SlideShare a Scribd company logo
1 of 252
Download to read offline
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 
พระประมุขคณะลูกเสือแห่งชาติ

ก
พระบรมราโชวาท
ในพิธีเปิดงานชุมนุมลูกเสือแห่งชาติ ครั้งที่ ๖
ณ ค่ายลูกเสือวชิราวุธ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี
วันพฤหัสบดีที่ ๑๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๒

	
“ข้ า พเจ้ า ได้ เ คยกล่ า วแก่ ค ณะลู ก เสื อ ในโอกาสอื่ น มาแล้ ว ว่ า 


การลูกเสือนั้นเป็นกิจการที่ผู้ใหญ่จัดขึ้นสำหรับเด็ก เพื่อชักจูงและฝึกฝน


ให้ เ ติ บ โตเป็ น คนดี มี ค วามซื่ อ สั ต ย์ และเป็ น ผู้ ส ามารถเหมาะสม


ที่จะอยู่ในสังคม ดังนั้นจึงเป็นที่เข้าใจและเป็นที่หวังว่า ต่อไปข้างหน้า
ลูกเสือจะเป็นคนสำคัญของชาติ คือจะเป็นผู้บริหารปกครองบ้านเมือง
ได้ ขอให้ลูกเสือทราบถึงสิ่งสำคัญในการปกครองไว้ว่า ในบ้านเมืองนั้น

มี ทั้ ง คนดี แ ละคนไม่ ดี ไม่ มี ใ ครจะทำให้ ค นทุ ก คนเป็ น คนดี ไ ด้ ทั้ ง หมด 

การทำให้บ้านเมืองมีความปรกติสุขเรียบร้อย จึงมิใช่การทำให้ทุกคน
เป็นคนดี หากแต่อยู่ที่ การส่งเสริมคนดี ให้คนดีได้ปกครองบ้านเมือง

และควบคุมคนไม่ดีไม่ให้มีอำนาจ ไม่ให้ก่อความเดือดร้อนวุ่นวายได้ 

ลูกเสือทุกคนจงหมั่นฝึกฝนตนเองให้มาก เพื่อให้พร้อมและให้เหมาะแก่
ภาระหน้าที่อันจะมีมาข้างหน้านั้น”

ข
ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ 
๕ ธันวาคม ๒๕๕๔

ความหมาย
	
อักษรพระปรมาภิไธย ภ.ป.ร. สีเหลืองทอง อันเป็นสีประจำวันพระบรมราชสมภพอยู่กลาง


ตราสัญลักษณ์ ขลิบรอบตัวอักษรด้วยสีทอง บนพื้นวงกลมสีน้ำเงิน ล้อมรอบด้วยกรอบโค้งเรียบสีเหลืองทอง

หมายความว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นศูนย์รวมดวงใจของคนไทยทั้งชาติ ด้านบนอักษร


พระปรมาภิไธยเป็นเลข ๙ หมายถึง พระมหากษัตริย์พระองค์ที่ ๙ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ เลข ๙ นั้น 


อยู่ภายใต้พระมหาพิชัยมงกุฎ อันเป็นเครื่องประกอบพระบรมราชอิสริยยศของพระมหากษัตริย์ และ


เป็ น เครื่ อ งหมายแห่ ง ความเป็ น สมเด็ จ พระบรมราชาธิ ร าช ถั ด ลงมาด้ า นข้ า งซ้ า ยขวาของอั ก ษร


พระปรมาภิไธยมีลายพุ่มข้าวบิณฑ์สีทอง ซึ่งมีสัปตปฎลเศวตฉัตรประดิษฐานอยู่เบื้องบน ด้านนอกสุดเป็น

กรอบโค้งมีลวดลายสีทองบนพื้นสีเขียว หมายถึงสีอันเป็นเดชแห่งวันพระบรมราชสมภพ อีกทั้งยังหมายถึง
ความมั่งคั่งอุดมสมบูรณ์และความสงบร่มเย็น ด้านล่างอักษร พระปรมาภิไธยเป็นรูปกระต่ายสีขาว กระต่ายนั้น


ทรงเครื่องอยู่ในลักษณะกำลังก้าวย่าง อันหมายถึง ปีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ตรงกับปีเถาะ

ซึ่ ง มี ก ระต่ า ยเป็ น เครื่ อ งหมายแห่ ง ปี นั ก ษั ต ร โดยรู ป กระต่ า ยอยู่ บ นพื้ น สี น้ ำ เงิ น มี ล ายกระหนกสี ท อง 


อันหมายถึงความเจริญรุ่งเรืองของประเทศไทยภายใต้พระบรมโพธิสมภาร เบื้องล่างตราสัญลักษณ์เป็น


แพรแถบสีชมพูขลิบทอง เขียนอักษรสีทอง ความว่า พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ 

๕ ธันวาคม ๒๕๕๔



ค
สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี
องค์อุปถัมภ์คณะลูกเสือแห่งชาติ

ง
พระดำรัสในงานฉลองพระชนมายุ ๖๑ พรรษา 
เมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๙ 


ณ วชิราวุธวิทยาลัย ความตอนหนึ่งว่า


	

“ฉั น ขอกล่ า วต่ อ ท่ า นทั้ ง ปวงว่ า จะพยายามบำเพ็ ญ ตนเพื่ อ ประโยชน์ แ ก่



บ้านเมือง ด้วยความจงรักภักดีต่อบ้านเกิดและต่อองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ผู้ทรง

เป็นพระประมุขของชาติ ทั้งจะได้รักษาเกียรติศักดิ์แห่งความเป็นราชนารีในมหาจักรี



บรมราชวงศ์ไว้ชั่วชีวิต”

จ
คำนิยม
	
กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารเป็ น กระทรวงหลั ก และมี ค วามสำคั ญ


เป็นอย่างยิ่ง ในด้านการให้การศึกษาแก่บรรดาเยาวชนที่มีความแตกต่างกัน

ในเรื่องอายุ ระดับชั้นเรียน และที่กระทรวงศึกษาธิการให้ความสนใจ และ
เอาใจใส่เป็นอย่างมาก คือ สถานศึกษา หลักสูตรการเรียนการสอน และ


ที่สำคัญที่สุด ครู-อาจารย์ ผู้สอน ซึ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการพัฒนา
ตนเองในทุ ก ๆ ด้ า น ทั้ ง ด้ า นเพิ่ ม พู น การศึ ก ษา การหาประสบการณ์ 


การเรียนรู้ และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมแบบต่าง ๆ อาทิ วิชาและกิจกรรม
ของลูกเสือ ซึ่งถือเป็นกิจกรรมที่ทรงคุณค่า สืบสานวัฒนธรรม ในการสร้าง
เยาวชนให้เป็นพลเมืองดี ตามแนวพระราชดำริของสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า พระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ พระผู้ก่อกำเนิดลูกเสือไทย ซึ่งพระราชทานพระบรมราโชวาท
และบทสอนสั่งที่ทรงคุณค่า นำมาใช้ได้ทุกยุคทุกสมัย โครงการจัดทำสารานุกรมลูกเสือ (Scout
Encyclopedia) เล่ม ๒ โดยสำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด กิจการนักเรียน สำนักงานปลัดกระทรวง
ศึกษาธิการ เล่มนี้ มีเนื้อหาสาระที่ดี มีคุณค่า และสอดคล้องต่อเนื่องกับสารานุกรมลูกเสือ เล่ม ๑ 


มีการกำหนดข้อมูลที่น่าสนใจเพิ่มเติม โดยเน้นข้อมูลที่เป็นประโยชน์สามารถนำไปปฏิบัติและอ้างอิง

ได้อย่างถูกต้อง
	
ขอชื่นชมแนวคิด วิธีการกำหนดขั้นตอน และรูปแบบที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย ซึ่งจะเป็น
ประโยชน์อย่างมากสำหรับครู-อาจารย์ ผู้สอนทุกคน รวมทั้งสถานศึกษา ลูกเสือ และประชาชน
ทั่วไป ซึ่งนับเป็นความเสียสละ และความมุ่งมั่นอย่างแรงกล้าของคณะผู้จัดทำทุกคน ขอขอบคุณ


ผู้ เ กี่ ย วข้ อ งทุ ก ท่ า น ทุ ก ฝ่ า ยมา ณ โอกาสนี้ และขอให้ ก ำลั ง ใจในการจั ด ทำสารานุ ก รมลู ก เสื อ


อย่างต่อเนื่อง เพื่อความเจริญก้าวหน้าของกิจการลูกเสือของชาติต่อไป



			
(นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล)
			
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
			
ประธานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ

ฉ
คำนิยม
	
ถื อ เป็ น โอกาสดี อี ก ครั้ ง หนึ่ ง ที่ ห น่ ว ยงานภายใต้ สั ง กั ด ของ
กระทรวงศึกษาธิการทุกหน่วยงาน ได้มีการสรรสร้างงานที่อยู่ในความ


รับผิดชอบให้ปรากฏ และสามารถรองรับนโยบายของกระทรวง ที่ได้กำหนด


ทิศทางในเรื่องการให้ความรู้ การกระตุ้นให้เกิดความสนใจ ใฝ่รู้ และเป็น
แรงผลักดันให้มีการศึกษา ค้นคว้า ตลอดจนการสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ให้
เกิดขึ้น โดยเฉพาะสำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน ที่เป็น
องค์กรหลักในเรื่องการเสริมสร้างกิจกรรมเพื่อพัฒนาเยาวชน ให้มีระเบียบ
วินัย มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นพลเมืองดีของประเทศ ด้วยดีตลอดมา 


ทั้งยังได้มีการค้นคิดการผลิตคู่มือ ตำรา เอกสารทางวิชาการ เพื่อใช้เป็นข้อมูลอ้างอิง และค้นคว้า
วิชาเฉพาะด้านลูกเสือ ดังที่ปรากฏเป็น “สารานุกรมลูกเสือ” เล่ม ๒ นี้ ซึ่งเป็นนิมิตรใหม่ของ


ขบวนการลูกเสือ และเป็นการดำเนินงานที่ตรงกับความต้องการการจัดการเรียนการสอนกิจกรรมลูกเสือ
ในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา โดยสามารถใช้ “สารานุกรมลูกเสือ” เป็นข้อมูลอ้างอิงที่ถูกต้อง
และเชื่อถือได้ ทั้งนี้เพราะกิจการลูกเสือมีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า


สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน จะได้ดำเนินการจัดทำ “สารานุกรมลูกเสือ” ที่เป็น
ข้อมูลใหม่ ๆ และครอบคลุมทุกเนื้อหาสาระ เพื่อพัฒนาและส่งเสริมกิจการลูกเสือของชาติให้ม
ี

ความเจริญ มั่นคงถาวรยิ่งขึ้น
	
ขอแสดงความยินดีในความสำเร็จของผลงานที่ปรากฏ ซึ่งถือเป็นตัวชี้วัดที่สำคัญใน


รูปแบบการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการที่ดีของสำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน
ตลอดจนคณะกรรมการฯ และคณะทำงานทุกท่านที่ได้ทุ่มเทแรงกาย เสียสละเวลา และกำลัง


ความคิดในการจัดทำ “สารานุกรมลูกเสือ” เล่ม ๒ ฉบับนี้ จนบรรลุผลตามเป้าหมายเป็นอย่างดียิ่ง
หวังว่า “สารานุกรมลูกเสือ” เล่ม ๒ จะเป็นประโยชน์และเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการพัฒนา


กิจการลูกเสือของชาติสืบไป



			
(นายอภิชาติ จีระวุฒิ)
			
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
			
รองประธานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ

ช
คำนิยม
	
ปัจจุบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้เจริญรุดหน้าไปอย่างมาก
การสื่อสาร การเรียนรู้ และข้อมูลต่าง ๆ ทางด้านวิชาการ สังคม เศรษฐกิจ
และการเมือง เป็นเรื่องที่คนไทยรับข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะใน
กลุ่มของนักเรียน นิสิต นักศึกษา มีความสนใจในการสืบค้นข้อมูลในเชิงลึก
ที่ผู้ใหญ่นึกไม่ถึงว่าบรรดาเยาวชนเหล่านั้นให้ความสนใจอย่างจริงจังและ
ต่อเนื่อง การแสวงหาข้อมูลจากสื่อในรูปแบบต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต
ตำรา คู่มือ เอกสาร การเข้าร่วมโครงการ และกิจกรรมต่าง ๆ โดยเฉพาะ
กิจกรรมลูกเสือ ที่ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์
มีความเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ ตลอดจนส่งเสริมทักษะชีวิตและทักษะการดำรงชีวิตที่ดี สำนักงาน
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ในฐานะเป็นองค์กรควบคุม กำกับ ดูแล สำนักการ
ลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน ได้พิจารณาดำเนินการจัดทำ “สารานุกรมลูกเสือ” เล่ม ๒ ขึ้น
เพื่อเฉลิมฉลองครบรอบ ๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย ในพ.ศ. ๒๕๕๔ และเฉลิมฉลองพระบาทสมเด็จ

พระเจ้ า อยู่ หั ว ทรงเจริ ญ พระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธั น วาคม ๒๕๕๔ ตลอดจนเป็ น ผู้ น ำ

ด้านสื่อการเรียนการสอนกิจกรรมลูกเสือ และส่งเสริมเด็กและเยาวชนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์

	
ขอแสดงความยิ น ดี ชื่ น ชมและขอบคุ ณ ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ท างการลู ก เสื อ ตลอดจน

คณะทำงานทุกท่าน ที่ได้ช่วยกันจัดทำ “สารานุกรมลูกเสือ” เล่ม ๒ จนสำเร็จปรากฏผลงานอย่าง
ชัดเจน และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า “สารานุกรมลูกเสือ” เล่ม ๒ ฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์อย่างสูงสุดต่อ
กิจการลูกเสือของชาติตลอดไป



			
(นายนิวัตร นาคะเวช)
			
รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
			
เลขาธิการสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ

ซ
คำนำ
	
นั บ เป็ น ความสำเร็ จ และภาคภู มิ ใจของคณะลู ก เสื อ แห่ ง ชาติ


อีกวาระหนึ่งที่สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สำนักงาน
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ได้จัดทำ “สารานุกรม


ลูกเสือ” (Scout Encyclopedia) เล่ม ๒ สำเร็จด้วยความสมบูรณ์ และ
เป็นกิจกรรมทางวิชาการกิจกรรมหนึ่งที่ได้จัดขึ้นเพื่อเป็นการเฉลิมฉลอง
ครบรอบ ๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย และเฉลิมฉลองพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ทรงมีพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ ยังความปลาบปลื้มปีติ
ยิ น ดี แ ด่ พ สกนิ ก รทุ ก หมู่ เ หล่ า โดยเฉพาะเหล่ า บรรดาสมาชิ ก ลู ก เสื อ 


ทั่วประเทศต่างน้อมนำและยึดมั่นในคำปฏิญาณของลูกเสือ ข้อ ๑ คือ “ข้าฯ จะจงรักภักดีต่อชาติ
ศาสนา พระมหากษัตริย์” ดังนั้นคณะทำงานจึงได้อัญเชิญพระราชประวัติเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจ


ด้านการลูกเสือมาไว้เป็นบทแรก เพื่อรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณที่ทรงมีต่อกิจการลูกเสือไทย


พระองค์ท่านเป็นพระมหากษัตริย์องค์เดียวในโลกที่เป็นพระประมุขคณะลูกเสือ และเพื่อรำลึกถึง


สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี พระราชธิดาองค์เดียวของ
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณต่อกิจการลูกเสือมาโดยตลอด 


จึงได้อัญเชิญพระราชกรณียกิจด้านการลูกเสือของพระองค์มาเทิดพระเกียรติไว้เช่นเดียวกัน
	
จากผลสำเร็จและการเผยแพร่ “สารานุกรมลูกเสือ” เล่ม ๑ ไปทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ  


ได้มีการตอบรับและแสดงความคิดเห็นกลับมาที่สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน 


ในด้านคุณค่าของสารานุกรมลูกเสือ เล่ม ๑ อย่างชื่นชม มีข้อเสนอแนะ แนวคิด ตลอดจนข้อมูล


ที่สมควรจะจัดทำต่อไป แต่เป็นที่น่าเสียดายอย่างยิ่งที่จำนวนการผลิต “สารานุกรมลูกเสือ” เล่ม ๑
มีจำนวนจำกัด ไม่สามารถเผยแพร่ได้อย่างทั่วถึง การจัดทำสารานุกรมลูกเสือ เล่ม ๑ นี้ ได้นำเสนอ


อยู่ในวาระการประชุมของคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๔ ซึ่งมีรัฐมนตรี


ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประธานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ เป็นประธานที่ประชุมฯ 


ท่านได้แสดงความชื่นชมผลงาน ชมเชยพร้อมกับกรุณาให้ข้อเสนอแนะว่าเล่มต่อ ๆ ไป ควรจัดทำ
เป็ น หมวดหมู่ เพื่ อ สะดวกแก่ ก ารค้ น คว้ า คณะผู้ จั ด ทำสารานุ ก รมลู ก เสื อ จึ ง น้ อ มรั บ ด้ ว ยความ
ขอบพระคุณเป็นอย่างสูง โดยได้กำหนดว่าสารานุกรมลูกเสือ เล่ม ๒ จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับพิธีการ


ลูกเสือ ซึ่งเป็นเรื่องที่บรรดาสมาชิกลูกเสือได้ให้ความสนใจ ต้องการหลักปฏิบัติที่ถูกต้อง เพื่อจะได้ยึดถือ


ให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน ดังนั้นคณะทำงานอันประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิระดับสูงของประเทศ 



ฌ
อาทิ กรรมการผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ข องสภาลู ก เสื อ ไทย กรรมการบริ ห ารลู ก เสื อ แห่ ง ชาติ ตลอดจน


ผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานสำคัญต่าง ๆ โดยเฉพาะผู้แทนจากราชบัณฑิตยสถาน ดังรายนามที่ปรากฏ


อยู่ในภาคผนวก ได้ทุ่มเทการทำงานอย่างเต็มความสามารถ สำหรับการจัดทำ “สารานุกรมลูกเสือ”
เล่ม ๒ นี้ ขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ดร.นิวัตร นาคะเวช รองปลัด
กระทรวงศึกษาธิการและเลขาธิการสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ และนายพะนอม แก้วกำเนิด กรรมการ


บริหารลูกเสือแห่งชาติ ที่ได้กรุณาเป็นประธานที่ประชุมฯ และคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของสภาลูกเสือไทยอีกหลายท่าน ตลอดจนคณะกรรมการฯ คณะทำงาน 


และทุกท่านที่มิได้กล่าวนาม รวมทั้งแหล่งข้อมูลที่ได้อ้างอิงไว้ ณ ที่นี้ด้วย
	
ผมในฐานะประธานโครงการฯ ต้องกราบขออภัยในความบกพร่อง ซึ่งเป็นเรื่องปกติของ
การจัดทำ “สารานุกรมลูกเสือ” ที่จะต้องมีการปรับปรุง แก้ไขควบคู่กันไปตลอด ขอความสำเร็จ


และประโยชน์อันพึงมีจงส่งผลดีให้แก่กิจการลูกเสือไทย ในโอกาสเฉลิมฉลองครบรอบ ๑๐๐ ปี 


และร่วมเฉลิมฉลองพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม
๒๕๕๔ เทอญ


		
			
(นายสายัณห์ สันทัด)
			
ผู้อำนวยการสำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน

ญ
สารบัญ
หน้า
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระประมุขคณะลูกเสือแห่งชาติ 	
ก
 	
พระบรมราโชวาท 	
ข
	
ความหมายของตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติ 	
ค
สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี 	
ง
 	
พระดำรัส	
จ
คำนิยม	 		
ฉ-ซ
คำนำ 			
ฌ
สารบัญ			
ฎ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระประมุขคณะลูกเสือแห่งชาติ	
๑
พระมหากรุณาธิคุณต่อกิจการลูกเสือไทย	
๖
สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี องค์อุปถัมภ์คณะลูกเสือแห่งชาติ	 ๑๘
ตราคณะลูกเสือแห่งชาติ 	
๒๕
เครื่องหมายวิชาพิเศษ 	
๓๐
เครื่องหมายวิชาพิเศษลูกเสือสำรอง 	
๓๒
เครื่องหมายวิชาพิเศษลูกเสือสามัญ	
๓๔
เครื่องหมายสายยงยศลูกเสือสามัญ	
๓๖
๓๘
เครื่องหมายวิชาพิเศษลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ 	
เครื่องหมายสายยงยศลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่	
๔๒
เครื่องหมายชาวเรือ 	
๔๓
เครื่องหมายการบิน		
๔๔
เครื่องหมายวิชาพิเศษลูกเสือวิสามัญ	
๔๕
เครื่องหมายวชิราวุธ 	
๔๗
งานชุมนุมลูกเสือ		
๔๙
เนตรนารี 			
๕๙
พิธีการชักธงเขียวใหญ่ 	
๖๔
พิธีการตรวจโดยรองผู้กำกับลูกเสือ	 ๖๖
ฎ
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
พิธีการตรวจโดยนายหมู่ลูกเสือ	
เพลงลูกเสือ 			
ตราสัญลักษณ์ของลูกเสือโลก 	
ระเบียบแถวลูกเสือ 	

๗๐
๗๓
๗๖
๘๕

พิธีการของลูกเสือ	

๙๓

	
	
	
	
	
	
	

การชุมนุมรอบกองไฟ	
๙๕
การชักธงชาติ 	
๑๐๔
การลอดซุ้มเข้าค่าย	 ๑๐๘
พิธีการเปิด-ปิดการฝึกอบรม	 ๑๑๑
พิธีรอบเสาธงในการอยู่ค่ายพักแรม (การฝึกอบรม)	
๑๑๗
พิธีการสวนสนาม 	
๑๒๔
พิธีการถวายราชสดุดี 	
๑๓๔

พิธีการของลูกเสือสำรอง	

๑๓๙

	
การทำความเคารพเป็นหมู่ (แกรนด์ฮาวล์)	
๑๓๙
	
พิธีเข้าประจำกองและประดับดาวของลูกเสือสำรอง 	
๑๔๔
		 พิธีการประดับดาวดวงที่ ๑	
๑๔๙
		 พิธีการประดับดาวดวงที่ ๒ 	
๑๕๑
		 พิธีการประดับดาวดวงที่ ๓	
๑๕๓
	
พิธีการเปิดประชุมกองลูกเสือสำรอง 	
๑๕๕
	
พิธีการปิดประชุมกองลูกเสือสำรอง	
๑๖๑
	
พิธีการส่งลูกเสือสำรองไปเป็นลูกเสือสามัญ	 ๑๖๕

ฏ
สารบัญ (ต่อ)
หน้า

พิธีการของลูกเสือสามัญ	

๑๖๙

	
การประชุมนายหมู่ลูกเสือ	
	
พิธีเข้าประจำกองลูกเสือสามัญ	
	
พิธีการเปิด-ปิดประชุมกองลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ 	
		 และลูกเสือวิสามัญ 	
	
พิธีการส่งตัวลูกเสือสามัญไปเป็นลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่	

๑๖๙
๑๗๒
๑๗๗



๑๘๒

พิธีการของลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่	

๑๘๕

	
	

๑๘๕
๑๘๗

การประชุมคณะกรรมการกอง	
พิธีการเข้าประจำกองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่	

พิธีการของลูกเสือวิสามัญ	

๑๙๑

	
พิธีการส่งลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ไปเป็นเตรียมลูกเสือวิสามัญ	 ๑๙๑
	
การประชุมคณะกรรมการประจำกองลูกเสือสามัญ	
๑๙๔
	
พิธีการรับเตรียมลูกเสือวิสามัญ 	
๑๙๗
	
พิธีการสำรวจตัวเองของผู้ที่เข้าเป็นลูกเสือวิสามัญ 	
๒๐๒
	
พิธีเข้าประจำกองลูกเสือวิสามัญ	
๒๐๘
น้อมระลึกถึงพระคุณในความร่วมมือ	
๒๑๓
ภาคผนวก			
๒๑๕
คณะกรรมการและคณะทำงานฯ 	
๒๑๖
ผู้เขียนสารานุกรม		
๒๑๘


ฐ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 
พระประมุขคณะลูกเสือแห่งชาติ



๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย
สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน
สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 


สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
	
พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช สยามิ น ทราธิ ร าช บรมนาถบพิ ต ร 


ทรงเป็ น พระมหากษั ต ริ ย์ ลำดั บ ที่ ๙ แห่ ง ราชวงศ์ จั ก รี เสด็ จ ขึ้ น ครองราชย์ ตั้ ง แต่ วั น ที่ ๙ มิ ถุ น ายน 


พ.ศ. ๒๔๘๙ ทรงเป็ น พระมหากษั ต ริ ย์ ผู้ ท รงเสวยราชสมบั ติ ย าวนานที่ สุ ด ในโลก ที่ มี พ ระชนม์ ชี พ อยู
่

๑
และยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติไทย
	
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชสมภพเมื่อวันจันทร์ที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๐ 


ณ โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เมืองเคมบริดจ์ มลรัฐแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ทรงเป็นพระราชโอรส
องค์เล็กในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) กับสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (เดิมทรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จ


พระราชชนนีศรีสังวาลย์) ทรงมีพระเชษฐภคินี คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวง
นราธิวาสราชนครินทร์ และพระบรมเชษฐาธิราช คือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
	
ครั้นในวันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๙ พระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จสวรรคตโดยกะทันหัน
รัฐสภามีมติเป็นเอกฉันท์กราบทูลเชิญขึ้นครองสิริราชสมบัติ สืบราชสันตติวงศ์ เฉลิมพระปรมาภิไธยว่า
“พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช”	 

	

	
รูปที่ ๑

รูปที่ ๒

รูปที่ ๑ และ รูปที่ ๒ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงฉายภาพร่วมกับพระบรมราชชนก พระบรมราชชนนี 	


พร้อมด้วยพระเชษฐภคินี และพระบรมเชษฐาธิราช
๑	A Royal Occasion speeches. Worldshop.com Journal (1996). สืบค้นจาก the original วันที่ May 12, 2006 สืบค้นวันที่
๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๙
๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย
สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน
สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
รูปที่ ๔ พ.ศ. ๒๔๗๒ 
ทรงฉลองพระองค์ชุดลูกเสือ มณฑลปัตตานี

รูปที่ ๕ พ.ศ. ๒๔๗๓ 
ชั้นเด็กเล็ก ในโรงเรียนอนุบาลของมิสซิสเดวิส

	

รูปที่ ๓ พ.ศ. ๒๔๗๒
สองชันษา ทำบุญช่วยกันปล่อยนก	
เนื่องในวันคล้ายวันประสูติ

รูปที่ ๖ พ.ศ. ๒๔๗๔
ทรงฉลองพระองค์ชุดละครไทย 	


ซึ่งสมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าประทานให้ 


ภาพจาก ..... ปฏิทินปี พุทธศักราช ๒๕๔๒ ของ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ปตท.)

	
พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระปรีชาสามารถในศิลปะแขนงต่าง ๆ หลายแขนง จึงทรง
ได้รับการยกย่องให้เป็นองค์อัครศิลปินแห่งชาติและบิดาแห่งการดนตรี๒ พระองค์ยังทรงสนพระราชหฤทัย
ในการฝึกเขียนภาพ มีพระปรีชาสามารถในเรื่องการถ่ายภาพ และการเขียนหนังสือ 

๒	“สุเทพ - สวลี” ขับกล่อมบทเพลงพระราชนิพนธ์ในคอนเสิร์ต “องค์อัครศิลปิน หนึ่งเดียวในโลก”. กรมส่งเสริมวัฒนธรรม.

	
สืบค้น ๖-๑๒-๒๕๕๓.



๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย
สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน
สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
รูปที่ ๗ ทรงสนพระราชหฤทัยในการเขียนภาพ 

	
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ ไปทุกหนแห่ง ไม่ว่าดินแดนแห่งนั้นจะทุรกันดารเพียงใด 


ไม่ว่าใกล้ไกลแค่ไหน พระองค์จัดทำโครงการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริควบคู่ไปในทุก ๆ ด้าน 


ไม่เน้นด้านใดด้านหนึ่ง พระองค์มีจุดประสงค์เดียว คือ เพื่อขจัดความทุกข์ยากของชาวชนบท และสนับสนุน
ส่ ง เสริ ม ให้ มี ค วามเป็ น อยู่ ที่ ดี ขึ้ น รวมทั้ ง แก้ ปั ญ หาสั ง คมเมื อ งให้ ดี ขึ้ น โดยจะเห็ น ได้ จ ากโครงการใน


พระราชดำริหลายโครงการที่เกิดขึ้นจากความรับผิดชอบของหน่วยงานต่าง ๆ 






 	 
	

รูปที่ ๘ เสด็จออกเยี่ยมประชาชน	

รูปที่ ๙ ทรงปลูกต้นไม้

	
ทรงเน้นในเรื่องของการค้นคว้า ทดลอง และวิจัยหาพันธุ์พืชใหม่ ๆ ทั้งพืชเศรษฐกิจ พืชสมุนไพร
รวมถึงการศึกษาเกี่ยวกับแมลงศัตรูพืช และพันธุ์สัตว์ต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่นนั้น ๆ ซึ่งแต่ละ
โครงการจะเน้นให้สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง มีราคาถูก ใช้เทคโนโลยีง่ายไม่สลับซับซ้อน เกษตรกรสามารถ
ดำเนินการเองได้ 
	
การพั ฒ นาแหล่ ง น้ ำ เพื่ อ การเพาะปลู ก หรื อ การชลประทาน นั บ ว่ า เป็ น งานที่ มี ค วามสำคั ญ


และมีประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงให้


ความสนพระราชหฤทัยเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งน้ำมากกว่าโครงการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ประเภทอื่น
๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย
สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน
สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
รูปที่ ๑๐ เขื่อนภูมิพล	

รูปที่ ๑๑ เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

	
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงประกอบพระราชกรณียกิจตลอดระยะเวลากว่า ๖๐ ปี 


ที่ทรงครองราชย์เป็นประมุขแห่งราชอาณาจักรไทย โดยสามารถยกตัวอย่างดังนี้ เช่น มูลนิธิชัยพัฒนา
มูลนิธิโครงการหลวง โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา โครงการหลวงอ่างขาง โครงการปลูกป่าถาวร
โครงการแก้มลิง โครงการฝนหลวง โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โครงการแกล้งดิน กังหัน


ชัยพัฒนา แนวพระราชดำริผลิตแก๊สโซฮอล์ในโครงการส่วนพระองค์ (พ.ศ. ๒๕๒๘) แนวพระราชดำริ
เศรษฐกิจพอเพียง การปลูกหญ้าแฝกป้องกันดิน เพลงพระราชนิพนธ์ พระสมเด็จจิตรลดา 
	
ทางด้านกีฬาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นตัวแทนของประเทศไทยลงแข่งเรือใบในกีฬา
แหลมทอง ครั้งที่ ๔ ระหว่างวันที่ ๙-๑๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๐ ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ โดยทรงเข้าค่าย
ฝึกซ้อมตามโปรแกรมการฝึกซ้อม และทรงได้รับเบี้ยเลี้ยงในฐานะนักกีฬา เช่นเดียวกับนักกีฬาคนอื่น ๆ 


ในที่สุดด้วยพระปรีชาสามารถ พระองค์ทรงชนะเลิศ เหรียญทอง และทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายรางวัล
เหรียญทองจากสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เมื่อวันที่ ๑๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๐๓







	

รูปที่ ๑๒ ทรงโปรดการแข่งเรือใบ 	

รูปที่ ๑๓ ขณะทรงแข่งเรือใบ

๓	Cummins, Peter (December 2004). His Majesty King Bhumipol Adulyadej The Great : Monarch of Peace and 	


Unity. Chiang Mai Mail. สืบค้นวันที่ ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๙



๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย
สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน
สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
งานทางด้ า นดนตรี พระองค์ ท รงรอบรู้ เรื่ อ งดนตรี เ ป็ น อย่ า งดี แ ละทรงดนตรี ไ ด้ หลายชนิ ด เช่ น 


แซ็กโซโฟน คราริเน็ต ทรัมเป็ต กีตาร์ และเปียโน ทรงโปรดดนตรีแจ๊สเป็นอย่างมาก และพระองค์ได้


ประพั น ธ์ เ พลงที่ มี ค วามหมายและไพเราะหลายเพลงด้ ว ยกั น เช่ น เพลงพระราชนิ พ นธ์ แ สงเที ย น 


เป็นเพลงแรก สายฝน ยามเย็น ใกล้รุ่ง ลมหนาว ยิ้มสู้ ค่ำแล้ว ไกลกังวล ความฝันอันสูงสุด และเราสู้ 


หรือจะเป็นพรปีใหม่ ซึ่งถือได้ว่าเป็นส่วนสำคัญอย่างหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของชาวไทย๔ 

พระมหากรุณาธิคุณต่อกิจการลูกเสือไทย
	
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงเป็นพระประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติ


เมื่อเริ่มรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชนั้น เป็นระยะเวลาที่มหาสงครามของโลก
ครั้งที่สองเพิ่งจะสงบลงพอดี จากการนี้เองทำให้กิจการลูกเสือในหลายต่อหลายประเทศที่ได้สงบ ซบเซาไป
เป็นเวลาช้านาน ได้กลับฟื้นคืนชีวิตขึ้นมาอีกครั้งหนึ่งหลังจากที่การลูกเสือได้ชะงักไปชั่วระยะหนึ่ง โดยที่


ลูกเสือได้สลายตัวไปรวมกับองค์การยุวชนแห่งชาติ เมื่อพ.ศ. ๒๔๘๖ พอถึงพ.ศ. ๒๔๙๐ กิจการลูกเสือ


ได้ ถู ก รื้ อ ฟื้ น ให้ คื น คงสถานะเดิ ม ขึ้ น มาอี ก ครั้ ง หนึ่ ง เป็ น ผลให้ กิ จ การลู ก เสื อ ในประเทศไทยได้ เริ่ ม ต้ น
เคลื่อนไหวเข้มแข็งขึ้นมาใหม่ อาทิ การชุมนุมลูกเสือแห่งชาติ ซึ่งได้เลิกร้างมากว่า ๒๐ ปีเศษแล้ว ก็ได้กลับ
ขึ้นมาอีกในพ.ศ. ๒๔๙๗ ซึ่งนับเป็นครั้งที่ ๓ การติดต่อกับสมาคมลูกเสือนานาชาติก็ได้เริ่มต้นขึ้นใหม่ 

และก้าวหน้ายิ่งกว่ากาลก่อนที่แล้ว ได้มีการไปมาหาสู่เป็นประจำ








		 
รูปที่ ๑๔ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรมเชษฐาธิราชทรงฉลองพระองค์ชุดลูกเสือ

๔	Tang, Alisa (13 June 2006). Thailand’s monarch is ruler, jazz musician, Boston.com News, Associated Press. 	


	
สืบค้นวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐

Home Grown Shows Planned for White House Dinners, The New York Times, 30 May 1967.	
๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย
สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน
สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
การอบรมผู้กำกับลูกเสือซึ่งได้ว่างเว้นมานานแล้วเช่นกัน ก็ได้เริ่มขึ้นอีก การอบรมครั้งแรกนั้น
เข้าใจว่าได้เริ่มมีขึ้นในพ.ศ. ๒๔๙๓ เพราะก่อนหน้านั้นมาปรากฏหลักฐาน โดยในพ.ศ. ๒๔๙๓ ทางราชการ
ได้ เ ปิ ด ให้ มี ก ารอบรมผู้ ก ำกั บ ลู ก เสื อ และรองผู้ ก ำกั บ ลู ก เสื อ ทั่ ว ราชอาณาจั ก รขึ้ น ที่ ก รุ ง เทพฯ ใช้ เวลา


อบรม ๓๐ วัน เมื่อเสร็จแล้วให้จังหวัดต่าง ๆ นำเอาวิชาความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปเปิดอบรมในจังหวัด
ของตนขึ้นอีกต่อหนึ่ง
 	
สิ่ ง ที่ ส ำคั ญ ยิ่ ง ก็ คื อ ได้ มี ศู น ย์ ฝึ ก อบรมลู ก เสื อ ณ จั ง หวั ด ชลบุ รี อั น ทั น สมั ย ตามแบบสากล 


ทำนองเดียวกับที่กิลเวลล์ ปาร์ค เป็นของการลูกเสือโดยเฉพาะ เริ่มดำเนินการสร้างค่ายลูกเสือ โดยใช้


งบประมาณแผ่นดินจัดซื้อที่ดินบริเวณหลังเขาซากแขก ตำบลบางพระ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 


เนื้อที่ ๘๘ ไร่ ๕๘ ตารางวา ราคา ๓๐๔,๐๐๐ บาท โดยมีการประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ตึกอำนวยการ


ศู น ย์ ก ารฝึ ก และอบรมลู ก เสื อ นี้ เ มื่ อ วั น ที่ ๑๙ สิ ง หาคม พ.ศ. ๒๔๙๗ โดย พลเอก มั ง กร พรหมโยธี 


รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการในขณะนั้น ได้เป็นประธาน ซึ่งต่อมาในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๔ 


ได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้นามค่ายฝึกอบรมนี้ว่า “ค่ายลูกเสือวชิราวุธ” และเมื่อวันที่ ๑๗ 


มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๕ พลเอกถนอม กิตติขจร รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานในพิธีเปิดค่ายลูกเสือวชิราวุธ 


ค่าก่อสร้างทั้งสิ้นเมื่อถึงวันพิธีเปิดค่าย เป็นเงิน ๔,๓๐๐,๐๐๐ บาท

 	 







รูปที่ ๑๕ พระบรมราชานุสาวรีย์หน้าค่ายลูกเสือวชิราวุธ

	
กิจกรรมที่สำคัญยิ่งอีกประหนึ่งของลูกเสือ คือ การจัดงานชุมนุมลูกเสือแห่งชาติ ซึ่งได้ว่างเว้น
เป็นเวลานานถึง ๒๔ ปี ทางราชการจึงได้จัดให้มีขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ระหว่างวันที่ ๒๐-๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ.
๒๔๙๗ ณ กรีฑาสถานแห่งชาติ นับเป็นงานชุมนุมลูกเสือแห่งชาติ ครั้งที่ ๓ พระองค์ได้เสด็จพระราชดำเนิน
เปิ ด งานชุ ม นุ ม ลู ก เสื อ แห่ ง ชาติ ครั้ ง ที่ ๓ เมื่ อ วั น ที่ ๒๐ พฤศจิ ก ายน พ.ศ. ๒๔๙๗ และได้ ท รงมี


พระบรมราโชวาทความว่า



๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย
สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน
สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
“ข้าพเจ้าตระหนักในความสำคัญและประโยชน์ของการลูกเสือเป็นอย่างมากทั้งมีความชื่นชม
ยินดีที่ได้ฟังคำกล่าวขวัญถึงกรณียกิจ และความเสียสละที่ลูกเสือต่างได้บำเพ็ญในการช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์
ในคราวประสบภัยอยู่เนื่อง ๆ แต่ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ของการลูกเสือนั้น ย่อมได้แก่ตัวยุวชนผู้เป็นลูกเสือเอง
ที่ได้รับการฝึกฝนอบรมให้เป็นผู้เลี้ยงตัวเอง พึ่งตนเอง ทำอะไรได้เอง มีความแข็งแกร่ง สามารถเผชิญชีวิต


ในอนาคตทุกวิถีทาง รวมความว่าเพื่อเป็นพลเมืองดี เป็นประโยชน์แก่ตนเองและเพื่อนมนุษย์นั่นเอง”
	
และในวั น สุ ด ท้ า ยของการชุ ม นุ ม ฯ คื อ วั น ที่ ๒๖ พฤศจิ ก ายน พ.ศ. ๒๔๙๗ เวลาบ่ า ยได้ มี 


การกระทำพิธีตรวจพล ทบทวนคำปฏิญาณของลูกเสือและสวนสนาม ณ บริเวณลานพระบรมรูปทรงม้า
พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนิน ทรงเป็นประธานในพิธีอันสำคัญยิ่งของลูกเสือ


ในโอกาสนั้นด้วย ได้มีผู้แทนของคณะลูกเสือต่างประเทศบางชาติมาร่วมสวนสนามกับคณะลูกเสือไทย คือ
ลูกเสือนอร์เวย์ และลูกเสืออเมริกัน พระองค์ฯ ได้พระราชทานพระบรมราโชวาทแก่คณะลูกเสือ ดังต่อไปนี้
	
“ข้าพเจ้าขอถือโอกาสเตือนลูกเสือทั้งหลายว่าจงยึดมั่นในคำขวัญของลูกเสือที่ว่า “เสียชีพ


อย่าเสียสัตย์” หมายความว่า เมื่อได้ให้คำมั่นสัญญาไว้ว่าจะทำอย่างไรแล้ว ต้องทำเหมือนปากพูด ทุกอย่าง
ในเรื่องนี้ข้าพเจ้าใคร่ขอย้ำว่า ขอให้ลูกเสือทุกคนจงสำนึกมั่นอยู่ในเกียรติและหน้าที่ และจงเป็นพลเมืองดี
ของชาติ กล่าวคือจะต้องเป็นผู้ประกอบด้วยศีลธรรม จรรยา มารยาทอันดีงาม เป็นผู้ที่มีสุขภาพและ


อนามัยสมบูรณ์ มีความรู้ ความสามารถในการงาน และรู้จักการเสียสละที่จะบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์แก่


ผู้อื่น ตลอดจนประเทศชาติของตน จงจำไว้ว่าอนาคตของชาติจะเจริญหรือไม่นั้น ย่อมขึ้นอยู่กับเยาวชน 


เช่นท่านทั้งหลายนี้ ซึ่งจะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ในวันข้างหน้า”











	

	

รูปที่ ๑๖ เสด็จพระราชดำเนิน	
เปิดงานชุมนุมลูกเสือแห่งชาติ ครั้งที่ ๓ พ.ศ. ๒๔๙๗ 	

๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย
สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน
สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ

รูปที่ ๑๗ เสด็จพระราชดำเนิน	


เปิดงานชุมนุมลูกเสือแห่งชาติ ครั้งที่ ๔ พ.ศ. ๒๕๐๔
รูปที่ ๑๘ เสด็จพระราชดำเนิน	
เปิดงานชุมนุมลูกเสือแห่งชาติ ครั้งที่ ๖ พ.ศ. ๒๕๑๒	

รูปที่ ๑๙ เสด็จพระราชดำเนิน	


เปิดงานชุมนุมลูกเสือแห่งชาติ ครั้งที่ ๘ พ.ศ. ๒๕๑๖

	
สิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งคือ อาคารสโมสรของลูกเสือ ซึ่งได้เคยอยู่ในโครงการของสภากรรมการ


กลางจัดการลูกเสือแห่งชาติมาหลายสมัยเป็นเวลาช้านานแล้ว ก็ได้เริ่มดำเนินการอย่างจริงจังขึ้นในตอนนี้
ได้มีการประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๕ ในโอกาสแห่งวันครบรอบ ๕๐ ปี 


ของการลูกเสือไทย อาคารนี้ได้รับพระบรมราชานุญาตให้ใช้นามว่า “ศาลาวชิราวุธ”








รูปที่ ๒๐ เสด็จพระราชดำเนินเปิดอาคารศาลาวชิราวุธ

	
พระองค์ ท รงสนพระราชหฤทั ย ในการลู ก เสื อ ทั้ ง ลู ก เสื อ สากลและลู ก เสื อ ชาวบ้ า น ทรงเข้ า


พระราชหฤทัยในหลักจิตวิทยาพฤติกรรมมนุษย์และจิตวิทยาสังคมอย่างลึกซึ้ง ทรงเล็งเห็นว่ากิจกรรมลูกเสือนั้น

สามารถพัฒนาคนให้เป็นคนดี มีคุณธรรม เพื่อเป็นพลเมืองดีของประเทศชาติได้อย่างดียิ่ง พระองค์ทรงให้
กำลั ง ใจ และส่ ง เสริ ม กิ จ กรรมลู ก เสื อ ทุ ก ชนิ ด มาโดยตลอด ทรงเป็ น องค์ ป ระธานในงานชุ ม นุ ม ลู ก เสื อ


แห่งชาติ โดยทรงเครื่องแบบลูกเสือชุดฝึก (พระสนับเพลาขาสั้น)





๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย
สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน
สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
รูปที่ ๒๑ ทรงฉลองพระองค์เครื่องแบบลูกเสือชุดฝึก

	
พระองค์ได้พระราชทานพระราชดำริให้มีลูกเสือชาวบ้าน โดยที่พระองค์ทรงเล็งเห็นว่าประชาชน
ชาวบ้านที่ไม่มีโอกาสศึกษาเล่าเรียนหรือเว้นว่างจากการเรียนควรได้เข้าร่วมกิจกรรมที่แสดงถึงความรัก
ความสามัคคี การอาสาป้องกันชาติ โดยใช้กิจกรรมลูกเสือเป็นสื่อ เพราะกิจกรรมลูกเสือเป็นกิจกรรม


ที่พัฒนาทั้งสุขภาพของกาย จิตใจ และสังคมได้เป็นอย่างดี









รูปที่ ๒๒ พระราชทานธงลูกเสือชาวบ้าน

	
พระราชทานพระราชดำรัสเกี่ยวกับการจัดการลูกเสือชาวบ้านที่สำคัญหลายประการ เช่น ไม่มี
พระราชประสงค์ให้กิจการลูกเสือชาวบ้านเกี่ยวข้องกับการเมือง มีพระราชประสงค์ให้ชาวบ้านควบคุม
กันเอง ส่งเสริมระบบการมีผู้นำผู้ตามในชุมชน เป็นการฝึกประชาธิปไตยที่แยบยลอย่างยิ่ง ไม่ให้ดำเนินการ
ใด ๆ ที่เป็นการสิ้นเปลือง ทรงมอบธงประจำรุ่นให้แก่ลูกเสือชาวบ้านทุกแห่งหนในประเทศไทย ซึ่งเป็น


พระราชจริยวัตรของผู้นำ 
๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย
สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน
สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ

10
พระราชทานพระมหากรุณากำหนดให้วันที่ ๑ กรกฎาคม ของทุก ๆ ปี เป็นวันเฉลิมฉลองคล้าย
วันสถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ พระองค์ได้ทรงพระกรุณาเสด็จเป็นองค์ประธานตรวจพลสวนสนาม และ
ทบทวนคำปฏิญาณของลูกเสือ อาทิ ในวันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๓ เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วย
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา ณ กรีฑาสถานแห่งชาติ และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
พระราชทานพระบรมราชโชวาท มีใจความสำคัญตอนหนึ่งว่า







	

รูปที่ ๒๓ 	

รูปที่ ๒๔

รูปที่ ๒๓ และ รูปที่ ๒๔ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินเนื่องในงานวันคล้ายวันสถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ 	


เมื่อ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๓

	
“สมัยนี้ ความยุ่งยากในหมู่เยาวชนมีมาก และเป็นปัญหาที่ยังแก้ไขไม่ได้ ความยุ่งยากนี้ทำให้


ทุกคนเดือดร้อน จำเป็นต้องแก้ไขขจัดเสีย เพราะถ้าไม่ขจัดจะยิ่งเดือดร้อนและจะเป็นอันตรายแก่ชาติ


บ้านเมือง ทุกฝ่ายชอบที่จะเผชิญความจริง มีความคิดความเข้าใจและความต้องการอย่างไร ก็นำมาพูดกัน
ตามตรงด้วยหลักวิชา ด้วยเหตุผล และด้วยความสงบ และดูว่าผลจะเป็นอย่างไร จะแก้ปัญหาได้ ลูกเสือ


มีหลักการที่จะอยู่ร่วมกัน และทำประโยชน์ร่วมกัน ด้วยความเข้าใจและเห็นใจอยู่แล้ว” 
	
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชดำเนินเป็นประธานในพิธีตรวจพลสวนสนาม และทบทวน
คำปฏิญาณของลูกเสือ เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ ในวันที่ ๑ กรกฎาคม อีกหลายครั้ง 


และในบางครั้ ง แม้ จ ะมิ ไ ด้ เ สด็ จ ด้ ว ยพระองค์ เ อง ก็ ท รงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ ให้ ผู้ แ ทนพระองค์


ปฏิบัติภารกิจแทนทุกปีตราบจนถึงปัจจุบัน



	


11

๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย
สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน
สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
รูปที่ ๒๕	

รูปที่ ๒๖








รูปที่ ๒๗





	

รูปที่ ๒๘	

๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย
สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน
สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ

รูปที่ ๒๙	

12

รูปที่ ๓๐
รูปที่ ๓๑	

รูปที่ ๓๒

รูปที่ ๒๕ ถึง รูปที่ ๓๒ เสด็จพระราชดำเนินด้วยพระองค์เอง และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ผู้แทนพระองค์ปฏิบัติภารกิจแทน

	
เนื่องในงานวันคล้ายวันสถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ ๑ กรกฎาคม ของทุกปี

	
นอกจากนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเหรียญ


ลูกเสือสดุดีแก่ผู้ที่ประกอบคุณงามความดีก่อให้เกิดประโยชน์แก่คณะลูกเสือแห่งชาติ มาโดยตลอด อาทิ


เมื่ อ วั น ที่ ๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๔ เมื่ อ พระราชทานเหรี ย ญลู ก เสื อ สดุ ดี เ สร็ จ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว ได้ มี


พระราโชวาทมีใจความว่า “ทุกวันนี้ คนทั่วไปนิยมยินดีอย่างมากในความคิดและการกระทำโดยอิสรเสรี
การมีเสรีภาพนั้นเป็นของดีอย่างยิ่ง แต่การจะใช้จำเป็นต้องระมัดระวัง มิให้ล่วงละเมิดเสรีภาพของผู้อื่น


ที่มีอยู่เท่าเทียมกัน ทั้งมิให้กระทบกระเทือนถึงสวัสดิภาพและความเป็นปรกติสุขของส่วนรวมด้วย มิฉะนั้น
จะทำให้มีแต่ความยุ่งยาก จะทำให้สังคมและชาติประเทศจะต้องแตกสลายจนสิ้นเชิง การลูกเสือมีเจตนา
และหลั ก การสำคั ญ ที่ สุ ด ที่ จ ะฝึ ก หั ด เด็ ก ให้ รู้ จั ก วิ นั ย และให้ มี วิ นั ย ทั้ ง ในความประพฤติ แ ละในจิ ต ใจ 

ทั้งมีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่จะต้องทำเพื่อส่วนรวมและบ้านเมือง”








	
	
	

รูปที่ ๓๓ เสด็จไปพระราชทานเหรียญลูกเสือสดุดี	
เมื่อวันที่ ๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๔ 	
ณ ศาลาดุสิดาลัย พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน 	

รูปที่ ๓๔ พระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเหรียญ

	
	
ลูกเสือสดุดี เมื่อวันที่ ๑๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๗

ณ ศาลาดุสิดาลัย พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน

13

๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย
สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน
สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
ในพ.ศ. ๒๕๑๑ คณะลูกเสือไทยได้รับเกียรติอันใหญ่ยิ่งจากองค์การลูกเสือโลก โดยได้ทูลเกล้าฯ
ถวายพระเกียรติยศสูงสุดแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้รับเครื่องหมายวูดแบดจ์ ๔ ท่อน (WOOD
BADGE) เป็นกรณีพิเศษ ซึ่ง ณ ที่นี้อาจกล่าวได้ว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นพระมหากษัตริย์
พระองค์เดียวในโลกที่ได้รับทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องหมายสูงสุดนี้ 








รูปที่ ๓๕ หนังสือถวายเครื่องหมายวูดแบดจ์ ๔ ท่อน แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว	


ที่มา : คณะลูกเสือแห่งประเทศไทย (๒๕๑๔ : ๗๔)

	
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงประกอบพิธีเปิดพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า


เจ้าอยู่หัว ณ บริเวณด้านหน้าค่ายลูกเสือวชิราวุธ ในวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๖ ในการเสด็จฯ 


ไปเปิดงานชุมนุมลูกเสือแห่งชาติ ครั้งที่ ๘ ระหว่างวันที่ ๒๓-๓๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๖ ณ ค่ายลูกเสือ
วชิราวุธ มีลูกเสือและผู้บังคับบัญชาลูกเสือเข้าร่วมชุมนุมฯ ๔,๙๖๘ คน กับมีลูกเสือต่างประเทศเข้าร่วม


งานชุมนุมฯ ด้วย ๘ ประเทศ รวม ๒๕๖ คน




	







รูปที่ ๓๖ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงประกอบพิธีเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์ 	


พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ ค่ายลูกเสือวชิราวุธ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี
๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย
สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน
สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ

14
เมื่อพ.ศ. ๒๕๓๐ สำนักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราช
อิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวโรกาสที่ทรง
ครองสิริราชสมบัติ ครบ ๕๐ พรรษา 







รูปที่ ๓๗ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ สภานายก สภาลูกเสือแห่งชาติ 	


ทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ

	
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปทรงประกอบพิธีเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ ค่ายหลวงบ้านไร่ อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี เมื่อวันที่ 


๑๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๑ 


	







รูปที่ ๓๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปทรงประกอบพิธีเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์ 	


พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ ค่ายหลวงบ้านไร่ อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี

	
เมื่อวันที่ ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า
โปรดกระหม่อมให้ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จลงแทนพระองค์ ณ ศาลา 


ดุสิดาลัย พระราชทานวโรกาสให้คณะบุคคลที่เข้าร่วมประชุมสมัชชาลูกเสือโลก ครั้งที่ ๓๓ ซึ่งประกอบด้วย


ผู้แทน ผู้สังเกตการณ์และผู้ติดตามจากประเทศสมาชิกองค์การลูกเสือโลก ๑๓๑ ประเทศ เฝ้าทูลละออง
พระบาท ในโอกาสนี้ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร พระราชทานพระราชดำรัส 


15

๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย
สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน
สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
ความว่า “กิจการลูกเสือ แม้กำเนิดขึ้นในไพรัชประเทศ แต่ก็มีหลักการ นโยบาย ตลอดจนกระบวนการฝึกอบรม


ที่ดีเลิศในการพัฒนาเยาวชนให้เจริญเติบโตขึ้นพร้อมด้วยคุณสมบัติและความเฉลียวฉลาด สามารถพึ่งตน
และบำเพ็ญตนเป็นประโยชน์แก่ส่วนรวมได้อย่างมีประสิทธิภาพ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
จึงทรงนำแบบอย่างมาใช้ในประเทศไทย และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม รับกิจการลูกเสือไว้
ในพระบรมราชูปถัมภ์ตั้งแต่ต้น สมเด็จพระมหากษัตริย์ในรัชกาลต่อมาทุกพระองค์ก็ทรงถือเป็นพระราช
กรณียกิจที่จะทรงอุปถัมภ์ และทรงเป็นผู้นำของคณะลูกเสือ โดยเฉพาะพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 


ในรัชกาลปัจจุบัน ทรงเล็งเห็นประโยชน์ของกิจการลูกเสือเป็นพิเศษ และได้ทรงนำวิธีการมาใช้กับลูกเสือ


ชาวบ้าน เพื่อสร้างสรรค์สามัคคีและความมั่นคงของประเทศ เหตุนี้กิจการลูกเสือไทยจึงมีความเจริญ


เป็นปึกแผ่น และมีบทบาทสำคัญตลอดมา เพราะเป็นกิจการที่ได้อำนวยประโยชน์อย่างอเนกอนันต์แก่


ชาวโลกทุกเชื้อชาติ ศาสนา และภูมิภาค เหตุเพราะอุดมการณ์และวิธีการของลูกเสือนั้น สามารถทำให้ทุกคน


เข้าใจกัน เมตตาจริงใจต่อกัน และอยู่ร่วมกันฉันท์มิตรได้โดยปราศจากความขัดแย้ง ดังนี้ หากอุดมการณ์
ของลูกเสือเข้าถึงจิตใจชาวโลกได้กว้างขวางหนักแน่นมากขึ้น สันติภาพที่ทุกฝ่ายทุกคนใฝ่ฝันหา ก็จะบังเกิด
เป็นจริงขึ้นมาได้เป็นแน่นอน”








รูปที่ ๓๙ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จลงแทนพระองค์	


ณ ศาลาดุสิดาลัย พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชทานวโรกาสให้คณะบุคคลที่เข้าร่วมประชุมสมัชชาลูกเสือโลก 	


ครั้งที่ ๓๓ เฝ้าทูลละอองพระบาท

	
วันที่ ๒๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๙ สำนักงานลูกเสือโลกได้ถวายพระเกียรติยศสูงสุดของลูกเสือโลก
คื อ เครื่ อ งหมายสดุดีลูกเสือโลก (Bronze Wolf) แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช


องค์พระประมุขคณะลูกเสือแห่งชาติ โดยพระเจ้าคาร์ลที่ ๑๖ กุสตาฟ (King Carl XVI Gustaf) แห่ง
ประเทศสวีเดน ในฐานะที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ของมูลนิธิลูกเสือโลก ในวาระที่เสด็จเยือนประเทศไทย 


ได้นำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องหมายสดุดีลูกเสือโลก (Bronze Wolf) แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


ภูมิพลอดุลยเดช องค์พระประมุขคณะลูกเสือแห่งชาติ

๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย
สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน
สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ

16
รูปที่ ๔๐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีพระราชปฏิสัณฐาน

	
กับพระเจ้าคาร์ลที่ ๑๖ กุสตาฟแห่งประเทศสวีเดน 











	

รูปที่ ๔๑ 	

รูปที่ ๔๒

รูปที่ ๔๑ และ รูปที่ ๔๒ ประกาศเกียรติคุณ และเครื่องหมายสดุดีลูกเสือโลก (Bronze Wolf)

	
จากที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเล็งเห็นความสำคัญของ
กิจการลูกเสือ ซึ่งกิจการลูกเสือได้เจริญก้าวหน้าจวบจนครบ ๑๐๐ ปี ในพ.ศ. ๒๕๕๔ นี้ และประกอบกับ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ ซึ่งลูกเสือ ผู้บังคับ
บัญชาลูกเสือ และเหล่าพสกนิกร ต่างรู้สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณที่มีต่อกิจการลูกเสือไทย จึงได้ร่วมใจกัน
จัดงานเฉลิมฉลองครบรอบ ๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย และเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ 


โดยพร้อมเพรียงกันทั่วประเทศตลอด พ.ศ. ๒๕๕๔ เพื่อแสดงความจงรักภักดี เทิดทูน ตามคำปฏิญาณ


ที่ได้ให้ไว้ทุกประการ 
 	


17

๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย
สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน
สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี
องค์อุปถัมภ์คณะลูกเสือแห่งชาติ
๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย
สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน
สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ

18
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒

More Related Content

What's hot

ตารางติว O net
ตารางติว O netตารางติว O net
ตารางติว O net
Inmylove Nupad
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
krupornpana55
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
Thakhantha
 
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
วิระศักดิ์ บัวคำ
 
7คำสั่งพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย 56
7คำสั่งพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย 567คำสั่งพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย 56
7คำสั่งพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย 56
krupornpana55
 
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
Nicha Nichakorn
 
โครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพโครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพ
Kris Niyomphandh
 
บทบาทของพระมหากษัตริย์ต่อคงามมั่นคงและความเจริญรุ่งเรือง สมัยประชาธิปไตย
บทบาทของพระมหากษัตริย์ต่อคงามมั่นคงและความเจริญรุ่งเรือง สมัยประชาธิปไตยบทบาทของพระมหากษัตริย์ต่อคงามมั่นคงและความเจริญรุ่งเรือง สมัยประชาธิปไตย
บทบาทของพระมหากษัตริย์ต่อคงามมั่นคงและความเจริญรุ่งเรือง สมัยประชาธิปไตย
Nattha Ratchamool
 

What's hot (20)

คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
 
ตารางติว O net
ตารางติว O netตารางติว O net
ตารางติว O net
 
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดงาน การจัดการแข่งขั...
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่นโครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
โครงการจิตอาสาพัฒนาห้องน้ำโรงเรียนบ้านบัว อำเภอมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น
 
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36 ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
ประเพณ ผีตาโขน Is ทั้งงหมด ม.3/1 เลขที่ 8,13,36
 
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
 
7คำสั่งพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย 56
7คำสั่งพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย 567คำสั่งพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย 56
7คำสั่งพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย 56
 
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
 
โครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพโครงงานน้ำหมักชีวภาพ
โครงงานน้ำหมักชีวภาพ
 
ประวัติประเทศกัมพูชา
ประวัติประเทศกัมพูชาประวัติประเทศกัมพูชา
ประวัติประเทศกัมพูชา
 
โครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือโครงงานน้ำยาล้างมือ
โครงงานน้ำยาล้างมือ
 
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อเรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
เรื่อง ขจัดรอยเปื้อนหมึกบนเสื้อ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
 
ขยะ
ขยะขยะ
ขยะ
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561
แต่งตั้งคณะกรรมการจัดการแข่งขันกีฬาภายใน-ประจำปีการศึกษา-2561
 
บทบาทของพระมหากษัตริย์ต่อคงามมั่นคงและความเจริญรุ่งเรือง สมัยประชาธิปไตย
บทบาทของพระมหากษัตริย์ต่อคงามมั่นคงและความเจริญรุ่งเรือง สมัยประชาธิปไตยบทบาทของพระมหากษัตริย์ต่อคงามมั่นคงและความเจริญรุ่งเรือง สมัยประชาธิปไตย
บทบาทของพระมหากษัตริย์ต่อคงามมั่นคงและความเจริญรุ่งเรือง สมัยประชาธิปไตย
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำ
 

Viewers also liked

กิจการองค์การลูกเสือโลกช้าง
กิจการองค์การลูกเสือโลกช้างกิจการองค์การลูกเสือโลกช้าง
กิจการองค์การลูกเสือโลกช้าง
primpatcha
 
การสอนเขียนHtml
การสอนเขียนHtmlการสอนเขียนHtml
การสอนเขียนHtml
chukiat008
 
โลกกว้างทางการศึกษา
โลกกว้างทางการศึกษาโลกกว้างทางการศึกษา
โลกกว้างทางการศึกษา
nipaploynilpet
 
สื่อแนะแนวการศึกษาต่อม.3ภาค1 ปี57
สื่อแนะแนวการศึกษาต่อม.3ภาค1 ปี57สื่อแนะแนวการศึกษาต่อม.3ภาค1 ปี57
สื่อแนะแนวการศึกษาต่อม.3ภาค1 ปี57
พัน พัน
 
นำเสนอ ศึกษาต่อ ม3
นำเสนอ  ศึกษาต่อ ม3นำเสนอ  ศึกษาต่อ ม3
นำเสนอ ศึกษาต่อ ม3
saowanee Somsuktavekul
 

Viewers also liked (8)

สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
 
กิจการองค์การลูกเสือโลกช้าง
กิจการองค์การลูกเสือโลกช้างกิจการองค์การลูกเสือโลกช้าง
กิจการองค์การลูกเสือโลกช้าง
 
สารานุกรม
สารานุกรมสารานุกรม
สารานุกรม
 
การสอนเขียนHtml
การสอนเขียนHtmlการสอนเขียนHtml
การสอนเขียนHtml
 
โลกกว้างทางการศึกษา
โลกกว้างทางการศึกษาโลกกว้างทางการศึกษา
โลกกว้างทางการศึกษา
 
สื่อแนะแนวการศึกษาต่อม.3ภาค1 ปี57
สื่อแนะแนวการศึกษาต่อม.3ภาค1 ปี57สื่อแนะแนวการศึกษาต่อม.3ภาค1 ปี57
สื่อแนะแนวการศึกษาต่อม.3ภาค1 ปี57
 
นำเสนอ ศึกษาต่อ ม3
นำเสนอ  ศึกษาต่อ ม3นำเสนอ  ศึกษาต่อ ม3
นำเสนอ ศึกษาต่อ ม3
 
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
Ppt (ร่าง) มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๙
 

Similar to สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒

010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2
watdang
 
009.book scout encyclopedia1
009.book scout encyclopedia1009.book scout encyclopedia1
009.book scout encyclopedia1
watdang
 
การประมงตามพระราชดำริ
การประมงตามพระราชดำริการประมงตามพระราชดำริ
การประมงตามพระราชดำริ
Tanggwa
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย
JulPcc CR
 
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
pooh_monkichi
 
งานนำเสนอ21
งานนำเสนอ21งานนำเสนอ21
งานนำเสนอ21
joy1221
 
งานนำเสนอ..ส้ม
งานนำเสนอ..ส้มงานนำเสนอ..ส้ม
งานนำเสนอ..ส้ม
Zomza Sirada
 

Similar to สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒ (20)

010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2
 
009.book scout encyclopedia1
009.book scout encyclopedia1009.book scout encyclopedia1
009.book scout encyclopedia1
 
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
 
โครงการบรรพชาสามเณร นักเรียนจ่าทหารเรือ ชั้นปีที่ ๒ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ
โครงการบรรพชาสามเณร นักเรียนจ่าทหารเรือ ชั้นปีที่ ๒ เพื่อเฉลิมพระเกียรติโครงการบรรพชาสามเณร นักเรียนจ่าทหารเรือ ชั้นปีที่ ๒ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ
โครงการบรรพชาสามเณร นักเรียนจ่าทหารเรือ ชั้นปีที่ ๒ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
การประมงตามพระราชดำริ
การประมงตามพระราชดำริการประมงตามพระราชดำริ
การประมงตามพระราชดำริ
 
หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย
 
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 01/54
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 01/54วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 01/54
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 01/54
 
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
วารสาร มี.ค. เม.ย.2559
 
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
โครงการส่งเสิมอการเรียนรู้
 
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 04/55
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 04/55วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 04/55
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 04/55
 
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 05/56
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 05/56วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 05/56
วารสารโรงเรียนชุมชนวัดตะเคียนงาม 05/56
 
งานนำเสนอ21
งานนำเสนอ21งานนำเสนอ21
งานนำเสนอ21
 
History
HistoryHistory
History
 
Internal Quality Assurance in Standard 6 (2015)
Internal Quality Assurance in Standard 6 (2015)Internal Quality Assurance in Standard 6 (2015)
Internal Quality Assurance in Standard 6 (2015)
 
V 285
V 285V 285
V 285
 
งานนำเสนอ..ส้ม
งานนำเสนอ..ส้มงานนำเสนอ..ส้ม
งานนำเสนอ..ส้ม
 
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_mindmapผังมโนทัศน์ สังคม ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.1-3+443+dltvsocp3+T2 p1 6-soc_mindmap
 
แผนผังมโนทัศน์สังศึกษา ป.1-3+426+dltvsocp2+T2 p1 6-soc_mindmap
แผนผังมโนทัศน์สังศึกษา ป.1-3+426+dltvsocp2+T2 p1 6-soc_mindmapแผนผังมโนทัศน์สังศึกษา ป.1-3+426+dltvsocp2+T2 p1 6-soc_mindmap
แผนผังมโนทัศน์สังศึกษา ป.1-3+426+dltvsocp2+T2 p1 6-soc_mindmap
 

More from Taweesak Poochai

More from Taweesak Poochai (20)

ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลก
 
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดการทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
 
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
 
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
 
เอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยายเอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยาย
 
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยีสหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
 
nano safety short
nano safety shortnano safety short
nano safety short
 
Nano safety-e-book
Nano safety-e-bookNano safety-e-book
Nano safety-e-book
 
Hydroelectric power
Hydroelectric powerHydroelectric power
Hydroelectric power
 
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
 
Sound
SoundSound
Sound
 
Em wave
Em waveEm wave
Em wave
 
Nuclear
NuclearNuclear
Nuclear
 
Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012
 
JfePresent
JfePresentJfePresent
JfePresent
 
JFEs
JFEsJFEs
JFEs
 
GYI3rpt1
GYI3rpt1GYI3rpt1
GYI3rpt1
 
Sunny ars report
Sunny ars reportSunny ars report
Sunny ars report
 
Sci30203-Pressure
Sci30203-PressureSci30203-Pressure
Sci30203-Pressure
 

สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒

  • 1.
  • 3.
  • 4. พระบรมราโชวาท ในพิธีเปิดงานชุมนุมลูกเสือแห่งชาติ ครั้งที่ ๖ ณ ค่ายลูกเสือวชิราวุธ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี วันพฤหัสบดีที่ ๑๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๒ “ข้ า พเจ้ า ได้ เ คยกล่ า วแก่ ค ณะลู ก เสื อ ในโอกาสอื่ น มาแล้ ว ว่ า การลูกเสือนั้นเป็นกิจการที่ผู้ใหญ่จัดขึ้นสำหรับเด็ก เพื่อชักจูงและฝึกฝน ให้ เ ติ บ โตเป็ น คนดี มี ค วามซื่ อ สั ต ย์ และเป็ น ผู้ ส ามารถเหมาะสม ที่จะอยู่ในสังคม ดังนั้นจึงเป็นที่เข้าใจและเป็นที่หวังว่า ต่อไปข้างหน้า ลูกเสือจะเป็นคนสำคัญของชาติ คือจะเป็นผู้บริหารปกครองบ้านเมือง ได้ ขอให้ลูกเสือทราบถึงสิ่งสำคัญในการปกครองไว้ว่า ในบ้านเมืองนั้น มี ทั้ ง คนดี แ ละคนไม่ ดี ไม่ มี ใ ครจะทำให้ ค นทุ ก คนเป็ น คนดี ไ ด้ ทั้ ง หมด การทำให้บ้านเมืองมีความปรกติสุขเรียบร้อย จึงมิใช่การทำให้ทุกคน เป็นคนดี หากแต่อยู่ที่ การส่งเสริมคนดี ให้คนดีได้ปกครองบ้านเมือง และควบคุมคนไม่ดีไม่ให้มีอำนาจ ไม่ให้ก่อความเดือดร้อนวุ่นวายได้ ลูกเสือทุกคนจงหมั่นฝึกฝนตนเองให้มาก เพื่อให้พร้อมและให้เหมาะแก่ ภาระหน้าที่อันจะมีมาข้างหน้านั้น” ข
  • 5.
  • 6. ตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ ความหมาย อักษรพระปรมาภิไธย ภ.ป.ร. สีเหลืองทอง อันเป็นสีประจำวันพระบรมราชสมภพอยู่กลาง ตราสัญลักษณ์ ขลิบรอบตัวอักษรด้วยสีทอง บนพื้นวงกลมสีน้ำเงิน ล้อมรอบด้วยกรอบโค้งเรียบสีเหลืองทอง หมายความว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นศูนย์รวมดวงใจของคนไทยทั้งชาติ ด้านบนอักษร พระปรมาภิไธยเป็นเลข ๙ หมายถึง พระมหากษัตริย์พระองค์ที่ ๙ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ เลข ๙ นั้น อยู่ภายใต้พระมหาพิชัยมงกุฎ อันเป็นเครื่องประกอบพระบรมราชอิสริยยศของพระมหากษัตริย์ และ เป็ น เครื่ อ งหมายแห่ ง ความเป็ น สมเด็ จ พระบรมราชาธิ ร าช ถั ด ลงมาด้ า นข้ า งซ้ า ยขวาของอั ก ษร พระปรมาภิไธยมีลายพุ่มข้าวบิณฑ์สีทอง ซึ่งมีสัปตปฎลเศวตฉัตรประดิษฐานอยู่เบื้องบน ด้านนอกสุดเป็น กรอบโค้งมีลวดลายสีทองบนพื้นสีเขียว หมายถึงสีอันเป็นเดชแห่งวันพระบรมราชสมภพ อีกทั้งยังหมายถึง ความมั่งคั่งอุดมสมบูรณ์และความสงบร่มเย็น ด้านล่างอักษร พระปรมาภิไธยเป็นรูปกระต่ายสีขาว กระต่ายนั้น ทรงเครื่องอยู่ในลักษณะกำลังก้าวย่าง อันหมายถึง ปีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ตรงกับปีเถาะ ซึ่ ง มี ก ระต่ า ยเป็ น เครื่ อ งหมายแห่ ง ปี นั ก ษั ต ร โดยรู ป กระต่ า ยอยู่ บ นพื้ น สี น้ ำ เงิ น มี ล ายกระหนกสี ท อง อันหมายถึงความเจริญรุ่งเรืองของประเทศไทยภายใต้พระบรมโพธิสมภาร เบื้องล่างตราสัญลักษณ์เป็น แพรแถบสีชมพูขลิบทอง เขียนอักษรสีทอง ความว่า พระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ ค
  • 7.
  • 9.
  • 10. พระดำรัสในงานฉลองพระชนมายุ ๖๑ พรรษา เมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๙ ณ วชิราวุธวิทยาลัย ความตอนหนึ่งว่า “ฉั น ขอกล่ า วต่ อ ท่ า นทั้ ง ปวงว่ า จะพยายามบำเพ็ ญ ตนเพื่ อ ประโยชน์ แ ก่ บ้านเมือง ด้วยความจงรักภักดีต่อบ้านเกิดและต่อองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ผู้ทรง เป็นพระประมุขของชาติ ทั้งจะได้รักษาเกียรติศักดิ์แห่งความเป็นราชนารีในมหาจักรี บรมราชวงศ์ไว้ชั่วชีวิต” จ
  • 11.
  • 12. คำนิยม กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารเป็ น กระทรวงหลั ก และมี ค วามสำคั ญ เป็นอย่างยิ่ง ในด้านการให้การศึกษาแก่บรรดาเยาวชนที่มีความแตกต่างกัน ในเรื่องอายุ ระดับชั้นเรียน และที่กระทรวงศึกษาธิการให้ความสนใจ และ เอาใจใส่เป็นอย่างมาก คือ สถานศึกษา หลักสูตรการเรียนการสอน และ ที่สำคัญที่สุด ครู-อาจารย์ ผู้สอน ซึ่งจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการพัฒนา ตนเองในทุ ก ๆ ด้ า น ทั้ ง ด้ า นเพิ่ ม พู น การศึ ก ษา การหาประสบการณ์ การเรียนรู้ และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมแบบต่าง ๆ อาทิ วิชาและกิจกรรม ของลูกเสือ ซึ่งถือเป็นกิจกรรมที่ทรงคุณค่า สืบสานวัฒนธรรม ในการสร้าง เยาวชนให้เป็นพลเมืองดี ตามแนวพระราชดำริของสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ พระผู้ก่อกำเนิดลูกเสือไทย ซึ่งพระราชทานพระบรมราโชวาท และบทสอนสั่งที่ทรงคุณค่า นำมาใช้ได้ทุกยุคทุกสมัย โครงการจัดทำสารานุกรมลูกเสือ (Scout Encyclopedia) เล่ม ๒ โดยสำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด กิจการนักเรียน สำนักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ เล่มนี้ มีเนื้อหาสาระที่ดี มีคุณค่า และสอดคล้องต่อเนื่องกับสารานุกรมลูกเสือ เล่ม ๑ มีการกำหนดข้อมูลที่น่าสนใจเพิ่มเติม โดยเน้นข้อมูลที่เป็นประโยชน์สามารถนำไปปฏิบัติและอ้างอิง ได้อย่างถูกต้อง ขอชื่นชมแนวคิด วิธีการกำหนดขั้นตอน และรูปแบบที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย ซึ่งจะเป็น ประโยชน์อย่างมากสำหรับครู-อาจารย์ ผู้สอนทุกคน รวมทั้งสถานศึกษา ลูกเสือ และประชาชน ทั่วไป ซึ่งนับเป็นความเสียสละ และความมุ่งมั่นอย่างแรงกล้าของคณะผู้จัดทำทุกคน ขอขอบคุณ ผู้ เ กี่ ย วข้ อ งทุ ก ท่ า น ทุ ก ฝ่ า ยมา ณ โอกาสนี้ และขอให้ ก ำลั ง ใจในการจั ด ทำสารานุ ก รมลู ก เสื อ อย่างต่อเนื่อง เพื่อความเจริญก้าวหน้าของกิจการลูกเสือของชาติต่อไป (นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประธานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ฉ
  • 13.
  • 14. คำนิยม ถื อ เป็ น โอกาสดี อี ก ครั้ ง หนึ่ ง ที่ ห น่ ว ยงานภายใต้ สั ง กั ด ของ กระทรวงศึกษาธิการทุกหน่วยงาน ได้มีการสรรสร้างงานที่อยู่ในความ รับผิดชอบให้ปรากฏ และสามารถรองรับนโยบายของกระทรวง ที่ได้กำหนด ทิศทางในเรื่องการให้ความรู้ การกระตุ้นให้เกิดความสนใจ ใฝ่รู้ และเป็น แรงผลักดันให้มีการศึกษา ค้นคว้า ตลอดจนการสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ ให้ เกิดขึ้น โดยเฉพาะสำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน ที่เป็น องค์กรหลักในเรื่องการเสริมสร้างกิจกรรมเพื่อพัฒนาเยาวชน ให้มีระเบียบ วินัย มีคุณธรรม จริยธรรม เป็นพลเมืองดีของประเทศ ด้วยดีตลอดมา ทั้งยังได้มีการค้นคิดการผลิตคู่มือ ตำรา เอกสารทางวิชาการ เพื่อใช้เป็นข้อมูลอ้างอิง และค้นคว้า วิชาเฉพาะด้านลูกเสือ ดังที่ปรากฏเป็น “สารานุกรมลูกเสือ” เล่ม ๒ นี้ ซึ่งเป็นนิมิตรใหม่ของ ขบวนการลูกเสือ และเป็นการดำเนินงานที่ตรงกับความต้องการการจัดการเรียนการสอนกิจกรรมลูกเสือ ในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษา โดยสามารถใช้ “สารานุกรมลูกเสือ” เป็นข้อมูลอ้างอิงที่ถูกต้อง และเชื่อถือได้ ทั้งนี้เพราะกิจการลูกเสือมีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน จะได้ดำเนินการจัดทำ “สารานุกรมลูกเสือ” ที่เป็น ข้อมูลใหม่ ๆ และครอบคลุมทุกเนื้อหาสาระ เพื่อพัฒนาและส่งเสริมกิจการลูกเสือของชาติให้ม ี ความเจริญ มั่นคงถาวรยิ่งขึ้น ขอแสดงความยินดีในความสำเร็จของผลงานที่ปรากฏ ซึ่งถือเป็นตัวชี้วัดที่สำคัญใน รูปแบบการพัฒนาและส่งเสริมการจัดการที่ดีของสำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน ตลอดจนคณะกรรมการฯ และคณะทำงานทุกท่านที่ได้ทุ่มเทแรงกาย เสียสละเวลา และกำลัง ความคิดในการจัดทำ “สารานุกรมลูกเสือ” เล่ม ๒ ฉบับนี้ จนบรรลุผลตามเป้าหมายเป็นอย่างดียิ่ง หวังว่า “สารานุกรมลูกเสือ” เล่ม ๒ จะเป็นประโยชน์และเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการพัฒนา กิจการลูกเสือของชาติสืบไป (นายอภิชาติ จีระวุฒิ) ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ รองประธานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ช
  • 15.
  • 16. คำนิยม ปัจจุบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้เจริญรุดหน้าไปอย่างมาก การสื่อสาร การเรียนรู้ และข้อมูลต่าง ๆ ทางด้านวิชาการ สังคม เศรษฐกิจ และการเมือง เป็นเรื่องที่คนไทยรับข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะใน กลุ่มของนักเรียน นิสิต นักศึกษา มีความสนใจในการสืบค้นข้อมูลในเชิงลึก ที่ผู้ใหญ่นึกไม่ถึงว่าบรรดาเยาวชนเหล่านั้นให้ความสนใจอย่างจริงจังและ ต่อเนื่อง การแสวงหาข้อมูลจากสื่อในรูปแบบต่าง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต ตำรา คู่มือ เอกสาร การเข้าร่วมโครงการ และกิจกรรมต่าง ๆ โดยเฉพาะ กิจกรรมลูกเสือ ที่ส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีความเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ ตลอดจนส่งเสริมทักษะชีวิตและทักษะการดำรงชีวิตที่ดี สำนักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ในฐานะเป็นองค์กรควบคุม กำกับ ดูแล สำนักการ ลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน ได้พิจารณาดำเนินการจัดทำ “สารานุกรมลูกเสือ” เล่ม ๒ ขึ้น เพื่อเฉลิมฉลองครบรอบ ๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย ในพ.ศ. ๒๕๕๔ และเฉลิมฉลองพระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ทรงเจริ ญ พระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธั น วาคม ๒๕๕๔ ตลอดจนเป็ น ผู้ น ำ ด้านสื่อการเรียนการสอนกิจกรรมลูกเสือ และส่งเสริมเด็กและเยาวชนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ขอแสดงความยิ น ดี ชื่ น ชมและขอบคุ ณ ผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ท างการลู ก เสื อ ตลอดจน คณะทำงานทุกท่าน ที่ได้ช่วยกันจัดทำ “สารานุกรมลูกเสือ” เล่ม ๒ จนสำเร็จปรากฏผลงานอย่าง ชัดเจน และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า “สารานุกรมลูกเสือ” เล่ม ๒ ฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์อย่างสูงสุดต่อ กิจการลูกเสือของชาติตลอดไป (นายนิวัตร นาคะเวช) รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เลขาธิการสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ ซ
  • 17.
  • 18. คำนำ นั บ เป็ น ความสำเร็ จ และภาคภู มิ ใจของคณะลู ก เสื อ แห่ ง ชาติ อีกวาระหนึ่งที่สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สำนักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ได้จัดทำ “สารานุกรม ลูกเสือ” (Scout Encyclopedia) เล่ม ๒ สำเร็จด้วยความสมบูรณ์ และ เป็นกิจกรรมทางวิชาการกิจกรรมหนึ่งที่ได้จัดขึ้นเพื่อเป็นการเฉลิมฉลอง ครบรอบ ๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย และเฉลิมฉลองพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ ยังความปลาบปลื้มปีติ ยิ น ดี แ ด่ พ สกนิ ก รทุ ก หมู่ เ หล่ า โดยเฉพาะเหล่ า บรรดาสมาชิ ก ลู ก เสื อ ทั่วประเทศต่างน้อมนำและยึดมั่นในคำปฏิญาณของลูกเสือ ข้อ ๑ คือ “ข้าฯ จะจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์” ดังนั้นคณะทำงานจึงได้อัญเชิญพระราชประวัติเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจ ด้านการลูกเสือมาไว้เป็นบทแรก เพื่อรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณที่ทรงมีต่อกิจการลูกเสือไทย พระองค์ท่านเป็นพระมหากษัตริย์องค์เดียวในโลกที่เป็นพระประมุขคณะลูกเสือ และเพื่อรำลึกถึง สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี พระราชธิดาองค์เดียวของ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณต่อกิจการลูกเสือมาโดยตลอด จึงได้อัญเชิญพระราชกรณียกิจด้านการลูกเสือของพระองค์มาเทิดพระเกียรติไว้เช่นเดียวกัน จากผลสำเร็จและการเผยแพร่ “สารานุกรมลูกเสือ” เล่ม ๑ ไปทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ ได้มีการตอบรับและแสดงความคิดเห็นกลับมาที่สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน ในด้านคุณค่าของสารานุกรมลูกเสือ เล่ม ๑ อย่างชื่นชม มีข้อเสนอแนะ แนวคิด ตลอดจนข้อมูล ที่สมควรจะจัดทำต่อไป แต่เป็นที่น่าเสียดายอย่างยิ่งที่จำนวนการผลิต “สารานุกรมลูกเสือ” เล่ม ๑ มีจำนวนจำกัด ไม่สามารถเผยแพร่ได้อย่างทั่วถึง การจัดทำสารานุกรมลูกเสือ เล่ม ๑ นี้ ได้นำเสนอ อยู่ในวาระการประชุมของคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๔ ซึ่งมีรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ประธานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ เป็นประธานที่ประชุมฯ ท่านได้แสดงความชื่นชมผลงาน ชมเชยพร้อมกับกรุณาให้ข้อเสนอแนะว่าเล่มต่อ ๆ ไป ควรจัดทำ เป็ น หมวดหมู่ เพื่ อ สะดวกแก่ ก ารค้ น คว้ า คณะผู้ จั ด ทำสารานุ ก รมลู ก เสื อ จึ ง น้ อ มรั บ ด้ ว ยความ ขอบพระคุณเป็นอย่างสูง โดยได้กำหนดว่าสารานุกรมลูกเสือ เล่ม ๒ จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับพิธีการ ลูกเสือ ซึ่งเป็นเรื่องที่บรรดาสมาชิกลูกเสือได้ให้ความสนใจ ต้องการหลักปฏิบัติที่ถูกต้อง เพื่อจะได้ยึดถือ ให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน ดังนั้นคณะทำงานอันประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิระดับสูงของประเทศ ฌ
  • 19. อาทิ กรรมการผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ข องสภาลู ก เสื อ ไทย กรรมการบริ ห ารลู ก เสื อ แห่ ง ชาติ ตลอดจน ผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานสำคัญต่าง ๆ โดยเฉพาะผู้แทนจากราชบัณฑิตยสถาน ดังรายนามที่ปรากฏ อยู่ในภาคผนวก ได้ทุ่มเทการทำงานอย่างเต็มความสามารถ สำหรับการจัดทำ “สารานุกรมลูกเสือ” เล่ม ๒ นี้ ขอขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ดร.นิวัตร นาคะเวช รองปลัด กระทรวงศึกษาธิการและเลขาธิการสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ และนายพะนอม แก้วกำเนิด กรรมการ บริหารลูกเสือแห่งชาติ ที่ได้กรุณาเป็นประธานที่ประชุมฯ และคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิของสภาลูกเสือไทยอีกหลายท่าน ตลอดจนคณะกรรมการฯ คณะทำงาน และทุกท่านที่มิได้กล่าวนาม รวมทั้งแหล่งข้อมูลที่ได้อ้างอิงไว้ ณ ที่นี้ด้วย ผมในฐานะประธานโครงการฯ ต้องกราบขออภัยในความบกพร่อง ซึ่งเป็นเรื่องปกติของ การจัดทำ “สารานุกรมลูกเสือ” ที่จะต้องมีการปรับปรุง แก้ไขควบคู่กันไปตลอด ขอความสำเร็จ และประโยชน์อันพึงมีจงส่งผลดีให้แก่กิจการลูกเสือไทย ในโอกาสเฉลิมฉลองครบรอบ ๑๐๐ ปี และร่วมเฉลิมฉลองพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ เทอญ (นายสายัณห์ สันทัด) ผู้อำนวยการสำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน ญ
  • 20. สารบัญ หน้า พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระประมุขคณะลูกเสือแห่งชาติ ก พระบรมราโชวาท ข ความหมายของตราสัญลักษณ์งานเฉลิมพระเกียรติ ค สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ง พระดำรัส จ คำนิยม ฉ-ซ คำนำ ฌ สารบัญ ฎ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระประมุขคณะลูกเสือแห่งชาติ ๑ พระมหากรุณาธิคุณต่อกิจการลูกเสือไทย ๖ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี องค์อุปถัมภ์คณะลูกเสือแห่งชาติ ๑๘ ตราคณะลูกเสือแห่งชาติ ๒๕ เครื่องหมายวิชาพิเศษ ๓๐ เครื่องหมายวิชาพิเศษลูกเสือสำรอง ๓๒ เครื่องหมายวิชาพิเศษลูกเสือสามัญ ๓๔ เครื่องหมายสายยงยศลูกเสือสามัญ ๓๖ ๓๘ เครื่องหมายวิชาพิเศษลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ เครื่องหมายสายยงยศลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ๔๒ เครื่องหมายชาวเรือ ๔๓ เครื่องหมายการบิน ๔๔ เครื่องหมายวิชาพิเศษลูกเสือวิสามัญ ๔๕ เครื่องหมายวชิราวุธ ๔๗ งานชุมนุมลูกเสือ ๔๙ เนตรนารี ๕๙ พิธีการชักธงเขียวใหญ่ ๖๔ พิธีการตรวจโดยรองผู้กำกับลูกเสือ ๖๖ ฎ
  • 21. สารบัญ (ต่อ) หน้า พิธีการตรวจโดยนายหมู่ลูกเสือ เพลงลูกเสือ ตราสัญลักษณ์ของลูกเสือโลก ระเบียบแถวลูกเสือ ๗๐ ๗๓ ๗๖ ๘๕ พิธีการของลูกเสือ ๙๓ การชุมนุมรอบกองไฟ ๙๕ การชักธงชาติ ๑๐๔ การลอดซุ้มเข้าค่าย ๑๐๘ พิธีการเปิด-ปิดการฝึกอบรม ๑๑๑ พิธีรอบเสาธงในการอยู่ค่ายพักแรม (การฝึกอบรม) ๑๑๗ พิธีการสวนสนาม ๑๒๔ พิธีการถวายราชสดุดี ๑๓๔ พิธีการของลูกเสือสำรอง ๑๓๙ การทำความเคารพเป็นหมู่ (แกรนด์ฮาวล์) ๑๓๙ พิธีเข้าประจำกองและประดับดาวของลูกเสือสำรอง ๑๔๔ พิธีการประดับดาวดวงที่ ๑ ๑๔๙ พิธีการประดับดาวดวงที่ ๒ ๑๕๑ พิธีการประดับดาวดวงที่ ๓ ๑๕๓ พิธีการเปิดประชุมกองลูกเสือสำรอง ๑๕๕ พิธีการปิดประชุมกองลูกเสือสำรอง ๑๖๑ พิธีการส่งลูกเสือสำรองไปเป็นลูกเสือสามัญ ๑๖๕ ฏ
  • 22. สารบัญ (ต่อ) หน้า พิธีการของลูกเสือสามัญ ๑๖๙ การประชุมนายหมู่ลูกเสือ พิธีเข้าประจำกองลูกเสือสามัญ พิธีการเปิด-ปิดประชุมกองลูกเสือสามัญ ลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ และลูกเสือวิสามัญ พิธีการส่งตัวลูกเสือสามัญไปเป็นลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ๑๖๙ ๑๗๒ ๑๗๗ ๑๘๒ พิธีการของลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ๑๘๕ ๑๘๕ ๑๘๗ การประชุมคณะกรรมการกอง พิธีการเข้าประจำกองลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ พิธีการของลูกเสือวิสามัญ ๑๙๑ พิธีการส่งลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ไปเป็นเตรียมลูกเสือวิสามัญ ๑๙๑ การประชุมคณะกรรมการประจำกองลูกเสือสามัญ ๑๙๔ พิธีการรับเตรียมลูกเสือวิสามัญ ๑๙๗ พิธีการสำรวจตัวเองของผู้ที่เข้าเป็นลูกเสือวิสามัญ ๒๐๒ พิธีเข้าประจำกองลูกเสือวิสามัญ ๒๐๘ น้อมระลึกถึงพระคุณในความร่วมมือ ๒๑๓ ภาคผนวก ๒๑๕ คณะกรรมการและคณะทำงานฯ ๒๑๖ ผู้เขียนสารานุกรม ๒๑๘ ฐ
  • 23.
  • 24. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระประมุขคณะลูกเสือแห่งชาติ ๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
  • 25. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร พระบาทสมเด็ จ พระปรมิ น ทรมหาภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช สยามิ น ทราธิ ร าช บรมนาถบพิ ต ร ทรงเป็ น พระมหากษั ต ริ ย์ ลำดั บ ที่ ๙ แห่ ง ราชวงศ์ จั ก รี เสด็ จ ขึ้ น ครองราชย์ ตั้ ง แต่ วั น ที่ ๙ มิ ถุ น ายน พ.ศ. ๒๔๘๙ ทรงเป็ น พระมหากษั ต ริ ย์ ผู้ ท รงเสวยราชสมบั ติ ย าวนานที่ สุ ด ในโลก ที่ มี พ ระชนม์ ชี พ อยู ่ ๑ และยาวนานที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติไทย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชสมภพเมื่อวันจันทร์ที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๐ ณ โรงพยาบาลเคมบริดจ์ เมืองเคมบริดจ์ มลรัฐแมสซาชูเซตส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ทรงเป็นพระราชโอรส องค์เล็กในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก (พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว) กับสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี (เดิมทรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จ พระราชชนนีศรีสังวาลย์) ทรงมีพระเชษฐภคินี คือ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวง นราธิวาสราชนครินทร์ และพระบรมเชษฐาธิราช คือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ครั้นในวันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๙ พระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลเสด็จสวรรคตโดยกะทันหัน รัฐสภามีมติเป็นเอกฉันท์กราบทูลเชิญขึ้นครองสิริราชสมบัติ สืบราชสันตติวงศ์ เฉลิมพระปรมาภิไธยว่า “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช” รูปที่ ๑ รูปที่ ๒ รูปที่ ๑ และ รูปที่ ๒ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงฉายภาพร่วมกับพระบรมราชชนก พระบรมราชชนนี พร้อมด้วยพระเชษฐภคินี และพระบรมเชษฐาธิราช ๑ A Royal Occasion speeches. Worldshop.com Journal (1996). สืบค้นจาก the original วันที่ May 12, 2006 สืบค้นวันที่ ๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ ๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
  • 26. รูปที่ ๔ พ.ศ. ๒๔๗๒ ทรงฉลองพระองค์ชุดลูกเสือ มณฑลปัตตานี รูปที่ ๕ พ.ศ. ๒๔๗๓ ชั้นเด็กเล็ก ในโรงเรียนอนุบาลของมิสซิสเดวิส รูปที่ ๓ พ.ศ. ๒๔๗๒ สองชันษา ทำบุญช่วยกันปล่อยนก เนื่องในวันคล้ายวันประสูติ รูปที่ ๖ พ.ศ. ๒๔๗๔ ทรงฉลองพระองค์ชุดละครไทย ซึ่งสมเด็จพระพันวัสสาอัยยิกาเจ้าประทานให้ ภาพจาก ..... ปฏิทินปี พุทธศักราช ๒๕๔๒ ของ การปิโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ปตท.) พระองค์ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่มีพระปรีชาสามารถในศิลปะแขนงต่าง ๆ หลายแขนง จึงทรง ได้รับการยกย่องให้เป็นองค์อัครศิลปินแห่งชาติและบิดาแห่งการดนตรี๒ พระองค์ยังทรงสนพระราชหฤทัย ในการฝึกเขียนภาพ มีพระปรีชาสามารถในเรื่องการถ่ายภาพ และการเขียนหนังสือ ๒ “สุเทพ - สวลี” ขับกล่อมบทเพลงพระราชนิพนธ์ในคอนเสิร์ต “องค์อัครศิลปิน หนึ่งเดียวในโลก”. กรมส่งเสริมวัฒนธรรม. สืบค้น ๖-๑๒-๒๕๕๓. ๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
  • 27. รูปที่ ๗ ทรงสนพระราชหฤทัยในการเขียนภาพ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จฯ ไปทุกหนแห่ง ไม่ว่าดินแดนแห่งนั้นจะทุรกันดารเพียงใด ไม่ว่าใกล้ไกลแค่ไหน พระองค์จัดทำโครงการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดำริควบคู่ไปในทุก ๆ ด้าน ไม่เน้นด้านใดด้านหนึ่ง พระองค์มีจุดประสงค์เดียว คือ เพื่อขจัดความทุกข์ยากของชาวชนบท และสนับสนุน ส่ ง เสริ ม ให้ มี ค วามเป็ น อยู่ ที่ ดี ขึ้ น รวมทั้ ง แก้ ปั ญ หาสั ง คมเมื อ งให้ ดี ขึ้ น โดยจะเห็ น ได้ จ ากโครงการใน พระราชดำริหลายโครงการที่เกิดขึ้นจากความรับผิดชอบของหน่วยงานต่าง ๆ รูปที่ ๘ เสด็จออกเยี่ยมประชาชน รูปที่ ๙ ทรงปลูกต้นไม้ ทรงเน้นในเรื่องของการค้นคว้า ทดลอง และวิจัยหาพันธุ์พืชใหม่ ๆ ทั้งพืชเศรษฐกิจ พืชสมุนไพร รวมถึงการศึกษาเกี่ยวกับแมลงศัตรูพืช และพันธุ์สัตว์ต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่นนั้น ๆ ซึ่งแต่ละ โครงการจะเน้นให้สามารถนำไปปฏิบัติได้จริง มีราคาถูก ใช้เทคโนโลยีง่ายไม่สลับซับซ้อน เกษตรกรสามารถ ดำเนินการเองได้ การพั ฒ นาแหล่ ง น้ ำ เพื่ อ การเพาะปลู ก หรื อ การชลประทาน นั บ ว่ า เป็ น งานที่ มี ค วามสำคั ญ และมีประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงให้ ความสนพระราชหฤทัยเกี่ยวกับการพัฒนาแหล่งน้ำมากกว่าโครงการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ประเภทอื่น ๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
  • 28. รูปที่ ๑๐ เขื่อนภูมิพล รูปที่ ๑๑ เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ทรงประกอบพระราชกรณียกิจตลอดระยะเวลากว่า ๖๐ ปี ที่ทรงครองราชย์เป็นประมุขแห่งราชอาณาจักรไทย โดยสามารถยกตัวอย่างดังนี้ เช่น มูลนิธิชัยพัฒนา มูลนิธิโครงการหลวง โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา โครงการหลวงอ่างขาง โครงการปลูกป่าถาวร โครงการแก้มลิง โครงการฝนหลวง โครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน โครงการแกล้งดิน กังหัน ชัยพัฒนา แนวพระราชดำริผลิตแก๊สโซฮอล์ในโครงการส่วนพระองค์ (พ.ศ. ๒๕๒๘) แนวพระราชดำริ เศรษฐกิจพอเพียง การปลูกหญ้าแฝกป้องกันดิน เพลงพระราชนิพนธ์ พระสมเด็จจิตรลดา ทางด้านกีฬาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นตัวแทนของประเทศไทยลงแข่งเรือใบในกีฬา แหลมทอง ครั้งที่ ๔ ระหว่างวันที่ ๙-๑๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๐ ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ โดยทรงเข้าค่าย ฝึกซ้อมตามโปรแกรมการฝึกซ้อม และทรงได้รับเบี้ยเลี้ยงในฐานะนักกีฬา เช่นเดียวกับนักกีฬาคนอื่น ๆ ในที่สุดด้วยพระปรีชาสามารถ พระองค์ทรงชนะเลิศ เหรียญทอง และทรงได้รับการทูลเกล้าฯ ถวายรางวัล เหรียญทองจากสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เมื่อวันที่ ๑๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๑๐๓ รูปที่ ๑๒ ทรงโปรดการแข่งเรือใบ รูปที่ ๑๓ ขณะทรงแข่งเรือใบ ๓ Cummins, Peter (December 2004). His Majesty King Bhumipol Adulyadej The Great : Monarch of Peace and Unity. Chiang Mai Mail. สืบค้นวันที่ ๒๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ ๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
  • 29. งานทางด้ า นดนตรี พระองค์ ท รงรอบรู้ เรื่ อ งดนตรี เ ป็ น อย่ า งดี แ ละทรงดนตรี ไ ด้ หลายชนิ ด เช่ น แซ็กโซโฟน คราริเน็ต ทรัมเป็ต กีตาร์ และเปียโน ทรงโปรดดนตรีแจ๊สเป็นอย่างมาก และพระองค์ได้ ประพั น ธ์ เ พลงที่ มี ค วามหมายและไพเราะหลายเพลงด้ ว ยกั น เช่ น เพลงพระราชนิ พ นธ์ แ สงเที ย น เป็นเพลงแรก สายฝน ยามเย็น ใกล้รุ่ง ลมหนาว ยิ้มสู้ ค่ำแล้ว ไกลกังวล ความฝันอันสูงสุด และเราสู้ หรือจะเป็นพรปีใหม่ ซึ่งถือได้ว่าเป็นส่วนสำคัญอย่างหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับชีวิตของชาวไทย๔ พระมหากรุณาธิคุณต่อกิจการลูกเสือไทย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงเป็นพระประมุขของคณะลูกเสือแห่งชาติ เมื่อเริ่มรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชนั้น เป็นระยะเวลาที่มหาสงครามของโลก ครั้งที่สองเพิ่งจะสงบลงพอดี จากการนี้เองทำให้กิจการลูกเสือในหลายต่อหลายประเทศที่ได้สงบ ซบเซาไป เป็นเวลาช้านาน ได้กลับฟื้นคืนชีวิตขึ้นมาอีกครั้งหนึ่งหลังจากที่การลูกเสือได้ชะงักไปชั่วระยะหนึ่ง โดยที่ ลูกเสือได้สลายตัวไปรวมกับองค์การยุวชนแห่งชาติ เมื่อพ.ศ. ๒๔๘๖ พอถึงพ.ศ. ๒๔๙๐ กิจการลูกเสือ ได้ ถู ก รื้ อ ฟื้ น ให้ คื น คงสถานะเดิ ม ขึ้ น มาอี ก ครั้ ง หนึ่ ง เป็ น ผลให้ กิ จ การลู ก เสื อ ในประเทศไทยได้ เริ่ ม ต้ น เคลื่อนไหวเข้มแข็งขึ้นมาใหม่ อาทิ การชุมนุมลูกเสือแห่งชาติ ซึ่งได้เลิกร้างมากว่า ๒๐ ปีเศษแล้ว ก็ได้กลับ ขึ้นมาอีกในพ.ศ. ๒๔๙๗ ซึ่งนับเป็นครั้งที่ ๓ การติดต่อกับสมาคมลูกเสือนานาชาติก็ได้เริ่มต้นขึ้นใหม่ และก้าวหน้ายิ่งกว่ากาลก่อนที่แล้ว ได้มีการไปมาหาสู่เป็นประจำ รูปที่ ๑๔ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรมเชษฐาธิราชทรงฉลองพระองค์ชุดลูกเสือ ๔ Tang, Alisa (13 June 2006). Thailand’s monarch is ruler, jazz musician, Boston.com News, Associated Press. สืบค้นวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐ Home Grown Shows Planned for White House Dinners, The New York Times, 30 May 1967. ๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
  • 30. การอบรมผู้กำกับลูกเสือซึ่งได้ว่างเว้นมานานแล้วเช่นกัน ก็ได้เริ่มขึ้นอีก การอบรมครั้งแรกนั้น เข้าใจว่าได้เริ่มมีขึ้นในพ.ศ. ๒๔๙๓ เพราะก่อนหน้านั้นมาปรากฏหลักฐาน โดยในพ.ศ. ๒๔๙๓ ทางราชการ ได้ เ ปิ ด ให้ มี ก ารอบรมผู้ ก ำกั บ ลู ก เสื อ และรองผู้ ก ำกั บ ลู ก เสื อ ทั่ ว ราชอาณาจั ก รขึ้ น ที่ ก รุ ง เทพฯ ใช้ เวลา อบรม ๓๐ วัน เมื่อเสร็จแล้วให้จังหวัดต่าง ๆ นำเอาวิชาความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปเปิดอบรมในจังหวัด ของตนขึ้นอีกต่อหนึ่ง สิ่ ง ที่ ส ำคั ญ ยิ่ ง ก็ คื อ ได้ มี ศู น ย์ ฝึ ก อบรมลู ก เสื อ ณ จั ง หวั ด ชลบุ รี อั น ทั น สมั ย ตามแบบสากล ทำนองเดียวกับที่กิลเวลล์ ปาร์ค เป็นของการลูกเสือโดยเฉพาะ เริ่มดำเนินการสร้างค่ายลูกเสือ โดยใช้ งบประมาณแผ่นดินจัดซื้อที่ดินบริเวณหลังเขาซากแขก ตำบลบางพระ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี เนื้อที่ ๘๘ ไร่ ๕๘ ตารางวา ราคา ๓๐๔,๐๐๐ บาท โดยมีการประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ตึกอำนวยการ ศู น ย์ ก ารฝึ ก และอบรมลู ก เสื อ นี้ เ มื่ อ วั น ที่ ๑๙ สิ ง หาคม พ.ศ. ๒๔๙๗ โดย พลเอก มั ง กร พรหมโยธี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการในขณะนั้น ได้เป็นประธาน ซึ่งต่อมาในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๔ ได้พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้นามค่ายฝึกอบรมนี้ว่า “ค่ายลูกเสือวชิราวุธ” และเมื่อวันที่ ๑๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๕ พลเอกถนอม กิตติขจร รองนายกรัฐมนตรี เป็นประธานในพิธีเปิดค่ายลูกเสือวชิราวุธ ค่าก่อสร้างทั้งสิ้นเมื่อถึงวันพิธีเปิดค่าย เป็นเงิน ๔,๓๐๐,๐๐๐ บาท รูปที่ ๑๕ พระบรมราชานุสาวรีย์หน้าค่ายลูกเสือวชิราวุธ กิจกรรมที่สำคัญยิ่งอีกประหนึ่งของลูกเสือ คือ การจัดงานชุมนุมลูกเสือแห่งชาติ ซึ่งได้ว่างเว้น เป็นเวลานานถึง ๒๔ ปี ทางราชการจึงได้จัดให้มีขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ระหว่างวันที่ ๒๐-๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๙๗ ณ กรีฑาสถานแห่งชาติ นับเป็นงานชุมนุมลูกเสือแห่งชาติ ครั้งที่ ๓ พระองค์ได้เสด็จพระราชดำเนิน เปิ ด งานชุ ม นุ ม ลู ก เสื อ แห่ ง ชาติ ครั้ ง ที่ ๓ เมื่ อ วั น ที่ ๒๐ พฤศจิ ก ายน พ.ศ. ๒๔๙๗ และได้ ท รงมี พระบรมราโชวาทความว่า ๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
  • 31. “ข้าพเจ้าตระหนักในความสำคัญและประโยชน์ของการลูกเสือเป็นอย่างมากทั้งมีความชื่นชม ยินดีที่ได้ฟังคำกล่าวขวัญถึงกรณียกิจ และความเสียสละที่ลูกเสือต่างได้บำเพ็ญในการช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ ในคราวประสบภัยอยู่เนื่อง ๆ แต่ประโยชน์อันยิ่งใหญ่ของการลูกเสือนั้น ย่อมได้แก่ตัวยุวชนผู้เป็นลูกเสือเอง ที่ได้รับการฝึกฝนอบรมให้เป็นผู้เลี้ยงตัวเอง พึ่งตนเอง ทำอะไรได้เอง มีความแข็งแกร่ง สามารถเผชิญชีวิต ในอนาคตทุกวิถีทาง รวมความว่าเพื่อเป็นพลเมืองดี เป็นประโยชน์แก่ตนเองและเพื่อนมนุษย์นั่นเอง” และในวั น สุ ด ท้ า ยของการชุ ม นุ ม ฯ คื อ วั น ที่ ๒๖ พฤศจิ ก ายน พ.ศ. ๒๔๙๗ เวลาบ่ า ยได้ มี การกระทำพิธีตรวจพล ทบทวนคำปฏิญาณของลูกเสือและสวนสนาม ณ บริเวณลานพระบรมรูปทรงม้า พระบาทสมเด็ จ พระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนิน ทรงเป็นประธานในพิธีอันสำคัญยิ่งของลูกเสือ ในโอกาสนั้นด้วย ได้มีผู้แทนของคณะลูกเสือต่างประเทศบางชาติมาร่วมสวนสนามกับคณะลูกเสือไทย คือ ลูกเสือนอร์เวย์ และลูกเสืออเมริกัน พระองค์ฯ ได้พระราชทานพระบรมราโชวาทแก่คณะลูกเสือ ดังต่อไปนี้ “ข้าพเจ้าขอถือโอกาสเตือนลูกเสือทั้งหลายว่าจงยึดมั่นในคำขวัญของลูกเสือที่ว่า “เสียชีพ อย่าเสียสัตย์” หมายความว่า เมื่อได้ให้คำมั่นสัญญาไว้ว่าจะทำอย่างไรแล้ว ต้องทำเหมือนปากพูด ทุกอย่าง ในเรื่องนี้ข้าพเจ้าใคร่ขอย้ำว่า ขอให้ลูกเสือทุกคนจงสำนึกมั่นอยู่ในเกียรติและหน้าที่ และจงเป็นพลเมืองดี ของชาติ กล่าวคือจะต้องเป็นผู้ประกอบด้วยศีลธรรม จรรยา มารยาทอันดีงาม เป็นผู้ที่มีสุขภาพและ อนามัยสมบูรณ์ มีความรู้ ความสามารถในการงาน และรู้จักการเสียสละที่จะบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์แก่ ผู้อื่น ตลอดจนประเทศชาติของตน จงจำไว้ว่าอนาคตของชาติจะเจริญหรือไม่นั้น ย่อมขึ้นอยู่กับเยาวชน เช่นท่านทั้งหลายนี้ ซึ่งจะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ในวันข้างหน้า” รูปที่ ๑๖ เสด็จพระราชดำเนิน เปิดงานชุมนุมลูกเสือแห่งชาติ ครั้งที่ ๓ พ.ศ. ๒๔๙๗ ๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ รูปที่ ๑๗ เสด็จพระราชดำเนิน เปิดงานชุมนุมลูกเสือแห่งชาติ ครั้งที่ ๔ พ.ศ. ๒๕๐๔
  • 32. รูปที่ ๑๘ เสด็จพระราชดำเนิน เปิดงานชุมนุมลูกเสือแห่งชาติ ครั้งที่ ๖ พ.ศ. ๒๕๑๒ รูปที่ ๑๙ เสด็จพระราชดำเนิน เปิดงานชุมนุมลูกเสือแห่งชาติ ครั้งที่ ๘ พ.ศ. ๒๕๑๖ สิ่งสำคัญอีกประการหนึ่งคือ อาคารสโมสรของลูกเสือ ซึ่งได้เคยอยู่ในโครงการของสภากรรมการ กลางจัดการลูกเสือแห่งชาติมาหลายสมัยเป็นเวลาช้านานแล้ว ก็ได้เริ่มดำเนินการอย่างจริงจังขึ้นในตอนนี้ ได้มีการประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์เมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๕ ในโอกาสแห่งวันครบรอบ ๕๐ ปี ของการลูกเสือไทย อาคารนี้ได้รับพระบรมราชานุญาตให้ใช้นามว่า “ศาลาวชิราวุธ” รูปที่ ๒๐ เสด็จพระราชดำเนินเปิดอาคารศาลาวชิราวุธ พระองค์ ท รงสนพระราชหฤทั ย ในการลู ก เสื อ ทั้ ง ลู ก เสื อ สากลและลู ก เสื อ ชาวบ้ า น ทรงเข้ า พระราชหฤทัยในหลักจิตวิทยาพฤติกรรมมนุษย์และจิตวิทยาสังคมอย่างลึกซึ้ง ทรงเล็งเห็นว่ากิจกรรมลูกเสือนั้น สามารถพัฒนาคนให้เป็นคนดี มีคุณธรรม เพื่อเป็นพลเมืองดีของประเทศชาติได้อย่างดียิ่ง พระองค์ทรงให้ กำลั ง ใจ และส่ ง เสริ ม กิ จ กรรมลู ก เสื อ ทุ ก ชนิ ด มาโดยตลอด ทรงเป็ น องค์ ป ระธานในงานชุ ม นุ ม ลู ก เสื อ แห่งชาติ โดยทรงเครื่องแบบลูกเสือชุดฝึก (พระสนับเพลาขาสั้น) ๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
  • 33. รูปที่ ๒๑ ทรงฉลองพระองค์เครื่องแบบลูกเสือชุดฝึก พระองค์ได้พระราชทานพระราชดำริให้มีลูกเสือชาวบ้าน โดยที่พระองค์ทรงเล็งเห็นว่าประชาชน ชาวบ้านที่ไม่มีโอกาสศึกษาเล่าเรียนหรือเว้นว่างจากการเรียนควรได้เข้าร่วมกิจกรรมที่แสดงถึงความรัก ความสามัคคี การอาสาป้องกันชาติ โดยใช้กิจกรรมลูกเสือเป็นสื่อ เพราะกิจกรรมลูกเสือเป็นกิจกรรม ที่พัฒนาทั้งสุขภาพของกาย จิตใจ และสังคมได้เป็นอย่างดี รูปที่ ๒๒ พระราชทานธงลูกเสือชาวบ้าน พระราชทานพระราชดำรัสเกี่ยวกับการจัดการลูกเสือชาวบ้านที่สำคัญหลายประการ เช่น ไม่มี พระราชประสงค์ให้กิจการลูกเสือชาวบ้านเกี่ยวข้องกับการเมือง มีพระราชประสงค์ให้ชาวบ้านควบคุม กันเอง ส่งเสริมระบบการมีผู้นำผู้ตามในชุมชน เป็นการฝึกประชาธิปไตยที่แยบยลอย่างยิ่ง ไม่ให้ดำเนินการ ใด ๆ ที่เป็นการสิ้นเปลือง ทรงมอบธงประจำรุ่นให้แก่ลูกเสือชาวบ้านทุกแห่งหนในประเทศไทย ซึ่งเป็น พระราชจริยวัตรของผู้นำ ๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ 10
  • 34. พระราชทานพระมหากรุณากำหนดให้วันที่ ๑ กรกฎาคม ของทุก ๆ ปี เป็นวันเฉลิมฉลองคล้าย วันสถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ พระองค์ได้ทรงพระกรุณาเสด็จเป็นองค์ประธานตรวจพลสวนสนาม และ ทบทวนคำปฏิญาณของลูกเสือ อาทิ ในวันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๓ เสด็จพระราชดำเนินพร้อมด้วย สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา ณ กรีฑาสถานแห่งชาติ และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานพระบรมราชโชวาท มีใจความสำคัญตอนหนึ่งว่า รูปที่ ๒๓ รูปที่ ๒๔ รูปที่ ๒๓ และ รูปที่ ๒๔ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินเนื่องในงานวันคล้ายวันสถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ เมื่อ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๓ “สมัยนี้ ความยุ่งยากในหมู่เยาวชนมีมาก และเป็นปัญหาที่ยังแก้ไขไม่ได้ ความยุ่งยากนี้ทำให้ ทุกคนเดือดร้อน จำเป็นต้องแก้ไขขจัดเสีย เพราะถ้าไม่ขจัดจะยิ่งเดือดร้อนและจะเป็นอันตรายแก่ชาติ บ้านเมือง ทุกฝ่ายชอบที่จะเผชิญความจริง มีความคิดความเข้าใจและความต้องการอย่างไร ก็นำมาพูดกัน ตามตรงด้วยหลักวิชา ด้วยเหตุผล และด้วยความสงบ และดูว่าผลจะเป็นอย่างไร จะแก้ปัญหาได้ ลูกเสือ มีหลักการที่จะอยู่ร่วมกัน และทำประโยชน์ร่วมกัน ด้วยความเข้าใจและเห็นใจอยู่แล้ว” ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ เสด็จพระราชดำเนินเป็นประธานในพิธีตรวจพลสวนสนาม และทบทวน คำปฏิญาณของลูกเสือ เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ ในวันที่ ๑ กรกฎาคม อีกหลายครั้ง และในบางครั้ ง แม้ จ ะมิ ไ ด้ เ สด็ จ ด้ ว ยพระองค์ เ อง ก็ ท รงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ ให้ ผู้ แ ทนพระองค์ ปฏิบัติภารกิจแทนทุกปีตราบจนถึงปัจจุบัน 11 ๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
  • 35. รูปที่ ๒๕ รูปที่ ๒๖ รูปที่ ๒๗ รูปที่ ๒๘ ๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ รูปที่ ๒๙ 12 รูปที่ ๓๐
  • 36. รูปที่ ๓๑ รูปที่ ๓๒ รูปที่ ๒๕ ถึง รูปที่ ๓๒ เสด็จพระราชดำเนินด้วยพระองค์เอง และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ผู้แทนพระองค์ปฏิบัติภารกิจแทน เนื่องในงานวันคล้ายวันสถาปนาคณะลูกเสือแห่งชาติ ๑ กรกฎาคม ของทุกปี นอกจากนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเหรียญ ลูกเสือสดุดีแก่ผู้ที่ประกอบคุณงามความดีก่อให้เกิดประโยชน์แก่คณะลูกเสือแห่งชาติ มาโดยตลอด อาทิ เมื่ อ วั น ที่ ๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๔ เมื่ อ พระราชทานเหรี ย ญลู ก เสื อ สดุ ดี เ สร็ จ เรี ย บร้ อ ยแล้ ว ได้ มี พระราโชวาทมีใจความว่า “ทุกวันนี้ คนทั่วไปนิยมยินดีอย่างมากในความคิดและการกระทำโดยอิสรเสรี การมีเสรีภาพนั้นเป็นของดีอย่างยิ่ง แต่การจะใช้จำเป็นต้องระมัดระวัง มิให้ล่วงละเมิดเสรีภาพของผู้อื่น ที่มีอยู่เท่าเทียมกัน ทั้งมิให้กระทบกระเทือนถึงสวัสดิภาพและความเป็นปรกติสุขของส่วนรวมด้วย มิฉะนั้น จะทำให้มีแต่ความยุ่งยาก จะทำให้สังคมและชาติประเทศจะต้องแตกสลายจนสิ้นเชิง การลูกเสือมีเจตนา และหลั ก การสำคั ญ ที่ สุ ด ที่ จ ะฝึ ก หั ด เด็ ก ให้ รู้ จั ก วิ นั ย และให้ มี วิ นั ย ทั้ ง ในความประพฤติ แ ละในจิ ต ใจ ทั้งมีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่จะต้องทำเพื่อส่วนรวมและบ้านเมือง” รูปที่ ๓๓ เสด็จไปพระราชทานเหรียญลูกเสือสดุดี เมื่อวันที่ ๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๔ ณ ศาลาดุสิดาลัย พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน รูปที่ ๓๔ พระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานเหรียญ ลูกเสือสดุดี เมื่อวันที่ ๑๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๑๗ ณ ศาลาดุสิดาลัย พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน 13 ๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
  • 37. ในพ.ศ. ๒๕๑๑ คณะลูกเสือไทยได้รับเกียรติอันใหญ่ยิ่งจากองค์การลูกเสือโลก โดยได้ทูลเกล้าฯ ถวายพระเกียรติยศสูงสุดแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้รับเครื่องหมายวูดแบดจ์ ๔ ท่อน (WOOD BADGE) เป็นกรณีพิเศษ ซึ่ง ณ ที่นี้อาจกล่าวได้ว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ พระองค์เดียวในโลกที่ได้รับทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องหมายสูงสุดนี้ รูปที่ ๓๕ หนังสือถวายเครื่องหมายวูดแบดจ์ ๔ ท่อน แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ที่มา : คณะลูกเสือแห่งประเทศไทย (๒๕๑๔ : ๗๔) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงประกอบพิธีเปิดพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว ณ บริเวณด้านหน้าค่ายลูกเสือวชิราวุธ ในวันที่ ๒๓ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๖ ในการเสด็จฯ ไปเปิดงานชุมนุมลูกเสือแห่งชาติ ครั้งที่ ๘ ระหว่างวันที่ ๒๓-๓๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๑๖ ณ ค่ายลูกเสือ วชิราวุธ มีลูกเสือและผู้บังคับบัญชาลูกเสือเข้าร่วมชุมนุมฯ ๔,๙๖๘ คน กับมีลูกเสือต่างประเทศเข้าร่วม งานชุมนุมฯ ด้วย ๘ ประเทศ รวม ๒๕๖ คน รูปที่ ๓๖ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงประกอบพิธีเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ ค่ายลูกเสือวชิราวุธ อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี ๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ 14
  • 38. เมื่อพ.ศ. ๒๕๓๐ สำนักงานคณะกรรมการบริหารลูกเสือแห่งชาติ ทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราช อิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวโรกาสที่ทรง ครองสิริราชสมบัติ ครบ ๕๐ พรรษา รูปที่ ๓๗ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์ สภานายก สภาลูกเสือแห่งชาติ ทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นสิริยิ่งรามกีรติ ลูกเสือสดุดีชั้นพิเศษ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปทรงประกอบพิธีเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ ค่ายหลวงบ้านไร่ อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี เมื่อวันที่ ๑๘ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๓๑ รูปที่ ๓๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปทรงประกอบพิธีเปิดพระบรมราชานุสาวรีย์ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ ค่ายหลวงบ้านไร่ อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี เมื่อวันที่ ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๖ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่อมให้ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จลงแทนพระองค์ ณ ศาลา ดุสิดาลัย พระราชทานวโรกาสให้คณะบุคคลที่เข้าร่วมประชุมสมัชชาลูกเสือโลก ครั้งที่ ๓๓ ซึ่งประกอบด้วย ผู้แทน ผู้สังเกตการณ์และผู้ติดตามจากประเทศสมาชิกองค์การลูกเสือโลก ๑๓๑ ประเทศ เฝ้าทูลละออง พระบาท ในโอกาสนี้ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร พระราชทานพระราชดำรัส 15 ๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
  • 39. ความว่า “กิจการลูกเสือ แม้กำเนิดขึ้นในไพรัชประเทศ แต่ก็มีหลักการ นโยบาย ตลอดจนกระบวนการฝึกอบรม ที่ดีเลิศในการพัฒนาเยาวชนให้เจริญเติบโตขึ้นพร้อมด้วยคุณสมบัติและความเฉลียวฉลาด สามารถพึ่งตน และบำเพ็ญตนเป็นประโยชน์แก่ส่วนรวมได้อย่างมีประสิทธิภาพ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงนำแบบอย่างมาใช้ในประเทศไทย และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม รับกิจการลูกเสือไว้ ในพระบรมราชูปถัมภ์ตั้งแต่ต้น สมเด็จพระมหากษัตริย์ในรัชกาลต่อมาทุกพระองค์ก็ทรงถือเป็นพระราช กรณียกิจที่จะทรงอุปถัมภ์ และทรงเป็นผู้นำของคณะลูกเสือ โดยเฉพาะพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในรัชกาลปัจจุบัน ทรงเล็งเห็นประโยชน์ของกิจการลูกเสือเป็นพิเศษ และได้ทรงนำวิธีการมาใช้กับลูกเสือ ชาวบ้าน เพื่อสร้างสรรค์สามัคคีและความมั่นคงของประเทศ เหตุนี้กิจการลูกเสือไทยจึงมีความเจริญ เป็นปึกแผ่น และมีบทบาทสำคัญตลอดมา เพราะเป็นกิจการที่ได้อำนวยประโยชน์อย่างอเนกอนันต์แก่ ชาวโลกทุกเชื้อชาติ ศาสนา และภูมิภาค เหตุเพราะอุดมการณ์และวิธีการของลูกเสือนั้น สามารถทำให้ทุกคน เข้าใจกัน เมตตาจริงใจต่อกัน และอยู่ร่วมกันฉันท์มิตรได้โดยปราศจากความขัดแย้ง ดังนี้ หากอุดมการณ์ ของลูกเสือเข้าถึงจิตใจชาวโลกได้กว้างขวางหนักแน่นมากขึ้น สันติภาพที่ทุกฝ่ายทุกคนใฝ่ฝันหา ก็จะบังเกิด เป็นจริงขึ้นมาได้เป็นแน่นอน” รูปที่ ๓๙ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จลงแทนพระองค์ ณ ศาลาดุสิดาลัย พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชทานวโรกาสให้คณะบุคคลที่เข้าร่วมประชุมสมัชชาลูกเสือโลก ครั้งที่ ๓๓ เฝ้าทูลละอองพระบาท วันที่ ๒๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๔๙ สำนักงานลูกเสือโลกได้ถวายพระเกียรติยศสูงสุดของลูกเสือโลก คื อ เครื่ อ งหมายสดุดีลูกเสือโลก (Bronze Wolf) แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช องค์พระประมุขคณะลูกเสือแห่งชาติ โดยพระเจ้าคาร์ลที่ ๑๖ กุสตาฟ (King Carl XVI Gustaf) แห่ง ประเทศสวีเดน ในฐานะที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ของมูลนิธิลูกเสือโลก ในวาระที่เสด็จเยือนประเทศไทย ได้นำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายเครื่องหมายสดุดีลูกเสือโลก (Bronze Wolf) แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช องค์พระประมุขคณะลูกเสือแห่งชาติ ๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ 16
  • 40. รูปที่ ๔๐ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีพระราชปฏิสัณฐาน กับพระเจ้าคาร์ลที่ ๑๖ กุสตาฟแห่งประเทศสวีเดน รูปที่ ๔๑ รูปที่ ๔๒ รูปที่ ๔๑ และ รูปที่ ๔๒ ประกาศเกียรติคุณ และเครื่องหมายสดุดีลูกเสือโลก (Bronze Wolf) จากที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเล็งเห็นความสำคัญของ กิจการลูกเสือ ซึ่งกิจการลูกเสือได้เจริญก้าวหน้าจวบจนครบ ๑๐๐ ปี ในพ.ศ. ๒๕๕๔ นี้ และประกอบกับ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเจริญพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ ซึ่งลูกเสือ ผู้บังคับ บัญชาลูกเสือ และเหล่าพสกนิกร ต่างรู้สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณที่มีต่อกิจการลูกเสือไทย จึงได้ร่วมใจกัน จัดงานเฉลิมฉลองครบรอบ ๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย และเฉลิมพระชนมพรรษา ๗ รอบ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔ โดยพร้อมเพรียงกันทั่วประเทศตลอด พ.ศ. ๒๕๕๔ เพื่อแสดงความจงรักภักดี เทิดทูน ตามคำปฏิญาณ ที่ได้ให้ไว้ทุกประการ 17 ๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
  • 41. สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี องค์อุปถัมภ์คณะลูกเสือแห่งชาติ ๑๐๐ ปี ลูกเสือไทย สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ 18