้องที่ ได้แต่
ทางานกับท้องถิ่นไม่ได้
(PK)
• ควรกระจายอานาจใน
เรื่องการส่งเสริมการมีส่วน
ร่วมให้ท้องถิ่น
สามารถบริหารจัดการ
ได้คล่องตัวมากขึ้น
• ส่งเสริมการมีส่วนร่วม
ผ่านตัวแทนประชาชนหรือ
กลุ่มประชาสังคม
• หากจะมีการตั้ง
ค่าตอบแทน จะต้อง
โปร่งใสและเป็นธรรม และ
พยายามเน้นจิตสาธารณะ
5
20
ข้อเสนอแนะ : ระดับนโยบาย/ข้อกฎหมาย
ประเด็น ประเด็นย่อย ปัญหา ผลที่เกิดขึ้น ข้อเสนอแนะ
ข้อกฎหมายและ
ระเบียบ
ระเบียบ หนังสือสั่งการ
อื่นๆ
2) ไม่มีระเบียบที่
ส่งเสริมให้ท้องถิ่นมา
ทากิจการร่วมกัน แต่
ไม่เคยมีวิธีการที่
ชัดเจนให้เอาไปปฏิบัติ
และไม่มีการส่งเสริม
หรือสนับสนุน
• ท้องถิ่นไม่สามารถ
ร่วมกันทางานได้
โดยเฉพาะในการ
จัดการสิ่งแวดล้อม
ที่ต้องอาศัยการ
บริหารสิ่งแวดล้อม
ข้ามพรมแดน
Transboundary
(CR)
• ออกกฎหมายเพื่อ
รองรับบริหาร
จัดการความร่วมมือ
ในรูปแบบการจัด
องค์กรร่วมระหว่าง
อปท. และ
หน่วยงานภาครัฐ
อื่นๆ
5
21
ร่วมแลกเปลี่ยน
22
การสานต่อโครงการที่ดาเนินการอยู่
• ให้เครือข่ายในระดับประเทศ ระดับภาค และระดับพื้นที่เข้ามามีส่วน
ร่วมในการขับเคลื่อน
• สถาบันวิชาการเข้ามาเป็นพี่เลี้ยงให้กับเทศบาล
• โครงการของ ทน.สงขลา – ความร่วมมือของ กพร. และมหาวิทยาลัย
• การแลกเปลี่ยนร่วมกันผ่านเครือข่าย อาทิ ศูนย์การเรียนรู้ทั้ง 5 ภาค
• การ ปชส.โครงการผ่านสื่อ
23
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
• การจัดการขยะในเชียงราย ต่างคนต่างทา ภาคประชาชนและภาครัฐควร
มาทางานร่วมกัน
• ดึงสถาบันวิชาการมาช่วย โดยเฉพาะการทาฐานข้อมูลกลางของท้องถิ่น
24
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
• สทท หรือ DELGOSEA น่าจะหานวัตกรรมที่น่าสนใจเพิ่มเติม แล้วมา
ทาเป็น Project list โดย สกถ ยินดีให้การสนับสนุน
• การสร้างเครือข่ายในพื้นที่ จากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน
• ทน.สงขลา ขอการสนับสนุนจาก สทท ในการร่วมพัฒนาระบบ E –Gov
• ระบบ IT น่าจะเป็นข้อมูลเดียวกัน โดยใช้การสื่อสาร ทาความเข้าใจ เช่น
ฐานข้อมูลน้า ป่าชุมชน การวิเคราะห์ทุนทางสังคมในทุกๆ ระดับ
ฐานข้อมูลตัวบุคคล (การหาตัวจริง ว่าใครทาอะไร มีปัญหาติดต่อใคร) --
-ใช้IT ฐานกลาง เพื่อช่วยให้การแก้ปัญหาในพื้นที่ทาได้อย่างถูกต้อง
เหมาะสม (เชียงรายได้ทดลองทาแล้ว)
25
ประเด็นแลกเปลี่ยนจากที่ประชุม_policy recommendation
• ประเด็นที่ทาความเข้าใจเพิ่มเติม เช่น
–ประเด็น 2% - เพราะตัวเลขนี้เป็นตัวช่วยปกป้องท้องถิ่น ไม่ให้
หน่วยงานอื่นมาใช้อานาจเหนือท้องถิ่นได้
–ช่องทางในการทางานกับชุมชน ทาผ่านการจัดทาโครงการพัฒนาฯ
–บทบาทของคณะกรรมการกระจายอานาจยังมีจากัด นโยบายบาง
เรื่องควรเสนอไปยังรัฐบาลกลาง
–ต้องเข้าใจความหมายที่แท้จริงของท้องถิ่น และการกระจายอานาจ
• การสร้างนโยบายจากระดับท้องถิ่น
–ควรสร้าง Bottom-up Policy เพื่อลดจุดอ่อนของตัวเอง
26
ประเด็นแลกเปลี่ยนจากที่ประชุม
• ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายให้เน้นที่
• การทางานจากข้างล่าง
• การร่วมกันจากส่วนเล็กๆ เพื่อให้เกิด Partnership
• ให้ท้องถิ่นทาเยอะ จนกลายมาเป็น Agenda ของ สทท. ต่อไป
• ควรมี Recommendations สาหรับผู้บริหาร เพื่อให้เห็นว่าสิ่งนี้
สาคัญ และหากทาแล้วจะสามารถชนะการเลือกตั้งได้อย่างไร
27
• ความร่วมมือแบบสหการ
– ในกรอบกฎหมายได้กาหนดไว้บ้าง แต่ระเบียบของ สตง. ยังไม่เอื้อ ขณะนี้ได้มี
ความพยายามแก้ไขอยู่
• จากโครงการนาร่องของเทศบาล 4 แห่ง ให้ความสาคัญกับ
– ความสม่าเสมอของการจัดกิจกรรม
– การใช้กลไกภาคประชาชน ต้องทาอย่างจริงจัง และให้เกิดการมีส่วนร่วมให้
ครบทุกระดับ
– เน้นการประชาสัมพันธ์
– มีความอดทน และมุ่งมั่นของคนทางาน
ประเด็นแลกเปลี่ยนจากที่ประชุม
28
• บทบาทของ สทท.
–การเสริม Best Practices และการทาระบบ Coaches
–การให้ Coaches ทางานข้ามถิ่น ควรมีการขึ้นทะเบียน เพื่อให้เกิดการ
ทางานแบบ Pool ร่วมกันทั้งประเทศ การสร้าง Coaches ควรดู
สัดส่วนให้กระจายตามพื้นที่
–นา List นี้ ลง WEB เพื่อบอกรายละเอียด และเข้าไปดูข้อมูลได้
–ใน อปท. มี BPs เยอะมาก ควรจัดทา List
ประเด็นแลกเปลี่ยนจากที่ประชุม
29
• โครงการของแต่ละเทศบาลนาร่อง ต้องถามว่า ทาเพราะอะไร เพราะ KPI หรือ เพื่อ
Responsiveness ของท้องถิ่นที่ต้องให้บริการประชาชน
– Constraints ในเรื่องกฎหมาย ที่ต้องหาเจ้าภาพ มาพูดคุยกัน
– E Gov เป็นเพียงการเอา IT มาเป็น Tool แต่ฐานข้อมูลยัง Pool กันไม่ได้แต่ในทางปฏิบัติ
อปท ควรเสนอเรื่องนี้ขึ้นไปเพื่อให้ช่วยแก้ปัญหาข้อจากัดที่มีอยู่
– E Gov ในช่วงแรก ต้องลงทุน แต่ในระยะยาว Cost ก็จะลดลง คนก็จะลด
ประเด็นแลกเปลี่ยนจากที่ประชุม
30
ประเด็นวิพากย์
• ข้อเสนอส่งต่อไปยังหน่วยงานใด และใครเป็นหุ้นส่วนที่จะเข้าร่วมบ้าง ขึ้นอยู่กับ
Interest ของแต่ละ Player แต่หากยังไม่มีใครเป็นต้นเรื่อง หรือ ยังไม่ได้ทาให้คน
กลุ่มใหญ่เห็นความสาคัญ จะต้องเร่งให้เกิดผลผลิต เพื่อให้เห็นประโยชน์
• กรอบระยะเวลาในการขับเคลื่อนเพื่อบรรลุข้อเสนอแต่ละข้อ
• การกาหนดเป้าหมายของแต่ละข้อเสนอ มีหรือไม่ หากมี กาหนดมาจากไหน
อย่างไร อนาคตเป็นอย่างไร
• ความครอบคลุมของประเด็นนโยบายมีมากน้อยเพียงใด
31
• ความชัดเจน หรือ ความเข้าใจที่ตรงกันในเรื่องนั้นๆ
• Key elements เช่น การมีส่วนร่วมของประชาชน ที่ต้องอยู่ในทุกระดับ นับแต่ระดับ
โครงการ ถึงระดับนโยบาย
• ความสอดคล้อง ของทั้ง 4 ประเด็นหลัก ที่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ แต่ต้องมี
การเชื่อมโยงไปมาหากัน และมีสารตั้งต้นอย่างเดียวกัน ได้แก่ คุณภาพชีวิต กลุ่ม
ผู้ด้อยโอกาส การมีส่วนร่วมในการวางแผนและการตัดสินใจ
ประเด็นวิพากย์
32
ขอบคุณค่ะ

Más contenido relacionado

Similar a Policy recomendation delgo sea thailand

เทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราเทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราguest4439f1
 
恐怖份子的家園
恐怖份子的家園恐怖份子的家園
恐怖份子的家園honan4108
 
โครงการการรวมพลังสดโลกร้อน
โครงการการรวมพลังสดโลกร้อนโครงการการรวมพลังสดโลกร้อน
โครงการการรวมพลังสดโลกร้อนNatta Noname101
 
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...Kosin Jind
 
Tic 1
Tic  1Tic  1
Tic 1BTNHO
 
Partnershipplatforms
PartnershipplatformsPartnershipplatforms
Partnershipplatformspauleyez
 
ลุ่มน้ำเลย
ลุ่มน้ำเลยลุ่มน้ำเลย
ลุ่มน้ำเลยpentanino
 
9789740335702
97897403357029789740335702
9789740335702CUPress
 
แหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวTananya Jangouksom
 
แนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภค Socail network
แนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภค Socail networkแนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภค Socail network
แนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภค Socail networkSujinda Kultangwattana
 
เรื่องขยะ แม่สัน
เรื่องขยะ แม่สันเรื่องขยะ แม่สัน
เรื่องขยะ แม่สันcm carent
 

Similar a Policy recomendation delgo sea thailand (20)

ต่าย
ต่ายต่าย
ต่าย
 
015
015015
015
 
เทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราเทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารรา
 
恐怖份子的家園
恐怖份子的家園恐怖份子的家園
恐怖份子的家園
 
โครงการการรวมพลังสดโลกร้อน
โครงการการรวมพลังสดโลกร้อนโครงการการรวมพลังสดโลกร้อน
โครงการการรวมพลังสดโลกร้อน
 
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...
กรอบแนวทางกรขับเคลื่อนการดำเนินงานตาม (ร่าง)นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนั...
 
แนวสรุปนักพัฒนาชุมชน99
แนวสรุปนักพัฒนาชุมชน99แนวสรุปนักพัฒนาชุมชน99
แนวสรุปนักพัฒนาชุมชน99
 
Tic 1
Tic  1Tic  1
Tic 1
 
Partnershipplatforms
PartnershipplatformsPartnershipplatforms
Partnershipplatforms
 
ลุ่มน้ำเลย
ลุ่มน้ำเลยลุ่มน้ำเลย
ลุ่มน้ำเลย
 
คําบรรยายลักษณะงานเชิงกลยุทธ์ระดับอำเภอของพัฒนาชุมชน
คําบรรยายลักษณะงานเชิงกลยุทธ์ระดับอำเภอของพัฒนาชุมชนคําบรรยายลักษณะงานเชิงกลยุทธ์ระดับอำเภอของพัฒนาชุมชน
คําบรรยายลักษณะงานเชิงกลยุทธ์ระดับอำเภอของพัฒนาชุมชน
 
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
แผนพัฒนาสามปี องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยยาง พ.ศ.2558-2560
 
9789740335702
97897403357029789740335702
9789740335702
 
แหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยว
 
แหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยว
 
20160902115458
2016090211545820160902115458
20160902115458
 
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
 
016
016016
016
 
แนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภค Socail network
แนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภค Socail networkแนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภค Socail network
แนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภค Socail network
 
เรื่องขยะ แม่สัน
เรื่องขยะ แม่สันเรื่องขยะ แม่สัน
เรื่องขยะ แม่สัน
 

Policy recomendation delgo sea thailand

  • 2. 2 แนวทางการดาเนินงาน ในประเด็นหลักของโครงการ เทศบาลนาร่อง 1)ธรรมาภิบาลในองค์กร •ทน.สงขลา (ปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการประชาชน) •ทน.เชียงราย (การบูรณาการความร่วมมือระหว่างเครือข่ายเมือง), •ทน.ยะลา (การให้บริการสาธารณะโดยการมีส่วนร่วมของ ชุมชน) 2) การบริการสาธารณะด้านสิ่งแวดล้อม •ทต.เมืองแกลง (เมืองคาร์บอนต่า) •ทน.อุดรธานี (การจัดการน้าเสียของเมือง) 3) การบริหารจัดการงบประมาณและ การลงทุน •ทน.ปากเกร็ด (การอนุรักษ์และพัฒนาตลาดเก่าอย่างมีส่วนร่วม อย่างยั่งยืน) 4) การมีส่วนร่วมในการวางแผนและ ตัดสินใจ เป็นตัวหลักในการดาเนินงานของทุกประเด็น
  • 4. 4 ข้อเสนอแนะ : ระดับโครงการ ปัญหา ข้อเสนอแนะ • ขาดผู้เชี่ยวชาญด้านซอฟแวร์ งบประมาณจากัด (SK) • ขอรับการสนับสนุนจาก กพร. ปัญหาด้านกาลังคน – วิทยากรพี่เลี้ยงมีภารกิจอื่น – เปลี่ยนแปลงคณะผู้บริหาร (CR) • มีการปรับแผนการทางานให้ เหมาะสมตามสถานการณ์ • การทาความเข้าใจ 1
  • 5. 5 ข้อเสนอแนะ : ระดับโครงการ ปัญหา ข้อเสนอแนะ • สมาชิกในตลาดมีหลายกลุ่ม ขาดผู้นาตลาดที่แท้จริง (PK) • โครงการในตลาดไม่ต่อเนื่อง ไม่ สามารถตอบสนองความต้องการ ของกลุ่มตลาดได้ (PK) • ควรจัดให้มีการอบรม ศึกษาดูงาน ให้ปรับเปลี่ยนแนวคิดในการพัฒนา ชุมชนโดยชุมชนเอง และผลักดันให้ กลุ่มตั้งเป็นมูลนิธิต่อไป • แผนต่างๆต้องจัดทาโดยการมีส่วน ร่วมในชุมชน 1
  • 6. 6 ข้อเสนอแนะ : ระดับโครงการ ปัญหา ข้อเสนอแนะ • ชุมชนในเขตเทศบาลนครยะลามี ลักษณะความเป็นอยู่ของชุมชน เมืองสูง (YL) • ผู้นาชุมชนไม่ให้ความสาคัญกับ โครงการฯ (YL) • ส่งเสริมความสัมพันธ์ภายใน ชุมชนและระหว่างเทศบาลและ ชุมชนอย่างต่อเนื่องและจริงจัง • ให้ความสาคัญและยกย่องบุคคลที่ มีจิตสาธารณะที่เข้าร่วมกิจกรรม ของชุมชนและเทศบาล 1
  • 7. 7 ข้อเสนอแนะ : ระดับหน่วยงาน (เทศบาล) ปัญหา ข้อเสนอแนะ • หน่วยงานหลักขาดบุคลากรที่ จะรับผิดชอบดูแลโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง (SK,YL) • ผู้บริหารต้องให้ความสาคัญกับ โครงการอย่างจริงจังและสร้าง แรงจูงใจให้กับบุคลากร • ผู้บริหารท้องถิ่นต้องให้ ความสาคัญในระดับนโยบายอย่าง ต่อเนื่อง 2
  • 8. 8 ข้อเสนอแนะ : ระดับหน่วยงาน (เทศบาล) ปัญหา ข้อเสนอแนะ อปท.บางแห่งไม่ให้ความสาคัญในการ ลดปริมาณขยะ (CR) • สร้างกลไกการมีส่วนร่วมระหว่าง อปท. กับ ประชาชน (Co-management) ในการจัดการ ขยะมูลฝอยอย่างครบวงจร (ต้นทางถึง ปลายทาง) • เพิ่มประสิทธิภาพในการขับเคลื่อน อปท. ให้เข้ามา ดูแลสิ่งแวดล้อมตามภารกิจของตนอย่างเห็นผล (การขับเคลื่อนกระบวนการจัดการขยะอย่างครบ วงจร ) 2
  • 9. 9 ข้อเสนอแนะ : ระดับหน่วยงาน (เทศบาล) ปัญหา ข้อเสนอแนะ • มีปัญหาทางการเมืองท้องถิ่นในตลาด และปัญหาสะสมจากการพัฒนาตลาด ในช่วงแรกของเทศบาล (PK) • เทศบาลควรปรับบทบาทเป็น ผู้สนับสนุนดูแลตลาดตามภารกิจใน อานาจหน้าที่ • เทศบาลควรนากระบวนการ จัดทาแผน ชุมชน เป็นเครื่องมือในการพัฒนา ตลาดเก่าฯ ผ่านประธานกรรมการ ชุมชน หรือตั้งกลุ่มตลาดเก่าเป็นชุมชน ต่อไป 2
  • 10. 10 ข้อเสนอแนะ : สันนิบาตเทศบาล ข้อเสนอแนะ/แนวทางการผลักดัน • ส.ท.ท. ต้องหนุนเสริม Best Practice ได้อย่างไรเพื่อให้เกิดการทางานอย่างต่อเนื่อง • ส.ท.ท. จะสร้าง Best Practice ใหม่ได้อย่างไร • ส.ท.ท. ต้องสนับสนุนการเพิ่มจานวน Coach อย่างน้อย 1 เทศบาล : 1 Coach • ส.ท.ท.ต้องสร้างความเข้มแข็งและเสริมบทบาทของ ศูนย์เครือข่ายการเรียนรู้ด้านการ จัดการเมืองและสิ่งแวดล้อม ทั้ง 5 ภาค 3
  • 11. 11 ข้อเสนอแนะ/แนวทางการผลักดัน : ภาคีเครือข่าย 4 สถาบันพระปกเกล้า สถาบันการศึกษาอื่นๆ ในพื้นที่แต่ละภาค ภาคประชาสังคม –มูลนิธิ สมาคมต่างๆ สื่อมวลชน
  • 12. 12 สถาบันพระปกเกล้า • จัดทาข้อเสนอต่อรัฐบาลเพื่อสนับสนุนท้องถิ่น • Capacity Building การจัดอบรมเสริมสร้างศักยภาพ • การทาวิจัย 4
  • 13. 13 สถาบันการศึกษาอื่นๆ ในพื้นที่แต่ละภาค • Capacity Building การจัดอบรมเสริมสร้างศักยภาพ • การทาวิจัยร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และการ จัดทาหลักสูตรท้องถิ่น • การสนับสนุนและร่วมเป็นวิทยากรพี่เลี้ยงเพื่อร่วม ขับเคลื่อนโครงการ 4
  • 14. 14 ภาคประชาสังคม –มูลนิธิ สมาคมต่างๆ • ร่วมสนับสนุนการทางานขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น โดยเฉพาะในประเด็นเฉพาะด้าน • ร่วมให้ข้อคิดเห็น สร้างการเรียนรู้ในระดับชุมชน • ช่วยผลักดันและขับเคลื่อนข้อเสนอเชิงนโยบาย 4
  • 15. 15 สื่อมวลชน • ร่วมสนับสนุนการทางานขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ในการสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง • เผยแพร่กิจกรรมที่ดาเนินการอยู่ • ช่วยผลักดันและขับเคลื่อนข้อเสนอเชิงนโยบาย 4
  • 16. 16 ข้อเสนอแนะ : ระดับนโยบาย/ข้อกฎหมาย ประเด็น ประเด็นย่อย ปัญหา ผลที่เกิดขึ้น ข้อเสนอแนะ ข้อกฎหมายและ ระเบียบ กฎหมายเกี่ยวกับการ กระจายอานาจ 1) การให้อานาจ ท้องถิ่นอย่างแท้จริง  ไม่สามารถ ดาเนินงานได้ตามที่ กาหนดไว้ • การแก้กฎหมายให้อปท. สามารถทางานในชุมชน ได้อย่างคล่องตัวได้ 2) การถ่ายโอนภารกิจ  ถ่ายโอนมาแล้ว แต่ อปท ยังประสบ ปัญหางบประมาณ คน และเครื่องมือ  ถ่ายโอนมาพร้อม วัสดุอุปกรณ์ที่ เสื่อมสภาพ เป็น ภาระกับท้องถิ่น (CR) • ควรสนับสนุนให้มี การออกกฎหมายเพื่อ รองรับกับหลัก3Rs • รัฐควรสนับสนุน งบประมาณ และสร้าง ศักยภาพแก่ อปท. ที่ เป็นศูนย์กาจัดขยะ รวม 5
  • 17. 17 ข้อเสนอแนะ : ระดับนโยบาย/ข้อกฎหมาย ประเด็น ประเด็นย่อย ปัญหา ผลที่เกิดขึ้น ข้อเสนอแนะ ข้อกฎหมายและ ระเบียบ กฎหมายกระจาย อานาจ 3) ความเป็นอิสระ (Autonomy) และ ความคล่องตัวใน การดาเนินงาน ให้ ลงมาถึงภาค ประชาชนให้ ร่วมกันพัฒนา ท้องถิ่นยังมีน้อย  การดึงภาค ประชาชนมามี ส่วนร่วมในการ ให้บริการ สาธารณะใน ชุมชนของ ตนเอง (YL) • การแก้กฎหมาย ให้ อปท. สามารถทางาน ได้คล่องตัว 5
  • 18. 18 ข้อเสนอแนะ : ระดับนโยบาย/ข้อกฎหมาย ประเด็น ประเด็นย่อย ปัญหา ผลที่เกิดขึ้น ข้อเสนอแนะ ข้อกฎหมายและ ระเบียบ พระราชกฤษฎีกา การปรับปรุงการ ให้บริการประชาชน ฯ (E-Gov) 1) เป็นเพียง แนวทางกว้างๆ ไม่มีระบบ สนับสนุนที่ชัดเจน  ขาดงบประมาณ ผู้เชี่ยวชาญ และ หน่วยงานกลาง ที่ให้การ สนับสนุน • ควรมีหน่วยงาน กลางที่วางระบบ และพัฒนา E- Gov ของ อปท. ให้เป็นระบบ เดียวกัน 5
  • 19. 19 ข้อเสนอแนะ : ระดับนโยบาย/ข้อกฎหมาย ประเด็น ประเด็นย่อย ปัญหา ผลที่เกิดขึ้น ข้อเสนอแนะ ข้อกฎหมายและ ระเบียบ ระเบียบ หนังสือสั่ง การอื่นๆ 1) การให้อานาจ เทศบาลในการ จัดตั้งกลุ่มในพื้นที่ กรณี ทน.ปากเกร็ด  เทศบาลไม่สามารถตั้งกลุ่ม เองได้แต่ต้องทาโดยท้องที่ ผ่านอาเภอเท่านั้น และการ สนับสนุนของเทศบาล ตาม หลักเกณฑ์เงิน อุดหนุนของท้องถิ่น  สองมาตรฐานในการให้ ค่าตอบแทน ทางานกับท้องที่ ได้แต่ ทางานกับท้องถิ่นไม่ได้ (PK) • ควรกระจายอานาจใน เรื่องการส่งเสริมการมีส่วน ร่วมให้ท้องถิ่น สามารถบริหารจัดการ ได้คล่องตัวมากขึ้น • ส่งเสริมการมีส่วนร่วม ผ่านตัวแทนประชาชนหรือ กลุ่มประชาสังคม • หากจะมีการตั้ง ค่าตอบแทน จะต้อง โปร่งใสและเป็นธรรม และ พยายามเน้นจิตสาธารณะ 5
  • 20. 20 ข้อเสนอแนะ : ระดับนโยบาย/ข้อกฎหมาย ประเด็น ประเด็นย่อย ปัญหา ผลที่เกิดขึ้น ข้อเสนอแนะ ข้อกฎหมายและ ระเบียบ ระเบียบ หนังสือสั่งการ อื่นๆ 2) ไม่มีระเบียบที่ ส่งเสริมให้ท้องถิ่นมา ทากิจการร่วมกัน แต่ ไม่เคยมีวิธีการที่ ชัดเจนให้เอาไปปฏิบัติ และไม่มีการส่งเสริม หรือสนับสนุน • ท้องถิ่นไม่สามารถ ร่วมกันทางานได้ โดยเฉพาะในการ จัดการสิ่งแวดล้อม ที่ต้องอาศัยการ บริหารสิ่งแวดล้อม ข้ามพรมแดน Transboundary (CR) • ออกกฎหมายเพื่อ รองรับบริหาร จัดการความร่วมมือ ในรูปแบบการจัด องค์กรร่วมระหว่าง อปท. และ หน่วยงานภาครัฐ อื่นๆ 5
  • 22. 22 การสานต่อโครงการที่ดาเนินการอยู่ • ให้เครือข่ายในระดับประเทศ ระดับภาค และระดับพื้นที่เข้ามามีส่วน ร่วมในการขับเคลื่อน • สถาบันวิชาการเข้ามาเป็นพี่เลี้ยงให้กับเทศบาล • โครงการของ ทน.สงขลา – ความร่วมมือของ กพร. และมหาวิทยาลัย • การแลกเปลี่ยนร่วมกันผ่านเครือข่าย อาทิ ศูนย์การเรียนรู้ทั้ง 5 ภาค • การ ปชส.โครงการผ่านสื่อ
  • 23. 23 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม • การจัดการขยะในเชียงราย ต่างคนต่างทา ภาคประชาชนและภาครัฐควร มาทางานร่วมกัน • ดึงสถาบันวิชาการมาช่วย โดยเฉพาะการทาฐานข้อมูลกลางของท้องถิ่น
  • 24. 24 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม • สทท หรือ DELGOSEA น่าจะหานวัตกรรมที่น่าสนใจเพิ่มเติม แล้วมา ทาเป็น Project list โดย สกถ ยินดีให้การสนับสนุน • การสร้างเครือข่ายในพื้นที่ จากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน • ทน.สงขลา ขอการสนับสนุนจาก สทท ในการร่วมพัฒนาระบบ E –Gov • ระบบ IT น่าจะเป็นข้อมูลเดียวกัน โดยใช้การสื่อสาร ทาความเข้าใจ เช่น ฐานข้อมูลน้า ป่าชุมชน การวิเคราะห์ทุนทางสังคมในทุกๆ ระดับ ฐานข้อมูลตัวบุคคล (การหาตัวจริง ว่าใครทาอะไร มีปัญหาติดต่อใคร) -- -ใช้IT ฐานกลาง เพื่อช่วยให้การแก้ปัญหาในพื้นที่ทาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม (เชียงรายได้ทดลองทาแล้ว)
  • 25. 25 ประเด็นแลกเปลี่ยนจากที่ประชุม_policy recommendation • ประเด็นที่ทาความเข้าใจเพิ่มเติม เช่น –ประเด็น 2% - เพราะตัวเลขนี้เป็นตัวช่วยปกป้องท้องถิ่น ไม่ให้ หน่วยงานอื่นมาใช้อานาจเหนือท้องถิ่นได้ –ช่องทางในการทางานกับชุมชน ทาผ่านการจัดทาโครงการพัฒนาฯ –บทบาทของคณะกรรมการกระจายอานาจยังมีจากัด นโยบายบาง เรื่องควรเสนอไปยังรัฐบาลกลาง –ต้องเข้าใจความหมายที่แท้จริงของท้องถิ่น และการกระจายอานาจ • การสร้างนโยบายจากระดับท้องถิ่น –ควรสร้าง Bottom-up Policy เพื่อลดจุดอ่อนของตัวเอง
  • 26. 26 ประเด็นแลกเปลี่ยนจากที่ประชุม • ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายให้เน้นที่ • การทางานจากข้างล่าง • การร่วมกันจากส่วนเล็กๆ เพื่อให้เกิด Partnership • ให้ท้องถิ่นทาเยอะ จนกลายมาเป็น Agenda ของ สทท. ต่อไป • ควรมี Recommendations สาหรับผู้บริหาร เพื่อให้เห็นว่าสิ่งนี้ สาคัญ และหากทาแล้วจะสามารถชนะการเลือกตั้งได้อย่างไร
  • 27. 27 • ความร่วมมือแบบสหการ – ในกรอบกฎหมายได้กาหนดไว้บ้าง แต่ระเบียบของ สตง. ยังไม่เอื้อ ขณะนี้ได้มี ความพยายามแก้ไขอยู่ • จากโครงการนาร่องของเทศบาล 4 แห่ง ให้ความสาคัญกับ – ความสม่าเสมอของการจัดกิจกรรม – การใช้กลไกภาคประชาชน ต้องทาอย่างจริงจัง และให้เกิดการมีส่วนร่วมให้ ครบทุกระดับ – เน้นการประชาสัมพันธ์ – มีความอดทน และมุ่งมั่นของคนทางาน ประเด็นแลกเปลี่ยนจากที่ประชุม
  • 28. 28 • บทบาทของ สทท. –การเสริม Best Practices และการทาระบบ Coaches –การให้ Coaches ทางานข้ามถิ่น ควรมีการขึ้นทะเบียน เพื่อให้เกิดการ ทางานแบบ Pool ร่วมกันทั้งประเทศ การสร้าง Coaches ควรดู สัดส่วนให้กระจายตามพื้นที่ –นา List นี้ ลง WEB เพื่อบอกรายละเอียด และเข้าไปดูข้อมูลได้ –ใน อปท. มี BPs เยอะมาก ควรจัดทา List ประเด็นแลกเปลี่ยนจากที่ประชุม
  • 29. 29 • โครงการของแต่ละเทศบาลนาร่อง ต้องถามว่า ทาเพราะอะไร เพราะ KPI หรือ เพื่อ Responsiveness ของท้องถิ่นที่ต้องให้บริการประชาชน – Constraints ในเรื่องกฎหมาย ที่ต้องหาเจ้าภาพ มาพูดคุยกัน – E Gov เป็นเพียงการเอา IT มาเป็น Tool แต่ฐานข้อมูลยัง Pool กันไม่ได้แต่ในทางปฏิบัติ อปท ควรเสนอเรื่องนี้ขึ้นไปเพื่อให้ช่วยแก้ปัญหาข้อจากัดที่มีอยู่ – E Gov ในช่วงแรก ต้องลงทุน แต่ในระยะยาว Cost ก็จะลดลง คนก็จะลด ประเด็นแลกเปลี่ยนจากที่ประชุม
  • 30. 30 ประเด็นวิพากย์ • ข้อเสนอส่งต่อไปยังหน่วยงานใด และใครเป็นหุ้นส่วนที่จะเข้าร่วมบ้าง ขึ้นอยู่กับ Interest ของแต่ละ Player แต่หากยังไม่มีใครเป็นต้นเรื่อง หรือ ยังไม่ได้ทาให้คน กลุ่มใหญ่เห็นความสาคัญ จะต้องเร่งให้เกิดผลผลิต เพื่อให้เห็นประโยชน์ • กรอบระยะเวลาในการขับเคลื่อนเพื่อบรรลุข้อเสนอแต่ละข้อ • การกาหนดเป้าหมายของแต่ละข้อเสนอ มีหรือไม่ หากมี กาหนดมาจากไหน อย่างไร อนาคตเป็นอย่างไร • ความครอบคลุมของประเด็นนโยบายมีมากน้อยเพียงใด
  • 31. 31 • ความชัดเจน หรือ ความเข้าใจที่ตรงกันในเรื่องนั้นๆ • Key elements เช่น การมีส่วนร่วมของประชาชน ที่ต้องอยู่ในทุกระดับ นับแต่ระดับ โครงการ ถึงระดับนโยบาย • ความสอดคล้อง ของทั้ง 4 ประเด็นหลัก ที่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ แต่ต้องมี การเชื่อมโยงไปมาหากัน และมีสารตั้งต้นอย่างเดียวกัน ได้แก่ คุณภาพชีวิต กลุ่ม ผู้ด้อยโอกาส การมีส่วนร่วมในการวางแผนและการตัดสินใจ ประเด็นวิพากย์